ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/education/md/thesis/peerawit.pdf150...

202
ใบรับรองวิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญา สาขา ภาควิชา เรื่อง การประเมินความเสี่ยงของเชื้อ Brucella spp. ในฟารมแพะนมในกรุงเทพมหานคร Risk Assessment of Brucella spp. in Dairy Goat Farms in Bangkok นามผูวิจัย นายพีรวิทย บุญปางบรรพ ไดพิจารณาเห็นชอบโดย อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ( ) หัวหนาภาควิชา ( ผูชวยศาสตราจารยสุวิชา เกษมสุวรรณ, M.Phil. ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรรับรองแลว ( ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันทีเดือน .. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ระบาดวิทยาทางสัตวแพทย) ระบาดวิทยาทางสัตวแพทย สัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร ผูชวยศาสตราจารยพิพัฒน อรุณวิภาส , Ph.D. รองศาสตราจารยกัญจนา ธีระกุล , D.Agr.

Upload: others

Post on 21-Feb-2021

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

1

ใบรับรองวิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ปริญญา

สาขา ภาควิชา

เร่ือง การประเมินความเสี่ยงของเชื้อ Brucella spp. ในฟารมแพะนมในกรุงเทพมหานคร

Risk Assessment of Brucella spp. in Dairy Goat Farms in Bangkok

นามผูวิจัย นายพีรวิทย บุญปางบรรพ

ไดพิจารณาเห็นชอบโดย

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก

( )

หัวหนาภาควิชา

( ผูชวยศาสตราจารยสุวิชา เกษมสุวรรณ, M.Phil. )

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรรับรองแลว

( ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันท่ี

เดือน

พ.ศ.

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ระบาดวิทยาทางสัตวแพทย)

ระบาดวิทยาทางสัตวแพทย สัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร

ผูชวยศาสตราจารยพิพัฒน อรุณวิภาส , Ph.D.

รองศาสตราจารยกัญจนา ธีระกุล, D.Agr.

Page 2: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

1

วิทยานิพนธ

เร่ือง

การประเมินความเสี่ยงของเชื้อ Brucella spp. ในฟารมแพะนมในกรุงเทพมหานคร

Risk Assessment of Brucella spp. in Dairy Goat Farms in Bangkok

โดย

นายพีรวิทย บุญปางบรรพ

เสนอ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ระบาดวิทยาทางสัตวแพทย)

พ.ศ. 2556

Page 3: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

1

พีรวิทย บุญปางบรรพ 2556: การประเมินความเสี่ยงของเชื้อ Brucella spp. ในฟารม

แพะนมในกรุงเทพมหานคร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ระบาดวิทยาทาง

สตัวแพทย) สาขาระบาดวิทยาทางสัตวแพทย ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก: ผูชวยศาสตราจารยพิพัฒน อรุณวิภาส, Ph.D.

186 หนา

การประเมินความเสี่ยงของเชือ้ Brucella spp. ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทาง

ปจจัยเสี่ยงตาง ๆ ใชขอมูลจากเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนม ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ รวมกับ

เอกสารทางวิชาการ โดยประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพในระดับการนําเขา การรับสัมผัสและ

ผลกระทบ แลวนําปจจัยเสี่ยงที่ผลการประเมินสูงกวา ระดับ “แทบจะไมพบ” มาประเมินความ

เสี่ยงเชิงปริมาณในระดับการนําเขาตอไป ผลการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณพบวา โอกาสการ

นําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนม

ทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัวตอป เปน 5.44 x 10-3 และโดยผานทางคน 3 กลุม

อยางนอย 1 คร้ังตอป ไดแก เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะและเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนม เปน 1.49 x 10-5, 9.04 x 10-6 และ 1.02 x 10-2 ตามลําดับ โดยตัวแปรทีม่ี

อิทธิพลตอการเพิ่มระดับความเสี่ยง ไดแก ความชุกของการติดเชื้อ Brucella spp. ของฟารมตน

ทาง สวนตัวแปรที่มีอิทธิพลในการลดระดับความเสี่ยง ไดแก การเคลื่อนยายสัตวตามระเบียบกรม

ปศุสัตว ความไวของระบบการตรวจคดักรองโรค และการลดการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. ใน

คนกอนเขาโรงเรือน ดังน้ันเพื่อเปนการลดโอกาสการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนควร

เลือกสัตวจากฝูงปลอดโรค หรือมีระบบการตรวจคัดกรองโรคที่มีความไวสูงในสัตวกอน

เคลื่อนยาย และมีระบบสุขาภิบาลในคนกอนเขาโรงเรือน

/ /

ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก

Page 4: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

1

Peerawit Bunpangban 2013: Risk Assessment of Brucella spp. in Dairy Goat Farms in

Bangkok. Master of Science (Veterinary Epidemiology), Major Field: Veterinary

Epidemiology, Department of Veterinary Public Health. Thesis Advisor: Assistant

Professor Pipat Arunvipas, Ph.D. 186 pages.

Risk assessment of Brucella spp. in dairy goat farms in Bangkok through multiple risk

factors were assessed from data of dairy goat farmers, expert opinions and scientific publications.

Qualitative risk assessment was performed in release, exposure and consequence levels. Then, risk

factors with qualitative risk assessment result higher than “negligible” level were further analyzed

in quantitative release risk assessment. The annual risk of Brucella spp. introduction into dairy

goat houses via replacement dairy goats importation from other provinces at least 1 goat was

5.44 x 10-3 and via 3 groups of people including DLD officers and veterinarian, goat purchasers

and dairy goat farmers were 1.49 x 10-5, 9.04 x 10-6 and 1.02 x 10-2, respectively. The factor that

positively influence the risk was the prevalence of Brucella spp. in the farms of origin while

negatively influencing factors were legal movement, sensitivity of screening system and

Brucella spp. decontamination in personnel before entry dairy house. Hence, the importation of

goats from Brucella spp.-free herds, testing with high sensitivity screening system before

movement and good biosecurity practice would reduce the risk of disease introduction into the

house.

/ /

Student’s signature Thesis Advisor’s signature

Page 5: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

1

กิตตกิรรมประกาศ

ผูวิจัยขอขอบคุณผูชวยศาสตราจารย ดร. พิพัฒน อรุณวิภาส อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

หลัก และผูชวยศาสตราจารยสุวิชา เกษมสุวรรณ หัวหนาภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร

ตลอดจนคณะอาจารยคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ไดกรุณาใหความรู

คาํแนะนํา และอนุเคราะหโปรแกรมที่ใชในการคํานวณสําหรับงานวิจัยนี้

ขอขอบคุณสัตวแพทยหญิงมนยา เอกทัตร ที่ปรึกษากรมปศุสัตวดานโรคบรูเซลโลสิส

นายสัตวแพทยสุรพงษ วงศเกษมจิตต หัวหนากลุมอิมมูนและซีรัมวิทยา ตลอดจนเจาหนาที่จาก

สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติทุกทานที่ไดใหคําปรึกษาจนงานวิจัยสําเร็จลุลวงและขอขอบคุณ

คุณระวิวรรณ วิเชียรทอง และเจาหนาที่กลุมพัฒนาระบบคุณภาพทางหองปฎิบัติการทุกทานที่ได

ปฏิบัติงานแทนระหวางที่ผูวิจัยไดลาศึกษาตอ

ขอขอบคุณสําหรับการใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการทําวิจัย จากเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนม

ในกรุงเทพฯ และนายสตัวแพทยปญญา แดงสีพลอย หัวหนากลุมพัฒนาสุขภาพสัตว สํานักงาน

ปศุสัตวกรุงเทพฯ ตลอดจนเจาหนาที่ปศุสัตวอําเภอที่ใหความอนุเคราะหในการเก็บขอมูลในพื้นที่

ขอขอบคุณนายสัตวแพทยวัชรพงษ สุดดี สตัวแพทยหญิงจินตนา ตันเวชศิลป และ

สตัวแพทยหญิงสุนิสา กินาวงศ ที่ไดใหคําปรึกษาเร่ืองการประเมินความเสี่ยง ตลอดจนเพื่อนรวม

รุน รุนพี่รุนนองนิสิตปริญญาโทสาขาระบาดวิทยาทางสัตวแพทย และสาขาคลินิกศึกษา ที่คอยให

กําลังใจ ขอแนะนําที่เปนประโยชน และความชวยเหลือตาง ๆ เสมอมา

และขอขอบคุณทุนสนับสนุนการวิจัย จากโครงการวิชาการและงานวิจัยจากกองทุนยอย

ฮูเวฟารมา บริษัทฮูเวฟารมา (ประเทศไทย) จํากัด และโครงการพัฒนานายสัตวแพทยนักระบาด

วิทยาภาคสนาม สํานักควบคุม ปองกันและบําบัดโรคสัตว กรมปศุสัตว

ความดีหรือประโยชนอันใดจากวิทยานิพนธฉบับน้ี ผูวิจัยขอมอบแดบิดา มารดาและผูมี

พระคุณทุกทาน

พีรวิทย บุญปางบรรพ

มีนาคม 255 6

Page 6: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(1)

1

สารบัญ

หนา

สารบัญ (1)

สารบัญตาราง (2)

สารบัญภาพ

อธิบายสัญลักษณและคํายอ

(7)

(11)

คํานํา 1

วัตถุประสงค 3

การตรวจเอกสาร 4

อุปกรณและวิธีการ 36

อุปกรณ 36

วิธีการ 36

ผลและวิจารณ 49

ผล 49

วิจารณ 138

สรุปและขอเสนอแนะ 146

สรุป 146

ขอเสนอแนะ 148

เอกสารและสิง่อางอิง 150

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบสอบถามที่ใชในการวิจัย

ภาคผนวก ข รายนามผูเชี่ยวชาญ

ภาคผนวก ค ขอมูลพื้นฐานของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

ภาคผนวก ง คะแนนการประเมินประสิทธิภาพของการจัดการดานตัวอยาง

161

162

176

179

182

ประวัติการศึกษาและการทํางาน 186

Page 7: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(2)

2

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

สายพันธุเชื้อ Brucella spp. ที่กอโรคในคนและสัตวและความรุนแรงในคน

การจําแนกรูปราง การเคลื่อนไหว และลักษณะทางชีวเคมีของเชื้อ

Brucella spp. เปรียบเทียบกับแบคทีเรียชนิดอ่ืน

ความคงทนของเชื้อ Brucella spp. ในสิง่แวดลอม

ระยะเวลาการรอดชีวิตของ B. melitensis ในอาหารเลี้ยงเชื้อและผลิตภัณฑนม

ชนิดและความเขมขนของยาฆาเชื้อในการทําลายเชื้อ Brucella spp.

สัตวที่สามารถติดติดเชื้อ Brucella spp.

การสํารวจสภาวะโรคบรูเซลโลสิสในแพะในตางประเทศ

ความชุกทางซีรัมวิทยาตอโรคบรูเซลโลสิสในแพะในประเทศไทยเรียงตาม

เขตปศุสัตว

การสํารวจสภาวะโรคบรูเซลโลสิสในแพะในประเทศไทย

จํานวนประชากรแพะนม และเกษตรกรในกรุงเทพฯ ปงบประมาณ 2554 และ

ผลการเฝาระวังโรคทางซีรัมของโรคบรุเซลโลสิสในแพะนม ป 2549

คุณสมบัติของผูไดรับการสัมภาษณและตอบแบบสอบถามเพื่อการประเมิน

ความเสี่ยงการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ

ขนาดตัวอยางของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ แยกตามเขต

ความหมายของความเปนไปไดเพื่อใชในการประเมินความเสี่ยง

นิยามของความไมแนนอนของความเสี่ยง (uncertainty)

ตารางความเสี่ยง (risk matrix)

จํานวนผูใหขอมูลจากการสัมภาษณและตอบแบบสอบถามเพื่อการประเมิน

ความเสี่ยง

แหลงที่มาของแพะทดแทนในป 2554 ของเกษตรกรฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ (จํานวนฟารมที่ศึกษา 74 ฟารม)

5

6

7

9

10

11

13

15

18

35

41

43

44

45

45

49

50

Page 8: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(3)

3

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี หนา

18

19

20

21

22

23

24

25

26

นิยามที่ใชในวิถีทางชีวภาพของการการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมตางจังหวัด

ผลการประเมินโอกาสการเกิดเหตุการณที่เกี่ยวของกับการนําเชื้อ Brucella

spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะ

นมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

การใชตารางความเสี่ยง (ตารางที่ 15) ในการวิเคราะหโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการ

นําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

ผลการประเมินโอกาสการรับสัมผัสเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบใน

โรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนติดเชือ้จากฟารมตางจังหวัด

แหลงที่มาของพอพันธุที่ยืมเพื่อการผสมของเกษตรกรฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ ในป 2554 (จํานวนฟารมที่ศึกษา 74 ฟารม)

นิยามที่ใชในวิถี (pathway) การนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน เพื่อการประเมินความ

เสี่ยงเชิงคุณภาพ

ความหมายของความเปนไปไดในการประเมินผลการประเมินโอกาสที่คนมี

เชื้อปนเปอนกอนเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ใน 1 ป โดยผาน

คนที่เขาโรงเรือน

ผลการประเมินโอกาสการเกิดเหตุการณที่เกี่ยวของกับการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ใน 1 ป โดยผาน

คนที่เขาโรงเรือน

การใชตารางความเสี่ยง (ตารางที่ 15) ในการวิเคราะหโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานโดยผาน

