ระบบการบริหารงบประมาณbps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/budget... ·...

83
ระบบการบริหารงบประมาณดุสิต เขมะศักดิ์ชัย อดีตรองผูอํานวยการสํานักงบประมาณ วันจันทรที่ 31 กรกฎาคม 2560

Upload: others

Post on 01-Mar-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • “ระบบการบริหารงบประมาณ”

    ดุสิต เขมะศักด์ิชัย

    อดีตรองผูอํานวยการสํานักงบประมาณ

    วันจันทรที่ 31 กรกฎาคม 2560

  • หัวขอการพูดคุยในวันนี้

    1. ระบบเศรษฐกิจของไทย

    2. งบประมาณกับระบบเศรษฐกิจไทย

    3. รูจักสํานักงบประมาณ

    4. รูจักการเงิน การคลังและงบประมาณ

    5. แหลงเงินของไทย(Consolidate Accounts)

    6. บทบาทของสํานักงบประมาณ

    7. เครื่องมือในการทํางานของสํานักงบประมาณ

    8. บทบาทของหนวยงานกลาง

  • หัวขอการพูดคุยในวันนี้

    9. บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับงบประมาณ

    10. ระบบการบริหารงบประมาณ

    11. การจัดทํางบประมาณเพิ่มเติม

  • 4

    ระบบเศรษฐกิจของไทย

  • 5

  • 6

  • 7

  • 8

  • 9

  • 10

  • 11

  • 12

  • คลัง

    รับเขา จาย

    การเงินตางประเทศ

    ชําระเขา

    ชําระออกการเงินในประเทศ

    ลดเครดิต

    ขยายเครดิต

    ระบบเศรษฐกิจ

    ของประเทศ

    งบประมาณกับระบบเศรษฐกิจไทย

    งบประมาณ

    เงินกูของรัฐ

    จายออกรายไดเงินที่กูมา

    นําเขาสินคา

    สงออกสินคา

    13

  • 0

    2,000,000

    4,000,000

    6,000,000

    8,000,000

    10,000,000

    12,000,000

    14,000,000

    16,000,000

    GDP BUDGET

    GDP กับวงเงินงบประมาณ ปงบประมาณ 2541 - 2560ลา้นบาท

    Chart1

    25412541

    25422542

    25432543

    25442544

    25452545

    25462546

    25472547

    25482548

    25492549

    25502550

    25512551

    25522552

    25532553

    25542554

    25552555

    25562556

    25572557

    25582558

    25592559

    25602560

    GDP

    BUDGET

    4626000

    830000

    4637000

    825000

    4922000

    860000

    5133000

    910000

    5450000

    1023000

    5917000

    999000

    6489000

    1163000

    7092000

    1250000

    7844000

    1360000

    8525000

    1566000

    9080000

    1660000

    9041000

    1951000

    10104000

    1700000

    10539000

    2169000

    11572000

    2380000

    12544000

    2400000

    13118000

    2525000

    12744000

    2575000

    13483000

    2720000

    15150500

    2923000

    Sheet1

    25412542254325442545254625472548254925502551255225532554255525562557255825592560

    GDP4626000463700049220005133000545000059170006489000709200078440008525000908000090410001010400010539000115720001254400013118000127440001348300015150500

    BUDGET830000825000860000910000102300099900011630001250000136000015660001660000195100017000002169000238000024000002525000257500027200002923000

  • 15

    รูจักสํานักงบประมาณ

    1.เปนหนวยงานเทียบเทาระดับกระทรวง

    2.สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี

    3.นายกรัฐมนตรีเปนผูกํากับดูแล

    4.เปนหนวยงานสวนกลาง

    ตามระเบียบบริหารราชการแผนดิน

  • รูจักการการเงิน การคลังและงบประมาณ

    1.การเงิน = เงินตราและสินทรัพยภาครัฐของไทย

    ธนาคารแหงประเทศไทย

    กรมธนารักษ

    (การเงินสาธารณะ)ภาคเอกชน

    (การเงินธุรกิจ+การเงินสวนบุคคล)