คนที่เขาโรงเรือน

53

58

60

62

64

69

71

72

73

Page 9: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(4)

4

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี หนา

27

28

29

30

31

32

33

34

35

ผลการประเมินโอกาสการรับสัมผัสเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบใน

โรงเรือนแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนที่เขาโรงเรือนที่มีเชื้อ

Brucella spp. ปนเปอน

การใชตารางความเสี่ยง (ตารางที่ 15) ในการวิเคราะหโอกาสการสัมผัสเชื้อ

Brucella spp. และผลกระทบในโรงเรือนแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนที่

เขาโรงเรือนที่มีเชื้อ Brucella spp. ปนเปอน

ความเสี่ยงของการนําเขา การรับสัมผัสเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบ ใน

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ผานปจจัยเสี่ยงตาง ๆ เมื่อมีมาตรการ

ที่เปนปจจุปน

การประเมินความไวของระบบทดสอบโรค (Se1) ความไวของระบบคัด

กรองโรค (Se2) และ ความจําเพาะของระบบคดักรองโรค (Sp) ตามแนวคดิ

ในภาพที่ 7, 8 และ 9

ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนม

ทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

คาสถิติของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะ

นมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดใน

แตละตัว ตามเหตุการณ 4 แบบ

คาสถิติของจํานวนแพะนมทดแทนนําเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

คาสถิติของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะ

นมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

อยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป ตามเหตุการณ 4 แบบ

นิยามที่ใชในวิถีการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน เพื่อการประเมินความเสี่ยงเชิง

ปริมาณ

74

75

80

89

91

95

97

100

109

Page 10: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(5)

5

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี หนา

36

37

38

39

40

41

42

ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเจาหนาที่กรมปศุสัตว

และสตัวแพทย (กลุม 1)

ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนซื้อแพะ (กลุม 2)

ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเกษตรกรเจาของฟารม

(กลุม 3)

คาสถิติของโอกาสการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนม

ในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ

และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง

คาสถิติของจํานวนการเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ของ

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารม

แพะนมตอฟารมใน 1 ป

คาสถิติของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะ

นมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อ

แพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป

(1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

สรุปโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย

1 ตัวใน 1 ป และ และคนที่เขาโรงเรือน อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป

117

118

119

122

123

125

134

Page 11: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(6)

6

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางผนวกท่ี หนา

ค1 ขอมูลพื้นฐานของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ 180

ง1 คะแนนความไว (sensitivity) ของการจัดการดานตัวอยางจากความคิดเห็น

ของผูเชี่ยวชาญ

183

ง2 คะแนนความจําเพาะ (specificity) ของการจัดการดานตัวอยางจากความ

คิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

185

Page 12: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(7)

7

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

พื้นที่ที่มีการรายงานโรคบรูเซลโลสิสที่มีสาเหตุจากเชือ้ B. melitensis ในชวง

กรกฏาคม – ธันวาคม 2555

องคประกอบของการวิเคราะหความเสี่ยง

วิถีทางกายภาพ (physical pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทน พอพันธุที่ยืม

เพื่อการผสม นํ้าเชื้อที่ใชในการผสมเทียม อุปกรณที่ใชเกี่ยวกับสัตว คนที่เขา

โรงเรือน อาหารหยาบตามธรรมชาติ นํ้า สัตวนําโรคชนิดอ่ืน แพะนมในฟารม

กรุงเทพฯ ที่เลี้ยงปลอย และยานพาหนะ

วิถีทางกายภาพ (physical pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทน และพอพันธุที่

ยืมเพื่อการผสม

วิถีทางชีวภาพ (biological pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะนมทดแทนที่มาจาก

ฟารมตางจังหวัด

วิถี (pathway) การนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน เพื่อการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ

แนวคิดการประเมินความไวของระบบทดสอบโรคบรูเซลโลสิส

แนวคิดการประเมินความไวของระบบคัดกรองโรคบรูเซลโลสิส

แนวคิดการประเมินความจําเพาะของระบบคัดกรองโรคบรูเซลโลสิส

การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัดในแตละตัว ตามเหตุการณ 4 แบบ

รูปแบบการกระจายตัวของจํานวนแพะนมทดแทนที่นําเขาโรงเรือนในกรุงเทพ ฯ

ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

รูปแบบการกระจายตัวของจํานวนแพะนมทดแทนที่นําเขาโรงเรือนในกรุงเทพ ฯ

ตอฟารมใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

12

29

38

39

52

68

85

87

88

96

98

98

Page 13: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(8)

8

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพท่ี หนา

13

14

15

16

17

18

19

การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554) ตาม

เหตุการณ 4 แบบ

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขา

แพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขา

แพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป (1 มกราคม – 31

ธันวาคม 2554)

วิถี (pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน

การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย

คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง

การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย

คนซือ้แพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป

(1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย

และ คนซือ้แพะ อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

101

103

105

108

122

126

126

Page 14: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(9)

9

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพท่ี หนา

20

21

22

23

24

25

26

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯโดยผานทางเจาหนาที่

กรมปศุสัตวและสัตวแพทยตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 1)

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางคนซื้อ

แพะตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 2)

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเกษตรกร

เจาของแพะนมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 3)

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนม ในกรุงเทพฯ โดยผานเจาหนาที่กรม

ปศุสัตวและสัตวแพทย อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป (กลุม 1) (1 มกราคม – 31

ธันวาคม 2554)

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนซื้อแพะ

อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป (กลุม 2) (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป (กลุม 3) (1 มกราคม – 31 ธันวาคม

2554)

การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัด เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนม ในรอบ 1

128

128

129

130

131

132

134

Page 15: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(10)

10

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพท่ี หนา

27

ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะ

นมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อ

แพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

136

Page 16: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

(11)

11

อธิบายสญัลักษณและคาํยอ

/ = Per 0C = Degree Celsius

µm = Micrometer

ALOP = Appropriate Level of Protection

CFT = Complement Fixation Test

ELISA = Enzyme-Linked Immunosorbent Assay

Kg/m3 = Kilogram per cubic meter

MAT = Microscopic Agglutination Test

ml = Milliliters

mRBT = Modified Rose Bengal Test

NA = Not Available

OIE = Office International Des Epizooties

PCR = Polymerase Chain Reaction

pH = Potential of Hydrogen ion

RBC = Red Blood Cell

RBT = Rose Bengal Test

SAT = Serum Agglutination Test

Page 17: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

1

1

การประเมินความเสี่ยงของเช้ือ Brucella spp. ในฟารมแพะนมในกรุงเทพมหานคร

Risk Assessment of Brucella spp. in Dairy Goat Farms in Bangkok

คํานํา

ปจจุบันกรมปศุสัตวไดสงเสริมใหเกษตรกรเลี้ยงแพะมากขึ้น เน่ืองจากตลาดการบริโภค

แพะและผลิตภัณฑจากแพะมีการเติบโตขึ้นมาก อีกทั้งแพะเปนสัตวเคีย้วเอ้ืองขนาดเล็ก เลี้ยงงาย

ตนทุนการผลิตตํ่า มักใหลูกแฝด และใชระยะเวลาเลี้ยงลูกสั้น ทําใหการเลี้ยงแพะไดรับความสนใจ

จากเกษตรกรเปนอยางมาก (สํานักควบคุม ปองกันและบําบัดโรคสัตว [สคบ.] กรมปศุสัตว,

ม.ป.ป.) ในป 2554 กรุงเทพฯ เปนพื้นที่ที่มีการเลี้ยงแพะนมมากที่สุดในภาคกลาง โดยมีประชากร

แพะนมรวม 2,870 ตัว จากเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมทั้งหมด 110 ราย ในเขตหนองจอก มีนบุรี

บางกะป ประเวศ ทุงครุ สวนหลวง หวยขวาง สะพานสูง และคลองสามวา (ศูนยสารสนเทศ

กรมปศุสัตว, 2554) ซึ่งพื้นที่ใกลชุมชนที่มีการเลี้ยงสัตวจํานวนมากดังเชน กรุงเทพฯ ควรมีการ

ตระหนักถึงการควบคุมและปองกันโรคที่จะสงผลกระทบตอผลผลิต และสุขภาพทั้งในคนและ

สตัว โดยเฉพาะโรคบรูเซลโลสสิซึ่งเปนโรคติดตอระหวางสตัวและคนที่มีความรุนแรง

โรคบรูเซลโลสิสเปนโรคที่มีผลกระทบทางดานสาธารณสุขและการปศุสัตวเปนอยางมาก

โดยเฉพาะโรคบรูเซลโลสิสในแพะที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Brucella melitensis ซึ่งเปนสายพันธุที่

กอโรครุนแรงมากที่สุดในคน โดยมีรายงานการพบโรคนี้ทั้งในคนและสัตวทั่วโลก (Smith and

Ficht, 1990) สําหรับประเทศไทยมีรายงานการพบโรคบรูเซลโลสิสในคนคร้ังแรกต้ังแตป 2546

จากการบริโภคนมแพะที่ไมผานกระบวนการพาสเจอรไรส (นพวรรณ และคณะ, 2547) ปจจุบันยัง

มีรายงานการพบโรคในคนอยางตอเน่ือง โดยผูปวยสวนใหญมีประวัติการสัมผัสกับแพะหรือโค

(ปณิตา และ ธีรศักด์ิ, 2553) การติดตอของโรคในระหวางฝูงแพะจะเกิดจากการซื้อสัตวทดแทนเขา

เลี้ยงใหมหรือการยืมพอพันธุเพื่อใชในการผสมจากฟารมที่ไมมีการคัดกรองโรค การเลี้ยงสัตวรวม

ฝูงจากหลายเจาของ และการใชทุงหญาสาธารณะรวมกับสัตวฝูงอ่ืน เปนตน (มนยา, 2552)

Page 18: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

2

2

การควบคุม ปองกันโรคบรูเซลโลสิส ของกรมปศุสัตว เชน การสรางฟารมปลอดโรค

บรูเซลโลสิส การควบคุมการเคลื่อนยายสัตวโดยตองมีการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ

Brucella spp. กอนการเคลื่อนยาย หรือการรณรงคทดสอบและกําจัดโรคบรูเซลโลสิสประจําป เปน

มาตรการเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกผูบริโภค และเกษตรกร อีกทั้งเปนการสงเสริมประสิทธิภาพ

การเลี้ยงแพะนมใหมีความปลอดโรคซึ่งจะสงผลใหผลผลิตในฟารมเพิ่มสูงขึ้น การประเมิน

ประสิทธิภาพของมาตรการปองกันโรคที่มีอยูในปจจุบันจึงเปนสิ่งที่จําเปน เนื่องจากสามารถนําไป

ปรับปรุง หรือพัฒนาระบบการปองกันโรคใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการ

ประเมินความเสี่ยง (risk assessment) จะทําใหไดขอมูลที่เปนหลักฐานทางวิชาการและสามารถ

นําไปประกอบการตัดสินใจในการประเมนิหรือออกมาตรการการควบคุมโรคได ดังนั้นจึงควร

ดําเนินการประเมินความเสี่ยงของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ เพื่อนําขอมูลไปใชประโยชนตอไป

Page 19: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

3

3

วัตถุประสงค

เพื่อประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพและความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp.

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

Page 20: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

4

4

การตรวจเอกสาร

โรคบรูเซลโลสสิ

บทนํา

โรคบรูเซลโลสิสเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Brucella spp. เปนโรคติดตอระหวางสตัวและคนที่

มีความสําคัญ โดยสงผลใหมีความสูญเสียทางดานระบบสืบพันธุในสัตว (The Center for Food

Security and Public Health, 2009a) และในบางสายพันธุมีผลกระทบทางดานสาธารณสุข โดยทํา

ใหผูติดเชื้อมีไขสูง ๆ ตํ่า ๆ โรคบรูเซลโลสิสมีชื่อเรียกอ่ืน ๆ เชน Undulant fever, Mediterranean

fever หรือ Malta fever (Papas et al., 2006; Cobel, 2006)

โรคบรูเซลโลสิสเปนโรคที่มีประวัติยาวนาน โดยในปค.ศ. 1859 Marston เปนผูเร่ิมตนที่

บันทึกขอมูลของโรคไวเปนหลักฐาน ซึ่งไดบันทึกอาการปวยของตนเองกับทหารเรือในชวง

สงคราม Crimean วาอาการปวยของโรคบรูเซลโลสิสมีลักษณะที่แตกตางจากไขไทฟอยด ซึ่งใน

เวลาตอมาเรียกวา Mediterranean fever ในปค.ศ. 1884 กัปตัน David Bruce ชาวอังกฤษไดเพาะแยก

เชือ้ Micrococcus melitensis (ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปน Brucella melitensis) จากมามของผูปวยใน

โรงพยาบาลซึ่งมีประวัติการบริโภคนมแพะดิบโดยทําใหทราบความสัมพันธระหวางโรค

บรูเซลโลสิสกับการด่ืมนมแพะดิบและการมีแพะแทงภายในฟารม ตอมาจึงไดมีมาตรการหามด่ืม

นมแพะดิบ สงผลใหอุบัติการของโรคลดลง ในปค.ศ 1895 ศาสตราจารย L.F. Bernhard Bang

สัตวแพทยชาวเดนมารค ไดทําการเพาะแยกเชื้อ Bacillus abortus จากโคที่แทง ตอมาไดเปลี่ยนชื่อ