  • 2. การคลัง = การใชจายของภาครัฐ

    ภาครัฐของไทย

    งบประมาณ+เงินรายได+เงินกู+เงินชวยเหลือ

  • 3. งบประมาณ= การใชจายของภาครัฐ

    เฉพาะที่เปนไปตาม พรบ.งบประมาณประจําป

    ภาครัฐของไทย

    งบประมาณ+เงินรายได+เงินกู+เงินชวยเหลือ

    ตามที่กําหนดไวใน พรบ.งบประมาณประจําป

  • แหลงเงินของรัฐบาลไทย(Consolidate Accounts)

    1. เงินงบประมาณรายจายประจําป

    2. เงินกูที่รัฐบาลค้าํประกัน

    3. เงินกูที่รัฐบาลไมค้ําประกัน ซึ่งหนวยงานกูตามอํานาจหนาทีห่รือ

    ตามที่กฎหมายใหอํานาจไว

    4. เงินรายไดของหนวยงานทีไ่มตองนําสงคลังตามที่กฎหมายกําหนด

    5. เงินรายไดของหนวยงานทีต่องนําสงคลงัแตไดรับการยกเวน

    6. เงินชวยเหลอืจากตางประเทศ

    7. เงินบริจาค

    8. เงินคงคลงัตามกฎหมายเงนิคงคลงั

  • บทบาทของสํานักงบประมาณ

    “มีหนาที่ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจาย

    ประจําป ใหสวนราชการรัฐวิสาหกิจและหนวยงานอื่น

    ของรัฐผานกระบวนการจัดทํารางพระราชบัญญัติ

    งบประมาณรายจายประจําป”

  • เครื่องมือในการทํางานของสํานักงบประมาณ

    1. ระดับมหภาค

    สถานการณทางเศรษฐกิจของโลก

    สถานการณทางเศรษฐกิจของไทย

    อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย

    แผนยุทธศาสตร 20 ป

    แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

    นโยบายของรัฐบาล

    ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจาํป

  • เครื่องมือในการทํางานของสํานักงบประมาณ

    2. ระดับจุลภาค

    ราคามาตรฐานครุภัณฑ ท่ีดินและสิ่งกอสราง

    คาเบี้ยเลี้ยง คาเชาท่ีพักและคาพาหนะ

    คาตอบแทนประเภทตางๆ

    คาวัสดุตอหนวย

    คาวัสดุกอสรางตามรายพื้นท่ี(จังหวัด)

    คาเชาบาน

    ฯลฯ

  • เครื่องมือในการทํางานของสํานักงบประมาณ

    3. ขอมูลกลาง

    อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

    ราคาน้ํามัน

    อัตราดอกเบี้ยธนาคาร

    4. ขอมูลของหนวยงาน

    ยุทธศาสตรกระทรวง/หนวยงาน

    แผนกลยุทธของหนวยงาน

    แผนอ่ืนๆของหนวยงาน

  • ราคาน้ํามัน

  • บทบาทของหนวยงานกลาง

    ดานการเงินการคลัง

  • 4 หนวยงานหลัก

    ดานการเงินการคลัง

    ( Gang of 4 )

  • สศช.

    ภาวะเศรษฐกิจทั่วไป(GDP Growth ดุลการคา ดุลชําระเงิน)

  • สถานการณดานการเงิน(เงินเฟอ อัตราแลกเปลี่ยน สภาพคลอง)

    ธปท.

  • กค.

    การจัดเก็บรายไดและการกู

  • สงป.

    ภาระงบประมาณและโครงสราง

  • ปฏิทินงบประมาณฯ พ.ศ. 2561ครม. เห็นชอบปฏิทินงบประมาณป 2561 (ปรับปรงุ)

    11 ต.ค. 59 –

    11 ม.ค. 60จัดทําขอเสนองบประมาณเบื้องตน (Pre-ceiling)

    23 พ.ค. 60 ครม. เห็นชอบราง พรบ.งบประมาณฯ

    1 มิ.ย. 60 สนช. พิจารณาราง พรบ.งบประมาณฯ วาระท่ี 1

    31 ส.ค. 60 สนช. พิจารณาราง พรบ.งบประมาณฯ วาระท่ี 2-3

    7 ก.ย. 60 สลค. นําราง พรบ.งบประมาณ ขึ้นทูลเกลาฯ

    7 ก.พ. 60

    24 ม.ค. 60 ครม. เห็นชอบนโยบายงบประมาณ วงเงิน และโครงสรางงบประมาณ

    43

    สวนราชการจัดทําคําของบประมาณฯ / สํานักงบประมาณพิจารณารายละเอยีดงบประมาณ และเสนอ ครม. พิจารณาใหความเห็นชอบ

    2 ธ.ค. 59 –2 พ.ค. 60

  • โครงสรางงบประมาณ หนวย : ลานบาท

    งบประมาณ(รวมงบเพิ่มเติม) จํานวน %

    1. งบประมาณรายจาย 2,923,000.0 2,900,000.0 23,000.0- 0.8-

    - สัดสวนตอ GDP 19.5 18.3

    1.1 รายจายประจํา 2,156,525.6 2,146,000.0 10,525.6- 0.5-

    - สัดสวนตองบประมาณ 73.8 74.0

    1.2 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 27,078.3 - 27,078.3- 100.0-

    - สัดสวนตองบประมาณ 0.9 -

    1.3 รายจายลงทุน 658,209.3 667,000.0 8,790.7 1.3

    - สัดสวนตองบประมาณ 22.5 23.0

    1.4 รายจายชําระคืนตนเงินกู 81,186.8 87,000.0 5,813.2 7.2

    - สัดสวนตองบประมาณ 2.8 3.0

    2. รายได 2,370,078.3 2,450,000.0 79,921.7 3.4

    - สัดสวนตอ GDP 15.8 15.5

    3. วงเงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล 552,921.7 450,000.0 102,921.7- 18.6-

    - สัดสวนตอ GDP 3.7 2.8

    4. กรอบวงเงินกูสูงสุดเพื่อชดเชยการขาดดุล 649,549.4 649,600.0 50.6 0.0

    ตาม พรบ.หนี้สาธารณะ5. ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) 14,958,600.0 15,826,200.0 867,600.0 5.8

    ปงบประมาณ 2561

    งบประมาณ+เพิ่ม/-ลด จากป 60รายการ

    ปงบประมาณ 2560

    Sheet1

    หน่วย : ล้านบาท

    รายการปีงบประมาณ พ.ศ. 2558ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559ปีงบประมาณ 2560ปีงบประมาณ 2561

    วงเงิน+เพิ่ม/-ลด(%)วงเงิน+เพิ่ม/-ลด(%)งบประมาณ+เพิ่ม/-ลด(%)งบประมาณ+เพิ่ม/-ลด จากปี 60

    งบประมาณจากปี 57งบประมาณจากปี 58(รวมงบเพิ่มเติม)จากปี 59จำนวน%

    1. งบประมาณรายจ่าย2,575,000.050,000.02.02,720,000.0145,000.05.62,923,000.0203,000.07.52,900,000.0- 23,000.0- 0.8

    - สัดส่วนต่อ GDP20.219.519.520.7106.118.3

    1.1 รายจ่ายประจำ2,027,858.810,233.00.52,100,117.972,259.13.62,156,525.656,407.72.72,146,000.0- 10,525.6- 0.5

    - สัดส่วนต่องบประมาณ78.777.273.827.836.074.0

    1.2 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง41,965.428,541.7212.613,536.2- 28,429.2- 67.727,078.313,542.1100.0- 0- 27,078.3- 100.0

    - สัดส่วนต่องบประมาณ1.60.50.9- 0

    1.3 รายจ่ายลงทุน449,475.88,347.21.9544,354.394,878.521.1658,209.3113,855.020.9667,000.08,790.71.3