เปน Brucella abortus ปค.ศ 1898 มีรายงานการพบโรคบรูเซลโลสิสในคนรายแรกในสหรัฐอเมริกา

ปค.ศ. 1953 ไดมีการแยกเชื้อ Brucella ovis จากแกะที่มีการอักเสบของลูกอัณฑะ (epididymitis)

และในป ค.ศ. 1966 มีการเพาะแยกเชื้อ Brucella canis ไดจากสุนัขที่แทง (Nicoletti, 2002;

Radostits et al., 2012)

Page 21: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

5

5

สายพันธุและคุณสมบัติของเชื้อ

เชือ้ Brucella spp. แบงไดเปน 10 สายพันธุ โดยแยกเปนสายพันธุด้ังเดิมที่รูจักกันดี ไดแก

Brucella abortus, B. melitensis, B. suis, B. ovis, B canis และ B. neotomae และม ี4 สายพันธุใหม

ไดแก B. pinnipedialis, B. ceti, B. microti และ B. inopinata (Nicoletti, 2010) โดยสายพันธุที่

กอโรครุนแรงมากที่สุดในคน คือ B. melitensis รองลงมาไดแก B. suis และ B. abortus ตามลําดับ

(Smith and Ficht, 1990) ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 สายพันธุเชื้อ Brucella spp. ที่กอโรคในคนและสัตวและความรุนแรงในคน

สายพันธุ Biovar/Serovar สัตวนําโรค ความรุนแรงในคน

B. abotus 1-6, 9, (7) โค กอโรค ปานกลาง

B. melitensis 1-3 แพะ แกะ กอโรค รุนแรง

B. suis 1-3 สุกร กอโรค รุนแรง

2 กระตาย กอโรค ตํ่า

4 Reindeer, Caribou กอโรค ปานกลาง

5 Wild rodent (Russia) กอโรค รุนแรง

B. canis ไมมี สุนัข กอโรค ตํ่า

B. ovis ไมมี แกะ ไมมีรายงาน

B. neotomae ไมมี Desert wood rat ไมมีขอมูล

B. ceti - Cetaceans กอโรค รุนแรง

B. pinnipedialis - Pinipeds กอโรค รุนแรง

B. microti - Voles-fox ไมปรากฎ

ท่ีมา: มนยา (2552); Office International Des Epizooties [OIE] (2009); Quinn et al. (2011)

Page 22: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

6

6

ลักษณะของเชื้อ Brucella spp. เปนแบคทีเรียขนาดเล็กประมาณ 0.6 x 0.6 ถึง 1.5 µm มี

รูปรางทรงแทงสั้นและคอนขางเกือบกลม (coccobacilli) ยอมติดสีแกรมลบ อาศัยอยูภายในเซลล

โฮสต (facultative intracellular gram-negative bacteria) ไมมีการสรางสปอรหรือแคปซูล และไม

เคลื่อนที่ (Fretin et al., 2005; Romich, 2008; Quinn et al., 2011) สามารถจําแนกเชื้อ Brucella spp.

กับเชื้อแบคทีเรียแกรมลบชนิดอ่ืน ๆ ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 การจําแนกรูปราง การเคลื่อนไหว และลักษณะทางชีวเคมีของเชื้อ Brucella spp.

เปรียบเทียบกับแบคทีเรียชนิดอ่ืน

การทดสอบ Brucella spp. Bordetella

Bronchiseptica

Campylobacte

fetus

รูปราง small

coccobacilli

small

coccobacilli

comma

การเคลื่อนไหว ที่ 37 °C - + +

การผลติกรดบน agar ที่มีกลูโคส -a - -

Catalase + + +

Oxidase +b + +

Urease +c + -

Nitrate reduction +d + +

Agglutination with :

S Brucella antiserum +e - -

R Brucella antiserum +f - -

หมายเหตุ a: B. neotomae เกิดการหมัก

b: ยกเวน B. ovis, B. neotomae และ B. abortus บางสายพันธุ

c: ยกเวน B. neotomae และ B. abortus บางสายพันธุ

d: ยกเวน B. ovis

e: ยกเวน B. ovis, และ B. canis

f: B. ovis, B. canis

ท่ีมา: Alton et al. (1988)

Page 23: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

7

7

ความคงทนของเชือ้

เชือ้ Brucella spp. สามารถมีชีวิตอยูไดนานในฝุนละออง มูลสัตว นํ้า นํ้าทิ้ง ดิน หญาแหง

ซากลูกสัตวแทง นํ้านม ผลิตภัณฑจากนม อุจจาระ และของเสีย ระยะเวลาที่เชื้อมีชีวิตรอดใน

สิ่งแวดลอมขึ้นอยูกับปริมาณของเชื้อ อุณหภูมิ ความเปนกรด – ดาง แสงแดด และการปนเปอนเชือ้

ดวยจุลชีพอ่ืน ๆ ดังแสดงในตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 ความคงทนของเชื้อ Brucella spp. ในสิง่แวดลอม

ลักษณะสิ่งแวดลอม สภาวะ เวลาอยูรอด

แสงแดด <31 °C 4 ชั่วโมง 30 นาที

นํ้า (หองปฏิบัติการ) 20 °C 2.5 เดือน

นํ้า (ทะเลสาบ) 37 °C pH 7.2 < 1 วัน

8 °C pH 6.5 > 2 เดือน

ดิน แหง (หองปฏิบัติการ) < 4 วัน

แหง 18 °C 69 – 72 วัน

เปยก > 7 วัน

ความชื้นชั้นบรรยากาศ > 2 เดือน

ฤดูหนาว ความชืน้รอยละ 90 48 – 73 วัน

กุมภาพันธ แหง 72 วัน

ปสสาวะ 37 °C pH 8.5 16 ชั่วโมง

8 °C pH 6.5 6 วัน

นํ้านมดิบ 25 - 37 °C 24 ชั่วโมง

8 °C 48 ชั่วโมง

-40 °C 2.5 ป

นม UHT 37 °C 87 วัน

Page 24: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

8

8

ตารางท่ี 3 (ตอ)

ลักษณะสิ่งแวดลอม สภาวะ เวลาอยูรอด

มูลสัตว ฤดูรอน 24 ชั่วโมง

25 °C 1 เดือน

ฤดูหนาว 2 เดือน

8 °C 1 ป

-3 °C 3 เดือน

มลูสตัวเหลว ฤดูรอน 3 เดือน

ฤดูหนาว 6 เดือน

ในถงั 1.5 เดือน

ในถงั 12 °C > 8 เดือน

ขนสตัว ในโกดัง 4 เดือน

หญาแหง ทั่วไป หลายวันถงึ 1 เดือน

ฝุนในถนน ทั่วไป 3 – 44 วัน

พื้นคอก ทั่วไป 4 เดือน

ทุงเลี้ยงสัตว มแีสงแดด < 5 วัน

มีรมเงา > 6 วัน

ท่ีมา: European commission (2001); Falenski et al. (2011); Radostits et al. (2012)

Page 25: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

9

9

ตารางท่ี 4 ระยะเวลาการรอดชีวิตของ B. melitensis ในอาหารเลี้ยงเชื้อและผลิตภัณฑนม

ลักษณะสิ่งแวดลอม สภาวะ เวลามีชีวิตอยูรอด

อาหารเลีย้งเชือ้เหลว pH > 5.5

pH 5

pH 4

pH < 4

>28 วัน

<21 วัน

7 วัน

< 1 วัน

เนยแขง็

Various

Feta

Pecorinao

Roquefort

Erythrean

White

-

-

-

-

-

-

15 – 100 วัน

4-16 วัน

<90 วัน

20-60 วัน

44 วัน

1-8 สปัดาห

ครีม

4 °C 4 สปัดาห

โยเกริต

37 °C 2-3 วัน

ท่ีมา: European commission (2001); Falenski et al. (2011)

Page 26: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

10

10

การฆาเชื้อ

เชือ้ Brucella spp. สามารถถูกทําลายดวยสารฆาเชื้อทั่ว ๆ ไป ทั้งน้ีขึ้นอยูกับความเขมขน

และสภาวะสิ่งแวดลอม โดยถาอุณหภูมิลดลงจะทําใหประสิทธิภาพของสารฆาเชื้อลดลงไปดวย

(The Center for Food Security and Public Health, 2009a) การฆาเชื้อดวยสารฆาเชื้อตามความ

เขมขนที่เหมาะสม ดังแสดงในตารางที่ 5

ตารางท่ี 5 ชนิดและความเขมขนของน้ํายาฆาเชื้อในการทําลายเชือ้ Brucella spp.

แหลง ชนิดสารฆาเชื้อ/วิธีฆาเชื้อ ความเขมขน/ระยะเวลา

พื้นผิวทั่วไป Sodium hypochlorite

โซดาไฟ

น้ําปูนขาว

Formaldehyde

รอยละ 2.5

รอยละ 2-3

รอยละ 20

รอยละ 2

ผวิหนัง

Ethanol

Isopropanol

Iodophores

Phenol

Hydochlorite

NA

NA

NA

NA

NA

อุปกรณ

Autoclaving

121 °C อยางนอย 15 นาที

เชือ้ในแขวนลอยในนํ้า ตม

Xylene

Cacium cyanamide

10 นาที

1 ml/liter

20 kg/m3

หมายเหตุ NA = Not Available

ท่ีมา: The Center for Food Security and Public Health (2009a)

Page 27: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

11

11

สัตวท่ีสามารถติดเชื้อ Brucella spp.

สัตวที่สามารถติดเชื้อ Brucella spp. ดังแสดงในตารางที่ 6

ตารางท่ี 6 สัตวที่สามารถติดเชื้อ Brucella spp.

ชนิดสตัว B. abortus B. melitensis B. suis B. canis B. ovis

โค

กระบือ

+ + + (ไมคอยพบ) - -

+ + - - -

ไบซัน + - - - -

แกะ + (ไมคอยพบ) + + (เปนไปได) - +

แพะ + (ไมคอยพบ) + - - -

สุกร + (ไมคอยพบ) + (ไมคอยพบ) + - -

สุนัข + + + (ไมคอยพบ) + -

อูฐ + (ไมคอยพบ) + - - -

กวาง - - + (biovar4) - -

Elk + - - - -

มา + + (ไมคอยพบ) + (ไมคอยพบ) - -

หนู + (ไมคอยพบ) + (ไมคอยพบ) + (biovar5) - -

หมายเหต ุ + = สัตวที่สามารถติดเชื้อได

ท่ีมา: The Center for Food Security and Public Health (2009a); Radostits et al. (2012)

Page 28: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

12

12

โรคบรูเซลโลสสิในแพะ

สาเหต ุ

สาเหตุของโรคบรูเซลโลสิสในแพะ สวนใหญเกิดจากเชื้อ B. melitensis ซึ่งเปน biovar 1, 2

หรือ 3 โดยมีนอยคร้ังที่เกิดจากเชื้อ B. abortus หรือ B. suis (European commission, 2001)

ระบาดวทิยา

โรคบรูเซลโลสิสที่มีสาเหตุจากเชื้อ B. melitensis พบการระบาดมากในประเทศแถบ

เมดิเตอรเรเนียนของทวีปยโุรป ประเทศแถบตะวันออกกลาง อินเดีย เอเชยีตะวันตก แอฟริกาและ

ละตินอเมริกา (Cobel, 1997) ในปจจุบันโรคนี้ยังคงสงผลกระทบตอวงการปศุสัตวและสาธารณสุข

ในอีกหลายประเทศทั่วโลก (OIE, 2012b) ดังแสดงในภาพที่ 1 และตารางที่ 7

ภาพท่ี 1 พื้นที่ที่มีการรายงานโรคบรูเซลโลสิสที่มีสาเหตุจากเชือ้ B. melitensis ในชวง กรกฏาคม –

ธันวาคม 2555

ท่ีมา: OIE (2012a)

Page 29: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

13

13

ตารางท่ี 7 การสํารวจสภาวะโรคบรูเซลโลสิสในแพะในตางประเทศ

ประเทศ ความชุก

ระดับฝูง

(รอยละ)

ความชุก

ระดับตัวสตัว

(รอยละ)

วิธตีรวจ อางอิง

จอรแดน

ทั้งประเทศ

กลุมแพะแทง

53.6

NA

27.7

27.1

RBT, CFT

PCR

Al-Majali (2005)

Samadi et al. (2010)

เอธโิอเปย

ไมระบุเขต

ภาคใต, กลาง

Borana

NA

11.12

NA

4.2

1.19

1.9

RBT, CFT

RBT, CFT

RBT, CFT

Ashagrie et al. (2011)

Asmare et al. (2013)

Megersa et al. (2011)

สเปน

14

0.1

RBT, CFT

Reviriego et al. (2000)

บังคลาเทศ

Mymensingh

ทั้งประเทศ

ทั้งประเทศ

ทั้งประเทศ

NA

NA

NA

NA

1

3.15

3.85

3.37

ELISA, RBT

RBT, ELISA

RBT

MAT

Rahman et al. (2012)

Rahman et al. (2011)

Islam et al. (2010)

Islam et al. (2010)

ไนจีเรีย

Sokoto

Plateu state

NA

NA

22.93

16.1

ELISA, RBT

RBT, SAT

Junaidu et al. (2010)

Bertu et al. (2010)

เวสตแบงกใต NA 24.6 RBT, CFT Havari (2012)

Page 30: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

14

14

ตารางท่ี 7 (ตอ)

ประเทศ ความชุก

ระดับฝูง

(รอยละ)

ความชุก

ระดับตัวสตัว

(รอยละ)

วิธตีรวจ อางอิง

บัลแกเรีย 12.2 12.27 RBT, CFT Likov et al. (2010)

อียิปต NA 0.44 RBT, CFT Hegazy et al. (2011)

หมายเหตุ NA = Not Available

RBT = Rose Bengal Test

CFT = Complement Fixation Test

PCR = Polymerase Chain Reaction

ELISA = Enzyme-Linked Immunosorbent Assay

MAT = Microscopic Agglutination Test

SAT = Serum Agglutination Test

ในประเทศไทยมีการสํารวจสภาวะโรคบรูเซลโลสิสในแพะอยางตอเนื่อง ดังแสดงใน

ตารางที่ 8 และ 9

Page 31: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

15

15

ตารางท่ี 8 ความชุกทางซีรัมวิทยาตอโรคบรูเซลโลสิสในแพะในประเทศไทยเรียงตามเขตปศุสัตว

พื้นที่/ปที่ศึกษา ชนิดสตัว ความชุก

ระดับฝูง

(รอยละ)

ความชุก

ระดับตัวสตัว

(รอยละ)

อางอิง

ปศุสัตวเขต 1

ชัยนาท

แพะเน้ือ 16.88 1.59 วัชรพงษ (2554)

นนทบรีุ แพะนม

แพะ (รวม)

8.9

7.86

0.46

2.93

นพวรรณ (2552)

จรูญศักด์ิ และ กิตติ (2552)

สพุรรณบรุี

(อูทอง)

ป 2552

ป 2553

ป 2554

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

57.14

53.33

42.85

10.96

7.86

4.5

อนุสรณ และ ภรณชนก (2555)

อนุสรณ และ ภรณชนก (2555)

อนุสรณ และ ภรณชนก (2555)

ปศุสัตวเขต 3

ชัยภูมิ

ป 2549

ป 2550

ป 2551

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

NA

NA

NA

3.01

3.10

3.2

ทับทอง และ เทวัญ (2551)

ทับทอง และ เทวัญ (2551)

ทับทอง และ เทวัญ (2551)

ปศุสัตวเขต 7

กาญจนบุรี แพะ (รวม)

45.8 11.51 Kaewket (2008)

เพชรบรุี แพะ (รวม) 18.5 3.2 กิติภัทท และคณะ (2551)

Page 32: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

16

16

ตารางท่ี 8 (ตอ)

พื้นที่/ปที่ศึกษา ชนิดสตัว ความชุก

ระดับฝูง

(รอยละ)

ความชุก

ระดับตัวสตัว

(รอยละ)

อางอิง

ปศุสัตวเขต 8

กระบี ่

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

18.18

8.33

1.5

2

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

นครศรีธรรมราช

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

0

13.64

0

3.1

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พังงา

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

9.52

4.76

3

0.5

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

สุราษธานี

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

0

0

0

0

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

ปศุสัตวเขต 9

สงขลา

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

0

20

0

4.71

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

สตูล

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

5.26

4.55

0.5

0.5

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

Page 33: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

17

17

ตารางท่ี 8 (ตอ)

พื้นที่/ปที่ศึกษา ชนิดสตัว ความชุก

ระดับฝูง

(รอยละ)

ความชุก

ระดับตัวสตัว

(รอยละ)

อางอิง

ตรัง

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

0

0

0

0

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พัทลุง

ป 2552

ป 2553

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

0

12.5

0

0.85

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

พรทพิย และ อรรถพร (2555)

หมายเหต ุ แพะ (รวม) = ไมไดแยกเปนประเภทแพะนม หรือแพะเน้ือ

NA = Not Available

Page 34: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

18

18

ตารางท่ี 9 การสํารวจสภาวะโรคบรูเซลโลสิสในแพะในประเทศไทย

พื้นที่ ชนิดสตัว ความชุก

ระดับฝูง

(รอยละ)

ความชุก

ระดับตัวสตัว

(รอยละ)

อางอิง

ปศุสัตวเขต 4

ป 2552-2554

แพะ (รวม)

17.26

2.79

Sawasdee and Chuachan

(2012)

ปศุสัตวเขต 7

ป 2552

ป 2553

ป 2554

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

35

18.33

21.33

1.33

4

2.3

Chetiyawan and Antarasena

(2012)

ปศุสัตวเขต 8

ป 2548

ป 2549

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

NA

NA

0.63

0.7

พรทิพย และคณะ (2550)

ปศุสัตวเขต 9

ป 2547

ป 2548

ป 2549

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

แพะ (รวม)

NA

NA

NA

1.92

1.49

1.96

พรทิพย และคณะ (2550)

สพุรรณบรุี

ป 2551

ป 2552

แพะ-แกะ

แพะ-แกะ

NA

NA

9.74

7.11

ภรณชนก และ อนุสรณ

(2552)

กรุงเทพฯ แพะนม NA 1.18 ปญญา และ สตัยา (2549)

หมายเหต ุ แพะ (รวม) = ไมไดแยกเปนประเภทแพะนม หรือแพะเน้ือ

NA = Not Available

Page 35: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

19

19

การติดตอ

การแพรเชื้อ

รูปแบบการแพรเชื้อในแพะและแกะจะเหมือนกับในโค โดยสัตวตัวเมียจะปลอยเชื้อ

ออกมากับสิ่งคัดหลั่งจากระบบสืบพันธุ เชน สิ่งคัดหลั่งจากชองคลอด ทั้งน้ียังสามารถพบเชื้อไดใน

รก นํ้าครํ่า หรือ ปสสาวะ สัตวจะปลอยเชื้อออกมาเปนจํานวนมากหลังการตกลูก หรือการแทง แพะ

มีชวงการปลอยเชื้อประมาณ 2 - 3 เดือน สวนในแกะจะมีระยะเวลาการปลอยเชื้อที่สั้นกวา หรือ

ประมาณ 2 - 3 สัปดาห แมแพะสามารถขับเชื้อออกมาในน้ํานม ซึ่งสงผลใหลูกแพะหรือคนสามารถ

ติดเชื้อผานการด่ืมนํ้านมได ลูกแพะที่ติดเชื้อจากแมสามารถแพรเชื้อออกมาทางอุจจาระโดยที่ไม

แสดงอาการได ในแมแพะที่ติดเชื้อสามารถแยกเชื้อจากตอมนํ้าเหลืองที่เกี่ยวกับระบบสืบพันธุ และ

รอยโรคขออักเสบได พอแพะสามารถปลอยเชื้อมาในนํ้าเชื้อ และยังพบเชื้อในอัณฑะ (European

commission, 2001; The Center for Food Security and Public Health, 2009b; Radostits et al.,

2012)

การไดรับเชื้อ

แพะสามารถติดเชื้อไดจากการกินนํ้า อาหาร หรือเลียวัสดุอุปกรณที่มีเชื้อปนเปอน และยัง

สามารถรับเชื้อไดจากการสูดเชื้อเขาทางระบบหายใจ เชื้อสามารถเขาสูรางกายผานทางเยื่อบุตา หรือ

ทางบาดแผลเปด แมแพะสามารถรับเชื้อจากการผสมพันธุกับพอแพะที่ติดเชื้อ หรือจากการผสม

เทียมจากนํ้าเชื้อที่มีเชื้อปนเปอน ในแมแพะต้ังทองที่ติดเชื้อ ลูกแพะอาจยังมีชีวิตอยูไดแตมักจะติด

โรคโดยไมแสดงอาการจนกระทั่งโตเต็มวัย โดยลูกแพะสามารถติดเชื้อจากแมผานทางรก (vertical

transmission) หรือรับเชื้อผานทางนมนํ้าเหลืองหรือจากการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากแมแพะได

โดยตรง สวนการติดเชื้อทางออมจะเกิดจากการใชทุงหญารวมกับสัตวที่เปนโรค หรือมีการใชวัสดุ

อุปกรณรวมกันระหวางฟารม ซึ่งสัตวที่ติดเชื้อจะปลอยเชื้อออกมากับมูล ปสสาวะ สิ่งคัดหลั่งจาก

ชองคลอด หรือรก ลงในทุงหญา ประกอบกับเชื้อสามารถอาศยัในสิง่แวดลอมไดยาวนาน (ตารางที่

3) ทําใหมีการปนเปอนเชื้อในทุงหญา และอุปกรณตาง ๆ ในฟารมที่ใชรวมกัน (มนยา, 2552;

European commission, 2001; The Center for Food Security and Public Health, 2009b;

Radostits et al., 2012)

Page 36: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

20

20

สุนัขจัดเปนพาหะที่สําคัญในการนําพาเชื้อ (Joint FAO/WHO Expert Committee on

Brucellosis, 1986) และยังสามารถติดเชื้อหรือเปนโรคบรูเซลโลสิสไดอีกดวย โดยเฉพาะที่เลี้ยงใน

ฟารมแพะทีเ่ปนโรค แตมีรายงานวาสุนัขสามารถกําจัดเชื้อไดดวยตนเองอยางรวดเร็ว ในประเทศที่

มีการใชสุนัขเลี้ยงแกะ เชน ฝร่ังเศส และเยอรมัน หากมีการกําจัดแกะในฝูงทั้งหมด ตองกําจัดสุนัข

ทิ้งไปดวยหรืออยางนอยตองใหยาปฏชิวีนะและทาํหมนั (European commission, 2001)

พยาธิกําเนิดของโรค

พยาธิกําเนิดของการติดเชื้อ B. melitensis ในแพะ จะคลายกับการติดเชื้อ B. abortus ในโค

โดยเชื้อดังกลาวเปนแบคทีเรียที่ชอบอาศัยอยูในเซลล ในระบบที่เซลลมีหนาที่กลืนทําลายตาม

อวัยวะตาง ๆ (reticulo-endothelial system) ความรุนแรงของการเกิดโรคขึ้นอยูกับชนิดสัตว สาย

พันธุ และขนาดของเชื้อที่ไดรับ นอกจากน้ียังขึ้นกับความไวของสัตวที่ไดรับเชื้อ โดยจะสัมพันธกับ

สภาวะของระบบสืบพันธุ แพะจะไดรับเชื้อผานทางเยื่อเมือกชองปากและคอหอย (oropharynx)

ระบบทางเดินหายใจสวนตน เยื่อบุตา ระบบสืบพันธุของทั้งตัวผูและตัวเมีย รอยแผลเปด (Smith

and Sherman, 2009) เชื้อที่สามารถผานกระบวนการตอตานจากรางกายจะเขาไปสูตอมน้ําเหลือง

บริเวณใกลเคียง จากน้ันเซลลแมคโครฟาจและลิมโฟไซตชนิดเซลลทีจะเปนตัวทําหนาที่ในการ

ปองกันตัวเองจากเชื้อโรค โดยจะกระตุนใหเกิดแอนติบอดีขึ้น เมื่อเชื้อเขาสูกระแสเลือดจะเกิดภาวะ

เลือดมีแบคทีเรีย (bacteremia) ซึ่งสามารถตรวจพบไดในวันที่ 10 – 20 ของการไดรับเชื้อและจะคง

อยูประมาณ 30 วัน หรือมากกวา 2 เดือนขึ้นไป จากน้ันเชื้อจะแพรกระจายไปตามตอมนํ้าเหลือง

และอวัยวะตาง ๆ เชน เตานม มาม และอัณฑะ ในกรณีที่สัตวต้ังทอง เชื้อจะเขาไปที่มดลูก และ รก

อาการหลักที่สังเกตไดชัดในการติดเชื้อในระยะแรก คือ การแทง แตสามารถพบอาการอ่ืน ๆ ได

เชน ขอบวมนํ้า ขออักเสบ มดลกูอักเสบ รกอักเสบ และเตานมอักเสบแบบไมแสดงอาการ แตสัตว

ยังสามารถขับเชื้อออกมาจากรางกายได สําหรับสัตวที่ติดเชื้อในชวงทายของการต้ังทองจะไมแทง

ในพอแพะจะพบอัณฑะอักเสบ (orchitis) ทอนํานํ้าเชื้ออักเสบ (epididymitis) การติดเชื้อระยะที่สอง

เปนชวงการกําจัดเชื้อออกจากรางกาย แตยังคงพบเชื้อในตอมน้ํานม (mammary gland) ตอม

นํ้าเหลืองเตานม (supramammary lymph node) และตอมนํ้าเหลืองบริเวณอวัยวะสืบพันธุ (genital

lymph node) (European commission, 2001) หลังจากการแทง สัตวจะมีการติดเชื้อในมดลูกตอไป

อีกประมาณ 5 เดือน และในตอมนํ้านมจะยังคงติดเชื้อประมาณ 1 ป การหายจากโรคจะเกิดขึ้นเอง

ในแพะที่ติดเชื้อแลวไมแทง (Radositis et al., 2012)

Page 37: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

21

21

อาการทางคลินิกและรอยโรค

อาการที่พบในแพะจะมีอาการเชนเดียวกับโค กลาวคือจะมีการแทงในชวงทายของการ

ต้ังทอง โดยมักจะแทงในชวง 2 เดือนสุดทาย แตในสัตวชนิดอ่ืนจะพบการแทงแบบเฉยีบพลนัและ

พบการแทงเปนจํานวนมาก (abortion storm) โดยจะแทงไดถึงรอยละ 30 ถึง 80 ภายในระยะเวลา

2 ถึง 5 เดือน แพะและแกะ อาจแทงแคคร้ังเดียว และเชื้อจะผานไปทางเยื่อชุมทําใหเกดิรกอักเสบ

และมีรกคาง ในแพะที่มีอาการเฉียบพลันอาจพบเตานมอักเสบ ขาเจ็บ และขออักเสบทั้งในตัวผูและ

ตัวเมีย ในการทดลองใหมีการติดเชื้อจะพบอาการมีไข ซึม นํ้าหนักลด และบางตัวมีอาการทองเสีย

รวมดวย ในแมแพะต้ังทองที่ติดเชื้อแตไมแทงสามารถปลอยเชื้อไดตลอดชวงของการต้ังทอง และ

จะคลอดลูกแพะที่ออนแอ ในแพะที่ไมต้ังทองโดยมากจะไมแสดงอาการทางคลินิก การติดเชื้อใน

สัตวตัวผูจะพบลูกอัณฑะอักเสบ โดยจะพบการอักเสบแบบขางเดียวมากกวาสองขาง ซึ่งการอักเสบ

ของอัณฑะจะสงผลตอความสมบูรณพันธุ (มนยา, 2552; European commission, 2001; The Center

for Food Security and Public Health, 2009b; Radostits et al., 2012) ในฝูงที่มีความตานทานโรคสูง

มีการจัดการฟารมที่ดี และมีสภาพอากาศและสภาวะสิ่งแวดลอมที่จะไมทําใหสัตวเครียด เมื่อเชื้อ

เขามาในฝูงแพะอาจไมแทง แตถาเปนการติดเชื้อในฝูงคร้ังแรกอาจพบการแทงแมวาจะมีการจัดการ

ฟารมที่ดีก็ตาม (Smith and Sherman, 2009)

ปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค

การศึกษาปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคบรูเซลโลสิสในแพะ ไดแก

1. ปจจัยจากตัวสตัว

อายุ พบวาการตรวจโรคบรูเซลโลสิสทางซีรัมวิทยาในแพะที่เลี้ยงในภาคใตของประเทศ

ไทยที่อายุมากกวา 1 ป เปน 5.28 เทาเมื่อเทียบกับแพะอายุนอยกวา 1 ป (พรทิพย และ อรรถพร,

2555) และในเอธิโอเปยแพะอายุมากกวา 10 เดือน มีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp.