    - สัดส่วนต่องบประมาณ17.520.022.556.1280.223.0

    1.4 รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้55,700.02,878.15.461,991.76,291.711.381,186.819,195.131.087,000.05,813.27.2

    - สัดส่วนต่องบประมาณ2.22.32.89.5414.93.0

    2. รายได้2,325,000.050,000.02.22,330,000.05,000.00.22,370,078.340,078.31.72,450,000.079,921.73.4

    - สัดส่วนต่อ GDP18.216.715.84.124.515.5

    3. วงเงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล250,000.0--390,000.0140,000.056.0552,921.7162,921.741.8450,000.0- 102,921.7- 18.6

    - สัดส่วนต่อ GDP2.02.83.716.6593.92.8

    4. กรอบวงเงินกู้สูงสุดเพื่อชดเชยการขาดดุล593,593.434,033.46.1649,549.455,956.09.4649,600.050.60.0

    ตาม พรบ.หนี้สาธารณะ559,560.012,302.52.2

    5. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)12,744,000.0607,000.05.013,975,600.0524,600.03.914,958,600.0983,000.07.015,826,200.0867,600.05.8

  • ขอแนะนําของ Professor Allen Schick

    ในการจัดทํางบประมาณ

    1. Getting the Basics Right

    คนดี ระบบดี การจัดการดี

    2. Getting the Sequence Right

    จุดเนนดี มีความพรอม

    3. Comprehensive

    ครอบคลุม กระชับ ชัดเจน45

  • หลักการวิเคราะหงบประมาณ

    • ใหความสําคัญกับภารกิจของหนวยงานท่ีสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลท่ีแถลงตอรัฐสภา

    • ยึดหลัก 3R : Review – Redeploy – Replace• เนนการบูรณาการระหวางหนวยงาน ท้ังระดับ

    กระทรวง หนวยงาน และพื้นท่ี

  • หลักการวิเคราะหงบประมาณ

    • พิจารณาลําดับความสําคัญของภารกิจท่ีเสนอของบประมาณ

    • คํานึงถึงคาใชจายทุกแหลงเงิน • คํานึงถึงผลตอบแทน/ผลประโยชน รวมท้ัง

    พิจารณาทางเลือกท่ีคุมคา ประหยัด และ

    ไมมีผลกระทบดานอื่นๆ

  • หลักการวิเคราะหงบประมาณ

    •นําผลการปฏิบัติงานในปกอนๆ มาพิจารณาประกอบ•พิจารณาความพรอมในการปฏิบัติงาน และขีด

    ความสามารถในการบริหารงาน

    • ใหความสําคัญกับโครงการ/กิจกรรม ที่ ครม.อนุมัติ หรือที่มีขอผูกพันตองดําเนินการ

    •กระจายไปในพื้นที่ตางๆ อยางเทาเทียมและเปนธรรม

  • แนวทางการวเิคราะห์และจัดสรรงบประมาณ

    3 2 2

    2 2 1

    1 1 1

    ความสอดคล้องกับ

    แผนพัฒนาฯ / ยุทธศาสตร์

    ความ

    พร้อม

    ดาํเนิน

    งาน

    มาก

    ปานกลาง

    น้อย

    มาก ปานกลาง น้อย

    3

    2

    1

    จัดสรรเตม็วงเงนิ

    ตามศักยภาพ

    หน่วยงานหน่วยงานทบทวน

    และจัดสรรตามความ

    จาํเป็น

    ควรชะลอ / ทบทวน /

    ยกเลิก

  • Review

    Redeploy

    •ทบทวนคาใชจายเดิม• พิจารณาปรับลดงบประมาณ•ปรับลดแลวสงผลกระทบตอการบรรลุเปาหมายการดําเนิน

    ภารกิจในปถัดไปหรือไม

    Replace

    • นําเงินที่ปรับลดมาจัดสรรเพ่ิมเติมใหกับโครงการตาม

    นโยบายและยุทธศาสตร

    ที่มีลําดับความสําคัญ

    จําเปนเรงดวน มีศักยภาพ

    และความพรอม

    •ทบทวนรายการคาใชจายที่ไมจําเปน

    •ชะลอ/ยกเลิก/ปรับลดเปาหมายหรือคาใชจาย

    3R

  • คือ การใหบริการพื้นฐาน

    ตามแนวนโยบายพื้นฐาน

    แหงรัฐ

    คือ การยกระดับ

    มาตรฐานผลผลิต/

    ผลงานตามกลยุทธและ

    เปาหมายเชิงยุทธศาสตร

    ของรัฐบาล

    งานพืน้ฐาน งานยุทธศาสตร์

  • การพิจารณางบประมาณ

    พิจารณาจากปรมิาณผลผลติตามเกณฑมาตรฐาน

    การปรับปรุงใหไดมาตรฐาน ถือวาเปนการเพิม่

    ประสิทธภิาพงานพื้นฐาน

    งานพืน้ฐาน

    การพิจารณางบประมาณ

    แสดงความชัดเจนของเนือ้หางานได

    มีฐานขอมูลประกอบการพิจารณา เนื้อหา และแนวทาง

    การดําเนินงาน

    ผลลัพธตองสามารถเชือ่มโยงโดยตรงกับเปาหมายและ

    ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตรจัดสรร

    งานยุทธศาสตร์

  • การอนุมัติงบประมาณ

    วาระที่ 1

    : นายกรัฐมนตรีแถลงตอ สนช.

    : พิจารณาเพื่อรับหลักการ

  • วาระที่ 2 : กรรมาธกิารวิสามญัฯ

    พิจารณาเรียงตามมาตรา

    วาระที่ 3 : สนช. พิจารณาเพื่อรับราง

    นําขึ้นทูลเกลาฯ

  • ตัวอยางเอกสารประกอบรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป

    PresenterPresentation Notesสำหรับเอกสารงบประมาณที่คณะรัฐมนตรีนำเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย- ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 1 ฉบับ- เอกสารประกอบงบประมาณ 5 ฉบับ จำนวน 22 เล่ม* �- เอกสารงบประมาณโดยสังเขป 1 เล่ม และบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญ 1 เล่ม รวมทั้งสิ้น 25 เล่ม**โดยขอนำเสนอสาระสำคัญของเอกสารแต่ละฉบับ ดังนี้

  • งบประมาณดานสาธารณสุข(ก.สาธารณสุข)

    0

    20

    40

    60

    80

    100

    120

    140

    160

    2558 2559 2560 2561

    สาธารณสขุ

    หลกัประกนั

    ฉกุเฉิน

    หนวย : พันลานบาท

  • การบริหารงบประมาณแผนดิน

    : การใชจายงบประมาณ

    ของหนวยรับงบประมาณ

  • ระบบการบริหารงบประมาณพ.ร.บ.

    งบประมาณรายจายประจําป

    รัฐมนตรี

    มอบหมาย/เห็นชอบ/กํากับ

    คณะรัฐมนตรี

    กํากับการดําเนินงาน

    การใชจายและความสําเร็จ สํานักงบประมาณ

    วิเคราะหแผนและกําหนด

    กรอบจัดสรรใหสอดคลองกับ

    การใชจายและระเบียบ

    กรมบัญชีกลาง

    เห็นชอบ/กํากับ

    แผนการเบิกจาย

    งบประมาณ

    สวนราชการ

    จัดทําและดําเนนิการแผนปฏิบัติงาน/

    แผนการใชจายงบประมาณ

    จัดซ้ือ/จัดจาง/กอหนี้ผูกพัน

    ปรับแผนกลางป

    ปรับกลยุทธ

    ตามสถานการณ

    1

    3

    2

    5

    6

    4

    7

    4

    63

  • 1.การจัดทําแผนการปฏิบัติงานและ

    แผนการใชจายงบประมาณฯ

    สวนราชการและรัฐวิสาหกิจจัดทําแผนฯ สงใหสํานักงบประมาณกอนวันเริ่มตนป ไมนอยกวา 15 วัน