เปน 5 เทา ของแพะที่มีอายุนอยกวา 10 เดือน (Asmare et al., 2013)

Page 38: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

22

22

เพศ พบวาแพะตัวเมียในบังคลาเทศมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp.

มากกวาแพะตัวผู 23 เทา (Islam et al., 2010) แพะตัวเมียในไนจีเรียมีโอกาสพบผลบวกตอการติด

เชือ้ B. abortus และ B. melitensis มากกวาแพะตัวผู (Junaidu et al., 2010)

พันธุ พบวาแพะพันธุ No La Manchaในเม็กซิโกมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ

B. melitensis เปน 5.5 เทา ของแพะพันธุอ่ืน (Mikolon et al., 1998) แพะที่เปนพันธุจากตางประเทศ

มีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis เปน 7.2 เทา ของพันธุแพะพื้นเมืองของประเทศ

สเปน (Mainar –Jaime and Vezquez-Boland, 1999)

การต้ังทอง พบวาแพะในบังคลาเทศที่อยูในชวงต้ังทองมีโอกาสพบผลบวกตอการติด

เชือ้ Brucella spp. มากกวาแพะที่ไมต้ังทองเปน 6.8 เทา (Islam et al., 2010)

การแทง พบวาแพะในบังคลาเทศที่มีประวัติการแทงมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ

Brucella spp. มากกวาแพะที่ไมมีประวัติการแทงประมาณ 2 -33 เทา (Islam et al., 2010;

Rahman et al., 2011) และเปน 6.9 เทา ในเอธโิอเปย (Megersa et al., 2011)

จํานวนคร้ังของการตกลูก (Parity) พบวาแพะที่มีจํานวนคร้ังของการตกลูกหลายคร้ังใน

เอธิโอเปยมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อมากกวาแพะที่ไมเคยตกลูก (Ashagrie et al., 2011)

ประวัติของการเกิดรกคางซึ่งเปนอาการหนึ่งของโรค พบวาแพะในบังคลาเทศที่มี

ประวัติรกคางมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. มากกวาแพะที่ไมมีประวัติรกคางเปน

47.1 เทา (Islam et al., 2010)

2. ปจจัยนอกตัวสัตว ไดแก ขนาดและความหนาแนนของฝูง ลักษณะโรงเรือน ที่ต้ัง การ

จัดการฟารม หรือสิ่งแวดลอม เปนตน โดยมีรายละเอียดดังน้ี

ขนาดฝูง พบวาในฝูงขนาดใหญ (มากกวา 100 ตัว) ในจอรแดนมโีอกาสพบผลบวกตอ

การติดเชื้อ Brucella spp. เปน 2.6 เทา ของฝูงขนาดเล็ก (10 - 50 ตัว) (Al-Majali, 2005) ใน

เอธิโอเปยฟารมขนาดใหญมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. เปน 2 เทา ของฟารม

ขนาดเลก็ (Asmare et al., 2013) และในเม็กซิโกฝูงขนาดใหญ (27 – 402 ตัว) และฝูงขนาดกลาง

Page 39: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

23

23

(12 – 26 ตัว) มีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. เปน 12.9 และ 3.7 เทา ของฝูงขนาด

เลก็ (2- 11 ตัว) (Mikolon et al., 1998)

จํานวนสัตวตอพื้นที่การเลี้ยง พบวาแพะที่เลี้ยงหนาแนนมากกวา 3.5 ตัวตอตารางเมตร

ในเม็กซิโกจะมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis สูงเปน 1.7 เทา ของฟารมแพะที่มี

ความหนาแนนนอยกวา 3.5 ตัวตอตารางเมตร (Solorio-Rivera et al., 2007)

โรงเรือน พบวาลักษณะโรงเรือนที่ไมดี เชน โรงเรือนที่เกา โครงสรางไมดีมีโอกาสพบ

ผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis สูงเปน 15 เทา ของโรงเรือนที่ดี (Mainar –Jaime and Vezquez-

Boland, 1999)

ที่ต้ัง พบวาระยะหางจากฟารมอ่ืน ๆ มากกวา 500 เมตร จะปองกันการพบผลบวกตอ

การติดเชื้อ B. melitensis (Mainar –Jaime and Vezquez-Boland, 1999) และในจังหวัดกาญจนบรีุ

ฟารมที่อยูใกลฟารมอ่ืนมากกวา 500 เมตร มีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis เปน

1.91 เทา ของฟารมที่อยูไกลเกิน 500 เมตร (Kaewket, 2008)

การนําแพะเขาเลี้ยงใหม พบวาการนําแพะเขาเลี้ยงในฝูงใหมในจังหวัดกาญจนบุรีมี

โอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis เปน 2.02 เทา ของฟารมที่ไมมีการนําแพะเขาเลี้ยง

ใหม (Kaewket, 2008)

แหลงที่มาของแพะ พบวาการนําเขาแพะจากตางเมืองในเม็กซิโกมีโอกาสพบผลบวกตอ

การติดเชื้อ B. melitensis เปน 68.3 เทา ของการไมไดนําแพะเขาจากตางเมือง (Mikolon et al., 1998)

การนําแพะจากพื้นที่ไมปลอดโรคหรือฝูงที่ไมทราบสถานภาพโรคจะมีโอกาสพบผลบวกตอการติด

เชือ้ B. melitensis เปน 12 เทา ของการนําแพะจากฝูงที่ปลอดโรค (Coelho et al., 2007) การซื้อแพะ

จากพอคาคนกลางในจังหวัดราชบุรีมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. เปน 2.35 เทา

ของการไมซื้อแพะจากพอคาคนกลาง (Raksakul, 2009)

การสัมผัสแพะฝูงอ่ืน พบวาฟารมแพะในจอรแดนที่มีประวัติสัมผัสกับแพะฝูงอ่ืนมี

โอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. เปน 1.8 เทา ของฟารมที่ไมมีประวัติสัมผัสกับแพะ

ฝูงอ่ืน (Al-Majali, 2005)

Page 40: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

24

24

การมีสัตวชนิดอ่ืนในฟารมหรือการสัมผัสสัตวชนิดอ่ืน พบวาการเลี้ยงสัตวปศุสัตวชนิด

อ่ืนในฟารมแพะในเอธิโอเปยมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. มากกวาการไมเลี้ยง

สัตวปศุสัตวชนิดอ่ืนในฟารมเปน 2 เทา (Asmare et al., 2013) การเลี้ยงแพะปนกับแกะในสเปนมี

โอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. มากกวาการไมเลี้ยงแพะปนกับแกะเปน 236 เทา

(Reviriego et al., 2000) และเปน 2.7 เทา ในเม็กซิโก (Kabagambe et al., 2001) การมีสุนัขในฟารม

ในจังหวัดกาญจนบุรีมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis เปน 1.5 เทา ของการไมมีสุนัข

ในฟารม

ระบบสุขาภิบาล พบวาฟารมแพะในจอรแดนที่ไมใชนํ้ายาฆาเชื้อมีโอกาสพบผลบวกตอ

การติดเชื้อ Brucella spp. เปน 2.8 เทา ของฟารมที่ใชยาฆาเชื้อ (Al-Majali, 2005) การใชนํ้ายาฆาเชื้อ

จํานวนบอยคร้ังในฟารมแพะในสเปนจะลดโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp.

(Reviriego et al., 2000) ฝูงแพะที่ไมมีการไมทําความสะอาดโรงเรือนและกําจัดมูลจะมีโอกาสพบ

ผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis 2.87 เทา ของแพะฝูงที่มีการทําความสะอาดโรงเรือนและกําจัด

มลูออก (Coelho et al., 2007)

วัคซีน พบวาฟารมแพะในจอรแดนที่ไมใชวัคซีน Rev 1 มีโอกาสพบผลบวกตอการติด

เชือ้ Brucella spp. เปน 3 เทา ของฟารมที่ใชวัคซีน (Al-Majali, 2005) แตการศึกษาแพะในกลุมมี

ประวัติการแทงพบวาการทําวัคซีน Rev 1 มีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp.เปน 2.92

เทา ของแพะที่ไมทําวัคซีน (Samadi et al., 2010)

ฤดูกาล พบวาในเอธิโอเปย ฤดูฝนมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp.

มากกวาฤดูแลงเปน 4.8 เทา (Megersa et al., 2011)

รูปแบบการเลี้ยง พบวาการเลี้ยงแพะแบบปลอยปา และปลอยในแปลงพืชเกษตรใน

เอธิโอเปย มีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. มากกวาเลี้ยงในโรงเรือนเปน 12.8 และ

4 เทา ตามลําดับ (Asmare et al., 2013) ในสเปนการเลี้ยงแพะในทุงหญาสาธารณะรวมกับฝูงอ่ืน

และการเลี้ยงในทุงหญาของตนเองมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. เมื่อเปรียบเทียบ

กับการไมเลี้ยงในทุงหญาสาธารณะเปน 299 และ 29 เทา ตามลําดับ (Reviriego et al., 2000) ใน

จอรแดนการเลี้ยงในทุงหญาสาธารณะมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. เมื่อ

เปรียบเทียบกับการไมเลี้ยงในทุงหญาสาธารณะเปน 2.78 เทา (Samadi et al., 2010) โดยสอดคลอง

Page 41: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

25

25

กับการศึกษาในเวสต แบงค ที่การเลี้ยงในทุงหญาสาธารณะจะเปนปจจัยเสี่ยงของโรคบรูเซลโลสิส

ในแพะ (Hawari, 2012) และการเลี้ยงแพะแบบปลอยอิสระในเม็กซิโก จะมีโอกาสพบผลบวกตอ

การติดเชื้อ Brucella spp. เปน 7.9 เทา ของการเลี้ยงแบบผูกโรง (Kabagambe et al., 2001)

แหลงนํ้า พบวาฟารมที่ใชแหลงนํ้าที่มีการบําบัดในจังหวัดกาญจนบุรีจะเปนการปองกัน

การพบผลบวกตอการติดเชื้อ B. melitensis (Kaewket, 2008)

การใหบริการของสัตวแพทย พบวาการขาดแคลนสัตวแพทยดูแลฟารมในเม็กซิโก มี

โอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ Brucella spp. เปน 3.2 เทา ของการมีสัตวแพทยดูแลฟารม

(Kabagambe et al., 2001)

ปจจัยอ่ืน ๆ เชน แพะเกิดนอกฟารมในเม็กซิโกมีโอกาสพบผลบวกตอการติดเชื้อ

B. melitensis เปน 5.5 เทา ของแพะเกิดในฟารม (Mikolon et al., 1998) การนําแพะทดแทนจาก

ตลาดนัดจะมโีอกาสพบการแทงในฝูง เปน 2.4 เทา ของการไมไดนําแพะเขาฝูงจากตลาดนัด

(Kabagambe et al., 2001)

การวินิจฉัยโรคทางหองปฏิบัติการ

1. การตรวจทางแบคทีเรียวิทยา การเพาะแยกเชื้อและการจําแนกชนิดของเชื้อ

Brucella spp. เปนวิธีการชันสูตรโรคที่มีสาเหตุจาก B. melitensis ซึ่งไดแก การยอมสีดวยวิธี Ziehl-

Neelsen แตควรระมัดระวังเน่ืองจากอาจมีเชื้อแบคทีเรียที่ทนกรด (acid fast bacilli) ตัวอ่ืนที่มี