    แผนฯ ตองไดรับความเห็นชอบจากสํานักงบประมาณกอน สวนราชการฯ จึงจะสามารถใชจายหรือกอหน้ี

    ผูกพันได

  • 2. การจัดสรรงบประมาณ

    สํานักงบประมาณจะจัดสรรงบประมาณให

    สวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ใชจายหรือกอหนี้

    ผูกพันตามวัตถุประสงคภายในระยะเวลาที่

    กําหนด ตามวงเงินงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ

    จากสภานิติบัญญัติ ตามพระราชบัญญัติ

    งบประมาณรายจายประจําป

  • 3. การเบิกจายงบประมาณ

    งบบุคลากร - เงินเดือน คาจาง

    งบดําเนินงาน - คาตอบแทนใชสอย และวัสดุ

    คาสาธารณูปโภค

    งบลงทุน - คาครุภัณฑ คาที่ดินและส่ิงกอสราง

    งบเงินอุดหนุน - อุดหนุนทั่วไป อุดหนุนเฉพาะกิจ

    งบรายจายอื่น

  • เปาหมายการเบิกจายงบประมาณ ป 2560

    รายจา่ย รวม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

    ภาพรวม 2,623,680

    96%819,900

    30%

    601,260

    22%

    579,419

    21%

    623,101

    23%

    รายจา่ยประจํา 2,146,161

    98%

    715,614

    33%

    480,508

    22%

    458,667

    21%

    491,372

    22%

    รายจา่ยลงทนุ 477,519

    87%104,286

    19%

    120,752

    22%

    120,752

    22%

    131,729

    24%

  • การติดตามประเมินผลและการตรวจสอบ

    1.ผลการดําเนินงานและการเบิกจาย ผานระบบ

    GFMIS

    2.การติดตามผลจากรายงานผลการดําเนินงาน

    ของหนวยงาน

    3.การชี้แจงในคณะกรรมาธิการสามัญของ

    สภานิติบัญญัติแหงชาติ

  • การติดตามประเมินผลและการตรวจสอบ

    4. การชี้แจงตามขอสังเกตหรือขอตรวจพบของ

    สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน

    5.การชี้แจงการดําเนินงานตามขอรองเรียนตอ

    ผูตรวจการแผนดิน

    6.การชี้แจงตามขอกลาวหาวามีการกระทําผิดหรือ

    ทุจริตตอ ปปช. ปปท.

  • การติดตามประเมินผลและการตรวจสอบ

    7.การฟองหรือชี้แจง ตอ ตํารวจ อัยการ ศาล

    8.การชี้แจงตอศาลรัฐธรรมนูญ กรณีขอกลาวหา

    วาดําเนินการไมสอดคลองกับบทบัญญัติของ

    รัฐธรรมนูญ

    9.การชี้แจงตอ กพค. กรณีการรองเรียนเรื่อง

    การบริหารงานบุคคล

    ฯลฯ

  • การบริหารงบประมาณแผนดิน

    : งบประมาณของหนวยงาน

    : งบประมาณ งบกลาง

    : เงินกู

    : เงินรายได

  • งบกลาง ป 2561• เงินเบ้ียหวัด บําเหน็จบํานาญ• เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจางและพนักงาน• เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิขาราชการ• เงินสํารอง เงินสมทบและเงินชดเชยของขาราชการ

    • เงินสมทบของลกูจางประจํา

  • (งบกลาง)• คาใชจายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดําเนินและตอนรับประมุขตางประเทศ

    • คาใชจายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

    • คาใชจายเงินทดรองราชการเพื่อชวยเหลอืผูประสบภัยกรณีฉุกเฉิน

  • (งบกลาง)• คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจางและพนักงานของรัฐ

    • คาใชจายสงเสริมและสรางความเขมแข็งเศรษฐกิจในประเทศ

    • เงินชดเชยคางานสิ่งกอสราง• เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน

  • Function Agenda

    แผนบูรณาการ แผนยุทธศาสตร

    จังหวัด/กลุมจังหวัด

    จัดทําแผนพัฒนาฯแสดงความตองการ

    แผนงานพ้ืนฐานแผนงานบุคลากร

    ภาครัฐ

    แผนงานยุทธศาสตร

    กระทรวง/หนวยงาน

    Areaระบุพื้นท่ีดําเนินการ

    จําแนกเปนโครงการที่

    1.จังหวัด/กลุมจังหวัดดําเนินการ

    2.อปท. ดําเนินการ

    3. กระทรวง/หนวยงานดําเนินการบูรณาการ

    PresenterPresentation Notesการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ให้ความสำคัญกับการบูรณาการในทุกมิติ ทั้งมิติกระทรวง (Function) มิติยุทธศาสตร์ (Agenda) และมิติพื้นที่ (Area) เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้จ่ายงบประมาณอย่างประหยัด คุ้มค่า และลดความซ้ำซ้อน ดังนี้มิติกระทรวง (Function) เป็นการจัดทำงบประมาณตามภารกิจของกระทรวง / หน่วยงาน โดยมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวง ประกอบด้วยรายจ่าย 3 ส่วน คือ รายจ่ายบุคลากร รายจ่ายตามภารกิจพื้นฐาน และรายจ่ายตามภารกิจยุทธศาสตร์ รวมทั้งระบุพื้นที่ดำเนินการ กรณีที่จัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินการในพื้นที่ (Area)มิติยุทธศาสตร์ (Agenda) เป็นการจัดทำงบประมาณที่ให้ความสำคัญกับประเด็นที่เป็นจุดเน้นของรัฐบาล ซึ่งกำหนดตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ และนโยบายรัฐบาล ประกอบด้วย 46 แผนงาน เป็นแผนบูรณาการ 25 แผนงาน และแผนงานยุทธศาสตร์ 21 แผนงานมิติพื้นที่ (Area) เป็นการจัดสรรงบประมาณให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย- ภารกิจของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ใช้งบประมาณตนเองดำเนินการ จะต้องจัดทำข้อเสนองบประมาณปี 2560 เบื้องต้น โดยมีสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และตำแหน่งการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่สำคัญ รวมทั้งเป็นไปตามร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2558 – 2577) และทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558 – 2564) และแผนนโยบายสำคัญของรัฐบาล - ภารกิจขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่ใช้งบประมาณของท้องถิ่นดำเนินการ ซึ่งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจะนำโครงการ�ต่าง ๆ พิจารณาจัดสรรงบอุดหนุนให้แก่อปท. - ภารกิจที่จังหวัด/กลุ่มจังหวัดขอให้ส่วนราชการดำเนินการในพื้นที่ (Function) ซึ่งงบประมาณส่วนนี้เป็นงบประมาณที่จังหวัดเสนอขอไปยังส่วนราชการที่เกี่ยวข้องโดยตรง โครงการต่าง ๆ จะต้องสอดคล้องกับนโยบาย ภารกิจ เป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงานของส่วนราชการ รวมทั้งแผนงานพัฒนาของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด คำขอที่จังหวัดส่งไปยังส่วนราชการนั้น ส่วนราชการต้องตรวจสอบคำขอจังหวัดและคำขอของ Function ตนเองด้วยเพื่อไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อน ทั้งนี้ ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับคำขอของจังหวัดเป็นลำดับแรก

  • Agenda ยุทธศาสตรชาติ 20 ป

    แผนพัฒนาฯ 12

    นโยบายความม่ันคงแหงชาติ

    นโยบายสําคัญของรัฐบาล

    Functionกระทรวง

    สวนราชการ

    Areaแผนพัฒนาภาค/

    จังหวัด/

    กลุมจังหวัด

  • การจัดทํางบประมาณเพิม่เตมิ• กรณีที่การจัดเก็บรายไดสูงกวาประมาณการรายไดที่กําหนดไว