ลักษณะคลายกัน เชน Mycobacterium

การเพาะแยกเชื้อ จําเปนตองใชอาหารเลี้ยงเชื้อธรรมดาและอาหารเลี้ยงเชื้อจําเพาะ แต

สัตวติดโรคบางรายอาจไมสามารถเพาะแยกเชื้อไดเสมอ และการเพาะแยกเชื้อมีขอจํากัดคือตอง

ดําเนินการในหองปฏิบัติการที่มีความพรอม ดังน้ันการชันสูตรโรคบรูเซลโลสิสมักใชวิธีการทาง

ซีรัมวิทยาเปนหลัก (มนยา, 2552; Radostits et al., 2012)

Page 42: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

26

26

2. การตรวจทางซีรัมวิทยา ในการชันสูตรโรคนั้นหากหองปฏิบัติการใดไมสามารถจะเพาะ

แยกเชื้อได การชันสูตรโรคจําเปนตองใชการตรวจทางซีรัมวิทยาซึ่งไดมีการพัฒนาอยางตอเน่ือง

เชนกัน มีการเปลี่ยนแปลงและเลือกวิธีทดสอบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทดสอบตามความ

เหมาะสมของหองปฏิบัติการในแตละประเทศ (Nielsen, 2002) ซึ่งมีหลายวิธีไดแก

Rose Bengal test, Complement Fixation test, ELISA, Gel Precipitation test, Antiglobulin test,

Immunocapture test, Fluorescence Polirisation Assay หรือ Cross-reactions in serological tests

( European commission, 2001) ซึ่งวิธีมาตรฐานที่สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว แนะนํา

ใหตรวจวิธ ีModified Rose Bengal test (mRBT) และ Complement fixation test (CFT)

2.1 วิธี Modified Rose Bengal test (mRBT) เปนวิธีทดสอบซรัีมแพะและแกะ ซึ่งซีรัม

อางอิงที่ใชเปนชนิดเดียวกบัการตรวจซีรัมโค แตมีการเพิ่มปริมาตรของซีรัมเปน 3 เทา และ

แอนติเจน 1 เทา เพื่อเปนการเพิ่มความไวในการทดสอบใหสามารถคัดแยกแพะและแกะที่เปนโรค

และสงสัยเปนโรคออกจากฝูงใหมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะแรกของการควบคุมโรค

ประกอบดวย

ซีรัมบวกอางอิง (reference positive serum) คือ ซีรัมที่มีแอนติบอดีตอเชื้อ

B. abortus เปนซีรัมที่มีการรับรองและมีการเปรียบเทียบมาตรฐานกับซีรัมอางอิงมาตรฐานจาก

หองปฏิบัติการของ OIE ประเทศอังกฤษ

ซีรัมบวกมาตรฐานทุติยภูมิ (secondary standard positive serum) คือ ซีรัมที่ไดจาก

โคที่เปนโรคบรูเซลโลสิส และใหผลบวกทางซีรัมวิทยาตอแอนติเจนที่เตรียมจากเชื้อ B. abortus

ซีรัมลบ (negative serum) คือ ซีรัมที่ไดจากสัตวที่ใหผลลบทางซีรัมวิทยา และมา

จากฝูงที่ไมมีประวัติการเปนโรคบรูเซลโลสิสไมนอยกวา 3 ป หรือซีรัมที่ผลิตมาจากบริษัทที่มีการ

รับรองวาปลอดเชื้อและนํามาทดสอบกับ แอนติเจนมาตรฐานไมพบปฏิกิริยาการเกาะกลุม

(agglutination)

Page 43: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

27

27

2.2 วิธี Complement fixation test (CFT) เปนวิธีมาตรฐานทางซีรัมวิทยาที่ใชในการ

ทดสอบโรคบรูเซลโลสิส และเปนการตรวจยืนยันในกรณีสงสัย จัดอยูในระบบการทดสอบใหเปน

สวนผสมของแอนติเจนกับซีรัมที่ทดสอบ โดยการที่มีแอนติบอดีที่จําเพาะกับแอนติเจน และ รวม

เปนแอนติบอดี-แอนติเจนคอมเพลก็ซ (antibody-antigen complex) คอมพลีเมนตจะจับอยูกับคอม

เพลก ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นน้ีจะมองเห็นไดโดยการเติม second immune system คอื erythrocytes

haemolysin (sensitized RBC) ในการทดสอบสวนของคอมพลีเมนตที่ไมไดใชในระบบ (หรือถูกจับ

อยูกับ antibody-antigen complex) จะไปจับอยูกับ sensitized RBC ซึง่จะทาํใหเมด็เลอืดแดงแตก

ระดับการแตกของเม็ดเลือดจะขึ้นกับปริมาณของคอมพลีเมนตที่เหลือจากการจับกับ แอนติเจน-

แอนติบอดี คอมเพลกในตอนแรก ระดับของ haemolysis จะสังเกตไดจากสีของของเหลวในการ

ทดสอบ (หลังจากการปนเหว่ียงแลว) ซึ่งเปนสัดสวนกับระดับไตเตอรของแอนติบอดีที่จําเพาะใน

ซีรัมทดสอบ (มนยา, 2552)

การควบคุมโรคระบาดในแพะ

กรณีมีรายงานการเกิดโรคบรูเซลโลสิสในคน ตองสั่งกักสัตวรวมฝูงที่ตองสงสัยวาเปน

พาหะนําโรคทั้งหมด เก็บตัวอยางซีรัมแพะ แกะที่มีอายุมากกวา 6 เดือน ทุกตัว ทําลายแพะ แกะที่

ใหผลบวกทุกตัว กรณีพบผลบวกใหทดสอบโรคสัตวทั้งฝูงซ้ํา 2 คร้ัง หางกัน 3 เดือน สําหรับสัตว

รวมฝูงที่ใหผลลบและอยูระหวางการกักรอผลการตรวจ หากจําเปนตองเคลื่อนยาย ใหเคลื่อนยายใน

กรณีเขาโรงฆาเทาน้ันโดยอยูในการควบคุมของดานกักกันสัตว

กรณีมีแพะ แกะใหผลบวกตอการทดสอบโรคบรูเซลโลสิสทั้งในโครงการรณรงคหรือเพื่อ

การเคลื่อนยาย ใหสั่งกักสัตวรวมฝูงที่ตองสงสัยวาเปนพาหะนําโรคทั้งหมด ทําลายแพะ แกะทุกตัว

ที่ใหผลบวก โดยมีคาชดเชยในกรณีที่เจาของสัตวไมไดกระทําผิดตอกฎหมายวาดวยโรคระบาด

สัตว พ.ศ. 2499 ดําเนินการทดสอบโรคในสัตวทั้งฝูงซ้ํา 2 คร้ัง หางกัน 3 เดือน สําหรับสัตวรวมฝูงที่

ใหผลลบ และอยูระหวางการกักรอผลการตรวจ หากจําเปนตองเคลื่อนยาย ใหเคลื่อนยายในกรณีเขา

โรงฆาเทานั้นโดยอยูในการควบคุมของดานกักกันสัตว

การเฝาระวังภายในประเทศ มีการเฝาระวังโรคบรูเซลโลสิสทางหองปฏิบัติการ โดยการ

รณรงคทดสอบและกําจัดโรคบรูเซลโลสิสประจําปและการขึ้นทะเบียนสัตวแหงชาติ ดําเนินการติด

เบอรหู ลงประวัติประจําตัวสัตวในฐานขอมูล NID เก็บตัวอยางเลือดแพะ แกะ ที่มีอายุมากกวา

Page 44: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

28

28

6 เดือนขึ้นไปเพื่อตรวจโรคบรูเซลโลสิส กรณีมีผลบวกใหดําเนินการควบคุมโรค กรณีผลการ

ทดสอบเปนลบทั้งหมดใหดําเนินการรับรองสถานภาพฟารมปลอดโรค

การควบคุมการเคลื่อนยาย มีการออกใบอนุญาตตามระเบียบวาดวยการอนุญาต การตรวจ

โรค และการทําลายเชื้อโรค ในการเคลื่อนยายสัตว หรือซากสัตวภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2546 มี

หลักเกณฑที่กําหนดเพิ่มเติม โดยแพะตองมาจากฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิส หรือมีผลการ

ทดสอบใหผลลบมาไมเกินกวา 90 วัน นับจากวันที่เจาะเลือด

การรับรองฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิสในแพะ แกะ มีหลักเกณฑพื้นฐานคือตองเปน

ฟารมที่ผานการรับรองมาตรฐานฟารมของกรมปศุสัตว หรืออนุโลมใหมีองคประกอบดังตอไปนี้

ไดแก มีร้ัวรอบฟารมปองกันสัตวโดยเฉพาะสุนัข มีระบบการทําลายเชื้อโรค และควบคุมคน สัตว

สิ่งของ ยานพาหนะเขา – ออกฟารม มีระบบกําจัดของเสียไมเกิดมลภาวะ มีเคร่ืองหมายประจําตัว

สัตวทุกตัว มีระบบการจัดเก็บขอมูลสัตวเปนรายตัว และตองทดสอบโรคในสัตวที่มีอายุมากกวา

6 เดือน ทุกตัว โดยจะเปน 2 ระดับ ไดแก ระดับ B หมายถึง สัตวทุกตัวใหผลลบในการตรวจคร้ัง

แรก ซึ่งมีอายุการรับรอง 6 เดือน และระดับ A หมายถึง ผานระดับ B มาแลว และตรวจทดสอบโรค

อีกคร้ังใน 6 เดือนตอมา และใหผลลบทุกตัว การนําสัตวใหมเขาฟารมตองมาจากฟารมที่ปลอดโรค

ในระดับเดียวกัน หรือมากกวา หรือสัตวน้ันตองทดสอบโรค และใหผลลบ 2 คร้ัง ในระยะหางกัน

6 สัปดาห (สคบ. กรมปศุสัตว, 2555)

โรคบรูเซลโลสสิในคน

เชื้อกอโรคที่เปนอันตรายในคนไดแก B. melitensis, B. abortus, B. suis, B. canis. B. ceti

และ B. pinnipedialis แตทีก่อโรครุนแรงในคนไดแก B. melitensis และ B. suis การไดรับเชื้อ

ทางตรงไดแก การกิน หายใจ บาดแผล หรือเยื่อบุตา (Cobel, 2006) โรคบรูเซลโลสิสในคนมักทําให

ผูปวยมีไขเฉียบพลัน หรือเปนกึ่งเฉียบพลัน ตอมาจะมีไขเปนชวง ๆ หรือขึ้น ๆ ลง ๆ จากการศึกษา

ผูปวย 480 คน พบวามีอาการวิงเวียนรอยละ 90 เหงือ่ออกมากรอยละ 84.4 ปวดขอรอยละ 81.9 และ

ปวดหลงัรอยละ58.5 (Aygen et al., 2002)

ปจจัยเสี่ยงในคน ผูปวยสวนใหญจะมีประวัติการสัมผัสกับแพะหรือโค บริโภคผลิตภัณฑ

จากสัตวเหลาน้ันโดยที่ไมผานการปรุงสุก หรือบริโภคนมดิบที่ไมผานการพาสเจอไรส มีการชวยทํา

Page 45: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

29

29

คลอดแพะโดยไมสวมถุงมือหรือทําความสะอาดรางกาย มีการสัมผัสสัตวแทง เขาโรงฆาสัตว หรือ

คนในบานเคยปวยเปนโรคบรูเซลโลสิส และพบบอยในผูที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว

และผลิตภัณฑจากสัตว เชน คนงานในโรงฆาสัตว สตัวแพทย และคนงานในฟารมเลี้ยงสัตว

เปนตน (มนยา, 2552; ปณิตา และ ธีระศักด์ิ, 2553; Sofian et al., 2008; Al-Majali and Shorman,

2009; Earhart et al., 2009)

การรักษาในคน กรณีผูปวยไมมีอาการแทรกซอน และเด็กที่มีอายุ 8 ขวบขึ้นไป จะให

Tetracycline ขนาด 500 มิลลิกรัม ทุก 6 ชั่วโมง นาน 6 สัปดาห หรือ doxycyline ขนาด 100

มิลลิกรัม ทุก12 ชั่วโมง นาน 6 สัปดาห รวมกับ aminoglycoside นาน 2-3 สัปดาห หรือ

streptomycin 1 กรัมตอวัน (Cobel, 2006)

การวิเคราะหความเสี่ยงนําเขาสัตวหรือผลิตภัณฑจากสัตว

ความเสี่ยง หมายถึง การรวมผลของโอกาส (likelihood) และผลกระทบ (consequence)

(OIE, 2004a) การวิเคราะหความเสี่ยงการนําเขาสัตวหรือผลิตภัณฑจากสัตว (import risk analysis

for animals and animal products) เปนการประเมินความเสี่ยงโรคสัตวที่มีความสัมพันธกับการ

นําเขาสัตวและผลิตภัณฑสัตวโดยหมายรวมถึงนํ้าเชื้อ ตัวออน ไข (ova) ผลิตภัณฑทางชีวภาพ วัตถุ

ทางพยาธิ และผลิตภัณฑที่ไดจากสัตวเพื่อการบริโภค ซึ่งวิธีการประเมินตองเปนรูปธรรม อธิบาย

ได และโปรงใส องคประกอบของการวิเคราะหความเสี่ยงการนําเขาตามแนวทางของ

Office International des Epizooties (OIE) ประกอบไปดวย 4 สวน ตามภาพที่ 2

ภาพท่ี 2 องคประกอบของการวิเคราะหความเสี่ยง

ท่ีมา: OIE (2012b)

Page 46: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

30

30

1. การระบุอันตราย (Hazard identification)

เปนขั้นตอนแรกที่สําคัญทําหนาที่สําคัญในการคัดกรองเพื่อประเมินใหไดวา ความเสี่ยงใด

ในสัตวหรือผลิตภัณฑจากสัตวของประเทศสงออกที่จะเปนอันตราย

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment)

ตามนิยามของ OIE หมายถึง การประเมินโอกาสและผลกระทบทางชีวภาพ และ

เศรษฐศาสตรของการผานเขา การกอตัว หรือการแพรกระจายของอันตรายในสินคาจากประเทศ

ผูสงออกเขาสูเขตแดนของประเทศผูนําเขาสินคา ประกอบดวย 4 ขั้นตอน ไดแก

2.1 การประเมินการขับ (release assessment) เปนการประเมินโอกาสที่จะพบอันตรายใน

สินคาในประเทศผูสงออกตามวิถีการขับ จากนั้นสินคาจะถูกสงออกผานพรมแดนระหวางประเทศ

เขาสูประเทศนําเขา

2.2 การประเมินการสัมผัส (exposure assessment) เปนการประเมินโอกาสที่สัตวใน

ประเทศนําเขารับสัมผัสกับอันตรายที่มากับสินคาจากประเทศสงออกตามวิถีการสัมผัส

2.3 การประเมินผลกระทบ (consequence assessment) เมื่ออันตรายเขาสูประเทศนําเขา

ตองประเมินโอกาสของการกอตัว การแพรโรค และผลกระทบทางชีวภาพและเศรษฐศาสตร

2.4 การประมาณความเสี่ยง (risk estimation) เปนการบรูณาการ 3 ขั้นตอนตอเน่ือง

กอนหนาน้ีเขาดวยกัน

3. การจัดการความเสี่ยง (Risk management)

เมื่อระบุอันตรายและประเมินความเสี่ยงแลว ทําใหทราบคาประมาณความเสี่ยง จึงสามารถ

เปรียบเทียบกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได (appropriate level of protection: ALOP) ถาหากวา

คาประมาณความเสี่ยงมีมากกวาระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได ควรจะตองมีการประเมินเลือก

มาตรการควบคุมและนํามาตรการไปปฏิบัติ เพื่อลดระดับความเสี่ยงใหอยูในระดับยอมรับได

Page 47: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

31

31

4. การสื่อสารความเสี่ยง (risk communication)

เปนการติดตอระหวางผูประเมินความเสี่ยง ผูจัดการความเสี่ยง ผูบริโภค ผูมีสวนได

สวนเสีย เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับอันตรายจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้น รวมถึงเสนอแนะมาตรการ

ปองกันและควบคุมโรค (ศุภชัย, 2552; Murray, 2002; OIE, 2004a)

การประเมินความเสี่ยงการนําเขา

การประเมินความเสี่ยงการนําเขามีทั้งการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ และการประเมิน

ความเสี่ยงเชิงปริมาณ ซึ่งการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพจะเหมาะสมในกรณีที่ขอมูลที่ใช

ประเมินมีจํากัด โดยผลการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพจะเปนลักษณะเชิงพรรณา การจัดกลุม

หรือจัดลําดับ ตัวอยางเชนการศึกษาประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพของการนําเขาเชื้อไวรัส

โรคปากและเทาเปอยเขาสูรัสเซียและยุโรปจากประเทศจอรเจีย อารเมเนียและอาเซอรไบจัน อยูใน

ระดับตํ่า (Moutou et al., 2001) เมื่อผลที่ไดจากการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพทําใหผูประเมิน

ความเสี่ยงตระหนักถึงความสําคัญและความคุมคาในการประเมินอันตรายแลวก็สามารถดําเนินการ

ประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณตอไปซึ่งจะนําเสนอขอมูลเปนเชิงตัวเลขและสามารถวิเคราะหในทาง

คณิตศาสตรไดอยางถูกตองแมนยํากวา (ศุภชัย, 2552) ตัวอยางการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ

เชน การประเมินความเสี่ยงของการนําโคที่ติดเชื้อบรูเซลโลสิส เขาสูสหราชอาณาจักร ผลการศึกษา

พบวาจะมีโอกาสการนําโคเปนโรคบรูเซลโลสิสจากไอรแลนดเหนือและสาธารณรัฐไอรแลนดเขา

สูสหราชอาณาจักร ทุก ๆ 2.63 และ 3.23 ป ตามลําดับ (Jones et al., 2004)

ขอมูลที่ใชในการประเมินควรอยูบนพื้นฐานของขอมูลที่ดีและนาเชื่อถือที่สุดและมีความ

สอดคลองกับแนวคิดทางวิทยาศาสตรที่เปนปจจุบันหรือทันสมัย การประเมินควรจะมีการบันทึก

เปนลายลักษณอักษรและมีขอมูลหรือแหลงอางอิงสนับสนุน เชน การทบทวนวรรณกรรมทาง

วิทยาศาสตร หรือมีความเห็นผูเชี่ยวชาญ (ศุภชัย, 2552; Murray, 2002; OIE, 2004a, 2004b) ซึ่งจะ

นํามาใชเมื่อไมมีขอมูลจากการทดลองหรือสังเกตอยูในขณะน้ัน หรือเปนขอมูลที่ไมสามารถ

รวบรวมได หรือเปนขอมูลคุณภาพตํ่า (Ouchi, 2004; Boone et al., 2009) การใชขอมูลจาก

ผูเชี่ยวชาญมักถูกใชเสมอในการศึกษาทางระบาดวิทยาและโรคสัตว (Garabed et al., 2009)

ตัวอยางเชนการใชความเห็นของผูเชี่ยวชาญในการประเมินปจจัยเสี่ยงการนําเชื้อซัลโมเนลลาและ

การควบคุมฟารมสุกรโดยใชผูเชี่ยวชาญ 36 คน จาก 11 ประเทศใหขอมูลโดยการเขียนคําตอบลงใน

Page 48: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

32

32

แบบสอบถามระหวางการประชุมระดับนานาชาติ โดยมีทั้งสวนที่ใหขอมูลตรงกัน เชน ปจจัยเสี่ยง

การนําเขาเชื้อซัลโมเนลลาขึ้นอยูกับสัตวมีชีวิต การใหความสําคัญกับการสุขาภิบาล และการจัดการ

ควบคุมโรคซัลโมแนลลาโดยใชระบบ all-in/all-out และมีสวนของขอมูลที่ตางกัน เชน ผูเชี่ยวชาญ

จากเดนมารกไดใหนํ้าหนักปจจัยดานอาหารเปนปจจัยในการนําเขาเชื้อซัลโมเนลลามากกวาปจจัย

อ่ืน ๆ ในขณะที่ผูเชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกาใหนํ้าหนักดานสัตวฟนแทะและคน (Stark et al.,

2002)

แบบจําลองหรือโมเดล (model) เปนตัวแทนของโลกความเปนจริงแบบงาย แบบจําลอง

สวนใหญมักใชสัญลักษณ แบบจําลองสามารถเปนตัวแทนของแบบแผนของการนําเขาสิ่งตาง ๆ ใน

รูปของกราฟกหรือสัญลักษณทางคณิตศาสตร (OIE, 2004b; Lehman et al., 2012) ลักษณะขอมูลที่

นํามาใชและผลการวิเคราะหในการประเมินความเสี่ยงอาจพิจารณาไดเปน 2 รูปแบบ คือ แบบ

deterministic หรือขอมูลแบบจุด (point estimate) และ รูปแบบความนาจะเปน (probabilistic หรือ

stochastic) ซึ่งขอมูลแบบจุดจะเปนขอมูลที่ใชเปนคา ๆ เดียว โดยจะไดผลลัพธของการประเมิน

ความเสี่ยงเปนคา ๆ เดียวเชนกัน สําหรับรูปแบบความนาจะเปนนั้นเกิดจากขอจํากัดของการเก็บ

ขอมูลที่ประกอบไปดวย ความหลากหลาย (variability) หรือความเปนจริงตามธรรมชาติที่ตอง

แตกตางกัน และความไมรู (uncertainty) หรือการขาดขอมูล การลดความหลากหลายและความไมรู

จะทําใหคาประมาณความเสี่ยงมีความถูกตองยิ่งขึ้น การใชขอมูลมักกําหนดคาในรูปแบบชวง ใน

ขณะเดียวกันก็มีการกํากับโอกาส (likelihood หรือ probability)ในการเกิดคาตาง ๆ ในชวงน้ัน

เนื่องจากแตละคาในชวงมีโอกาสการเกิดไมเทากันเรียกวาการแจกแจงความนาจะเปน หรือ

probability distribution ตัวอยางเชน ความนาจะเปนแบบ triangular distribution และ pert

distribution ซึ่งมีการกําหนดคา 3 คา ไดแก คาตํ่าสุด คาสูงสุด และคาที่เปนไปไดมากที่สุด (ศุภชัย,

2552; OIE, 2004b; Vose, 2008; Lehman et al., 2012)

การสุมคาจากชวงของคาโดยที่แตละคามีโอกาสความนาจะเปนตาง ๆ มักจะใชทั้งวิธีการ

สุมแบบ Monte Carlo หรือวิธีการสุมแบบ Latin hypercube วิธีการสุมแบบ Monte Carlo เปนการ

สุมที่แตละคร้ังของการสุมจะเปนอิสระตอกันบนกรอบของกลุมตัวอยาง (sampling frame) ซึ่งเปน

การสุมโดยมีการทดแทนคาที่ถูกสุมไปแลวเขาไปทุกคร้ังของการสุม ดังนั้นจึงมีความเปนไปไดที่คา

เดิมคาหนึ่งจะถูกสุมออกมามากกวา 1 คร้ัง สําหรับวิธีการสุมแบบ Latin hypercube เปนการสุมที่

ชวงของการสุมทั้งหมดจะถูกแบงเปนชวงโดยที่จํานวนชวงของการแบงเทากับจํานวนคร้ังที่จะทํา

การสุมทั้งหมด แตละชวงจะถูกสุมเพียง 1 คร้ัง ดังน้ันการสุมแบบ Latin hypercube จึงเปนการสุม

Page 49: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

33

33

แบบไมทดแทนคาที่ถูกสุมออกและกลุมของคาที่สุมออกมาไดจากการสุมแตละคร้ังจะเปนสัดสวน

กับการกระจายตัวของความนาจะเปน (OIE, 2004b) การสุมคาที่เปนไปได 1 คร้ัง เพื่อคํานวณจะได

ผลลัพธ 1 คา และเพื่อใหผลการวิเคราะหมีความถูกตองมากยิ่งขึ้น จะทําการสุมคาที่เปนไปได

ซ้ํา ๆ (iteration) แลวทําการคํานวณตามแบบจําลอง ในทางปฏิบัติการสุมและคํานวณซ้ํามีความ

ยุงยากจึงตองมีการใชคอมพิวเตอรรวมกับโปรแกรมมาชวยคํานวณ (ศุภชัย , 2552; OIE, 2004b;

Vose, 2008; Lehman et al., 2012)

Page 50: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

34

34

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพฯ มีพื้นที่ 1,568.7 ตารางกิโลเมตร เปนจังหวัดที่ใหญเปนอันดับที่ 68 ของไทย มี

แมนํ้าเจาพระยาซึ่ง ทอดตัวยาว 372 กโิลเมตร พาดผานจังหวัด ทําใหกรุงเทพฯ และจังหวัดใกลเคยีง

เปนสวนหนึ่งของที่ราบลุมภาคกลาง ตอนลางของประเทศไทย ซึ่งเปนพื้นที่อุดมสมบูรณเหมาะแก

การเพาะปลูก พื้นที่สวนมากในกรุงเทพฯ เปนที่ราบลุม ต้ังอยูบนพื้นที่บริเวณดินดอนสามเหลี่ยม

ปากแมนํ้า ซึ่งเกิดจากตะกอนนํ้าพา มีระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ประมาณ

1.50 - 2 เมตร โดยมีความลาดเอียงจากทิศเหนือสูอาวไทยทางทิศใต และเฉพาะลุมแมนํ้าเจาพระยา

ตอนลางจะอยูสูงกวาระดับนํ้าทะเลไมเกิน 1.50 เมตร ทําใหเกิดปญหาน้ําทวมบอยคร้ังในชวงฤดู

มรสมุ

อาณาเขตติดตอ

กรุงเทพฯ มีอาณาเขตทางบกติดตอกับจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบรีุ

จังหวัดปทุมธานี จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดสมุทรปราการ สวนอาณาเขตทางทะเลอาวไทย

ตอนใน ติดตอจังหวัดเพชรบรีุ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดชลบุรี โดยมี

รายละเอียดดังน้ี

ทศิเหนือ มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี

ทศิตะวันออก มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดฉะเชิงเทรา

ทิศใต มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดสมุทรปราการ และอาวไทย (สวนที่เปนอาวไทยที่เปน

พื้นที่เดิมของจังหวัดธนบุรี ปจจุบันคือเขตบางขุนเทียน ซึ่งมีอาณาเขตทางทะเลติดตอทางอาวไทย

กับจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดชลบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ จุดที่อยูใตสุดอยูที่

ละติจดู 13 องศา 13 ลิปดา 00 ฟลปิดาเหนือ, ลองจิจดู 100 องศา 27 ลิปดา 30 ฟลิปดาตะวันออก ซึ่ง

เปนการแบงตามพระราชบัญญัติกําหนดเขตจังหวัดในอาวไทยตอนใน พ.ศ. 2502)