    • กรณีที่รัฐบาลพิจารณาแลวเห็นวายังมีความจําเปนตองจัดงบประมาณเพิ่มเติม

    เพื่อแกไขปญหา หรือเพื่อดําเนินการตามที่

    กฎหมายกําหนด หรือเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ

    หรือเพื่อพัฒนาประเทศในจุดที่เรงดวน

  • การจัดทํางบประมาณเพิม่เตมิ• ขั้นตอนและกระบวนการในการตราเปนราง พรบ.งบประมาณรายจายเพิ่มเติม

    เชนเดียวกับการจัดทํางบประมาณปกติ

  • ขั้นตอนการจัดทํา

    ราง พรบ.งบประมาณรายจายเพิ่มเติม

    1. กระทรวงการคลัง ทบทวนผลการจัดเก็บรายได

    สูงกวาประมาณการรายได

    2. รัฐบาลมีนโยบายใหดําเนินการตามขอเสนอของ

    หนวยงานกลางดานการเงินการคลัง

    3.สํานักงบประมาณจัดทําปฏิทินงบประมาณ

    รายจายเพิ่มเติมเสนอ ครม.เห็นชอบ

  • ขั้นตอนการจัดทํา

    ราง พรบ.งบประมาณรายจายเพิ่มเติม

    4.สํานักงบประมาณจัดทําขอเสนองบประมาณเพิ่มเติม

    เสนอครม

    5.สวนราชการรัฐวิสาหกิจและหนวยงานอื่นเสนอคําขอ

    ตามนโยบาย ยุทธศาสตรและแผนงานท่ีกําหนด

    6.สํานักงบประมาณพิจารณาและเสนอ ครม.เพื่อจัดทํา

    รางพรบ.งบประมาณเพิ่มเติม

  • ขั้นตอนการจัดทํา

    ราง พรบ.งบประมาณรายจายเพิ่มเติม

    7. ครม.เสนอ รางพรบ.งบประมาณเพิ่มเติม ตอ สนช

    8. สนช. พิจารณาราง พรบ.งบประมาณเพิ่มเติม

    วาระ1-2-3 (อาจจะตั้งกรรมาธิการเต็มสภาฯพิจารณา)

    9. นําขึ้นทูลเกลาฯ เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย

    10.ประกาศบังคับใชเปนกฎหมาย

  • Q &A

    Slide Number 1Slide Number 2Slide Number 3 ระบบเศรษฐกิจของไทยSlide Number 5Slide Number 6Slide Number 7Slide Number 8Slide Number 9Slide Number 10Slide Number 11Slide Number 12Slide Number 13Slide Number 14Slide Number 15Slide Number 16Slide Number 17Slide Number 18Slide Number 19Slide Number 20Slide Number 21Slide Number 22Slide Number 23Slide Number 24Slide Number 25Slide Number 26Slide Number 27Slide Number 28Slide Number 29Slide Number 30Slide Number 31Slide Number 32Slide Number 33Slide Number 34Slide Number 35Slide Number 36Slide Number 37Slide Number 38Slide Number 39Slide Number 40Slide Number 41Slide Number 42 ปฏิทินงบประมาณฯ พ.ศ. 2561Slide Number 44ข้อแนะนำของ Professor Allen Schick�ในการจัดทำงบประมาณหลักการวิเคราะห์งบประมาณหลักการวิเคราะห์งบประมาณSlide Number 48Slide Number 49หลักการวิเคราะห์งบประมาณSlide Number 51 แนวทางการวิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณSlide Number 53Slide Number 54Slide Number 55Slide Number 56การอนุมัติงบประมาณSlide Number 58Slide Number 59งบประมาณด้านสาธารณสุข(ก.สาธารณสุข)Slide Number 61Slide Number 62ระบบการบริหารงบประมาณSlide Number 64Slide Number 65Slide Number 66Slide Number 67Slide Number 68Slide Number 69Slide Number 70Slide Number 71Slide Number 72Slide Number 73Slide Number 74Slide Number 75Slide Number 76Slide Number 77Slide Number 78Slide Number 79Slide Number 80Slide Number 81Slide Number 82Slide Number 83