ทศิตะวันตก มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดนครปฐม (วิกิพีเดีย, 2556)

Page 51: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

35

35

ขอมูลการเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ และประวัติการพบโรคบรูเซลโลสิส

ในป 2554 กรุงเทพฯ เปนพื้นที่ที่มีการเลี้ยงแพะนมมากที่สุดในภาคกลางโดยมีประชากร

แพะนมรวม 2,870 ตัว จากเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมทั้งหมด 110 ราย (ศูนยสารสนเทศ กรมปศุสัตว,

2554) และในพ.ศ. 2549 ปญญา และ สัตยาไดทําการเฝาระวังโรคทางซีรัมของโรคบรูเซลโลสิสใน

แพะนมในกรุงเทพฯ ดังแสดงในตารางที่ 10

ตารางท่ี 10 จํานวนประชากรแพะนม และเกษตรกรในกรุงเทพฯ ปงบประมาณ 2554 และผลการ

เฝาระวังโรคทางซีรัมของโรคบรุเซลโลสิสในแพะนม ป 2549

พ้ืนที่

ประชากร การเฝาระวังโรค

จํานวนแพะนม

(ตัว)

จาํนวนเกษตรกร

(ราย)

จํานวนตัวอยาง

(ตัว)

จํานวนใหผลบวก

(ตัว)

รอยละ

ผลบวก

หนองจอก 839 43 554 23 0.72

บางกะป 33 2 - - -

มีนบุร ี 344 14 174 0 0

หวยขวาง 5 1 - - -

บางคอแหลม 11 1 - - -

ประเวศ 288 15 422 0 0

สวนหลวง 42 3 161 0 0

สะพานสูง 185 13 - - -

คลองสามวา 193 4 363 0 0

ทุงคร ุ

930 14 694 5 0.72

รวม 2,870 110 2,368 28 1.18

ที่มา: ศูนยสารสนเทศ กรมปศุสัตว (2554), ปญญา และ สัตยา (2549)

Page 52: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

36

36

อุปกรณและวิธีการ

อุปกรณ

1. รายชื่อ ที่อยู เบอรโทรศัพทเกษตรกรฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

2. แบบสอบถามเพื่อทําการเก็บขอมูลการประเมินความเสี่ยง

3. เคร่ืองคอมพิวเตอรที่มี Microsoft office และโปรแกรม @ModelRisk

วิธีการ

1. กําหนดคําถามความเสี่ยง (risk question)

เชิงคุณภาพ: โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ (ระดับการนําเขา หรือ release) และ โอกาสแพะนมในโรงเรือนติดเชือ้ Brucella spp. และ

ผลกระทบ (ระดับการรับสัมผัสและผลกระทบ หรือ exposure and consequence)โดยประเมินตาม

ปจจัยเสี่ยงที่มีโอกาสนําพาเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน 10 ปจจัย ไดแก การนําเขาแพะนม

ทดแทน พอพันธุที่ยืมเพื่อการผสม นํ้าเชื้อที่ใชในการผสมเทียม อุปกรณที่ใชเกี่ยวกับสัตว คนเขา

โรงเรือน อาหารหยาบตามธรรมชาติ นํ้า สัตวนําโรคชนิดอ่ืน แพะนมในฟารมกรุงเทพฯ ที่เลี้ยง

ปลอยและยานพาหนะ

เชิงปริมาณ: โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ ใน 1 ป โดยประเมินตามปจจัยจากผลการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพที่มีระดับความ

เสี่ยงสูงกวาระดับ “แทบจะไมพบ”

นิยามศัพท โรงเรือนหมายถึงโรงเรือน คอก หรือพื้นที่ในฟารมที่มีการเลี้ยงแพะนมตาม

วงจรการผลิต ทั้งน้ีไมรวมโรงเรือน คอก หรือพื้นที่ในฟารมที่ใชกักกันสัตวตัวใหมกอนนําเขาเลี้ยง

Page 53: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

37

37

2. ทบทวนวรรณกรรมทางวิชาการ

รวบรวมขาวสาร มาตรการ หรือระเบียบ กฎหมาย บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ

โรคบรูเซลโลสสิเพื่อใชในการออกแบบรูปแบบ (model) ในการประเมินความเสี่ยงทั้งงานวิจัยทาง

วิชาการในประเทศและตางประเทศ

รูปแบบ (model) ที่ไดจะเปนเหตุการณที่เกี่ยวของกับปจจัยเสี่ยงทั้ง 10 ปจจัย ดังกลาว

ขางตนตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ดังแสดงใน

ภาพที่ 3 และ 4

Page 54: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

38

38

ภาพท่ี 3 วิถีทางกายภาพ (physical pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทน พอพันธุที่ยืมเพื่อการผสม นํ้าเชื้อ

ที่ใชในการผสมเทียม อุปกรณที่ใชเกี่ยวกับสัตว คนที่เขาโรงเรือน อาหารหยาบตาม

ธรรมชาติ นํ้า สัตวนําโรคชนิดอ่ืน แพะนมในฟารมกรุงเทพฯ ที่เลี้ยงปลอย และ

ยานพาหนะ

ยานพาหนะ

การจดัการ

คน การจดัการ

น้ํา

การจดัการ

น้ําเช้ือ

การจดัการ

อุปกรณ

การจดัการ

อาหาร

หยาบตาม

ธรรมชาติ

การจดัการ โรงเรือน

แพะนม

แพะนมทดแทน

การจดัการ

ทุงหญาสาธารณะ

สัตวนําโรคชนิดอ่ืน

แพะนมในฟารม(เล้ียงปลอย)

สัมผัส

การจดัการ

พอพันธุที่ยืมเพ่ือการผสม

การจดัการ

Page 55: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

39

39

ภาพท่ี 4 วิถีทางกายภาพ (physical pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทน และพอพันธุที่ยืมเพื่อการผสม

(ภายในจงัห

วัด)

โรงเรือนในฟารม

แพะนม กรงุเทพฯ

กรงุเทพฯ

นอกกรงุเทพฯ

กักสัตวกอนเขาเล้ียง

คัดกรองโรคซํ้า

(ภายในจงัห

วัด)

ผานดานกักกันสัตว ดาน

คดัเลือกแพะนมทดแทน/พอพันธุเพ่ือยืมผสม

ตรวจคัดกรองโรค

ขออนญุาตเคล่ือนยาย

(ขามจังหวัด)

Page 56: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

40

40

3. เก็บขอมูลเพื่อการประเมินความเสี่ยง

3.1 ขอมูลปฐมภูมิ เปนขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณและตอบแบบสอบถามโดยทําการ

สัมภาษณขอมูลยอนหลังในชวง 1 ปที่ผานมา (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554) ผูไดรับการ

สัมภาษณและตอบแบบสอบถามจะเปนบุคคลที่ปฏิบัติงานหรือมีสวนเกี่ยวของกับตัวสัตวหรือโรค

บรูเซลโลสสิโดยตรง โดยแบงไดแปนทัง้หมด 4 กลุม ไดแก เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ

เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส และเจาหนาที่

กรมปศุสัตวดานสุขภาพสัตว โดยมีการกําหนดคุณสมบัติของคนแตละกลุม ดังแสดงในตารางที่ 11

Page 57: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

41

41

ตารางท่ี 11 คุณสมบัติของผูไดรับการสัมภาษณและตอบแบบสอบถามเพื่อการประเมินความเสี่ยง

การนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

กลุมผูใหขอมูล คุณสมบัติ

เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ เปนเกษตรกรผูเปนเจาของฟารมแพะนมที่

ต้ังอยูในพื้นที่กรุงเทพฯ เปนระยะเวลามากกวา

1 ป

เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ เปนเจาหนาที่กรมปศุสัตวที่ปฏิบัติงานในพื้นที่

กรุงเทพฯ ที่มีประสบการณการทํางานดาน

สุขภาพสัตว และฟารมแพะมากกวา 5 ป

ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส เปนผูที่มีประสบการณการทํางานเกี่ยวกับ

โรคบรูเซลโลสิสมากกวา 5 ป และมีผลงาน

วิชาการเกี่ยวกับโรคบรูเซลโลสิสตีพิมพใน

วารสารวิชาการ จํานวน 3 เร่ืองขึ้นไป

เจาหนาที่กรมปศุสัตวดานสุขภาพสัตว เปนเจาหนาที่กรมปศุสัตวที่มีประสบการณการ

ทํางานดานสุขภาพสัตว และฟารมแพะ

มากกวา 5 ป

Page 58: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

42

42

3.1.1 ออกแบบสอบถามและทดสอบแบบสอบถาม โดยออกแบบสอบถามแยกตาม

ประเภทกลุมผูไดรับการสัมภาษณและตอบแบบสอบถาม และทดสอบแบบสอบถามจํานวน 2 คร้ัง

3.1.2 ดําเนินการเก็บขอมูลตามแบบสอบถาม

1) เกษตรกรแพะนมในกรุงเทพฯ

ก) คํานวณขนาดตัวอยางโดยใชวิธีของ Taro Yamane (Yamane, 1967) โดย

ใชสูตร

𝑛𝑛 = N

1 + Ne2

โดย n = ขนาดตัวอยางที่คํานวณได

N = จํานวนประชากร

e = ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได เปนรอยละ 5

จํานวนเกษตรกรฟารมแพะนมในกรุงเทพฯทัง้หมด 110 ราย (ศนูย

สารสนเทศ กรมปศุสัตว, 2554) จะไดขนาดตัวอยาง เปน 87 ราย และทําการสุมตัวอยางในระดับเขต

(อําเภอ) โดยเทียบสัดสวนตามจํานวนเกษตรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ จะไดขนาดตัวอยางตามเขต

(อําเภอ) ดังแสดงในตารางที่ 12

Page 59: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

43

43

ตารางท่ี 12 ขนาดตัวอยางของกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ แยกตามเขต

พื้นที่ จํานวนเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนม

(ราย)

ขนาดตัวอยาง

(ราย)

หนองจอก 43 34

บางกะป 2 2

มีนบุรี 14 11

หวยขวาง 1 1

บางคอแหลม 1 1

ประเวศ 15 12

สวนหลวง 3 2

สะพานสูง 13 10

คลองสามวา 4 3

ทุงครุ 14 11

รวม

110

87

ข) ทําการสุมตัวอยางเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในแตละเขตโดยใชวิธีสุม

ตัวอยางแบบงาย (simple random sampling) โดยการจับฉลากจากรายชื่อเกษตรกร

2) เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโล

สิส และเจาหนาที่กรมปศุสัตวดานสุขภาพสัตว ไมไดมีการกําหนดจํานวนและขนาดของกลุม

ตัวอยาง โดยจะใชวิธีการสุมแบบลูกโซ (snowball sampling) ซึ่งใหบุคคลในแตละกลุมแนะนําคนที่

มีคุณสมบัติหรือเงื่อนไขตามขอกําหนด (ตารางที่ 11) โดยจะใชจํานวนตัวอยางใหครอบคลุมกับ

งานวิจัยมากที่สุด

3.2 ขอมูลทุติยภูมิ เปนขอมูลที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรม สถิตขอมูลจํานวนแพะนม

ฟารมแพะนม ขอมูลการเคลื่อนยายแพะและจํานวนแพะนําเขา แหลงที่มาของแพะทดแทนและพอ

พันธุที่ใชยืมผสม ความชุกของการติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะนมทดแทน พอพนัธุแพะนมทีใ่ชยมื

ผสม แพะนมในฟารมในกรุงเทพฯที่เลี้ยงปลอย และสัตวนําโรคชนิดอ่ืนในพื้นที่ใกลเคียง และการ

Page 60: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

44

44

ปนเปอนของเชือ้ Brucella spp. ในนํ้าเชื้อที่ใชในการผสมเทียม อุปกรณที่ใชเกี่ยวกับสัตว คนที่เขา

โรงเรือน อาหารหยาบตามธรรมชาติ น้ํา และยานพาหนะ รวมถึงรูปแบบการเลี้ยงแพะนม ความ

คงทนของเชื้อ Brucella spp. ในสิ่งแวดลอม พยาธิกําเนิดของโรคบรูเซลโลสิส การแพรเชื้อและการ

ติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะ

5. วิเคราะหและประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ

วิเคราะหตามหลักการประเมินความเสี่ยงของ OIE (OIE, 2004a) จะประเมินในระดับความ

เสี่ยงในการนําเขา จนถึงระดับความเสี่ยงในการรับสัมผัสและผลกระทบ โดยใชขอมูลจากหลักฐาน

ทางวิชาการ รวมกับขอมูลจากการสัมภาษณและตอบแบบสอบถาม โดยจะประเมินใหระดับความ

เปนไปไดในแตละเหตุการณ ซึ่งแบงเปน 4 ระดับเทากัน พรอมทั้งกําหนดความหมายในแตละ

ระดับ ดังแสดงในตารางที่ 13 โดยหากพบวาผลการประเมินความเสี่ยงในระดับการนําเขา เปน

ระดับ “แทบจะไมพบ” จะไมทําการประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

ตารางท่ี 13 ความหมายของความเปนไปไดเพื่อใชในการประเมินความเสี่ยง

ความเปนไปได ความหมาย

แทบจะไมพบ (negligible) มีความเปนไปไดที่จะเกิดเหตุการณที่ระดับตํ่ามากจนเกือบไมพบ

เหตุการณน้ัน หรือเกอืบเปน 0

ตํ่า (low) มีความเปนไปไดที่จะเกิดเหตุการณที่ระดับตํ่า

กลาง (moderate) มีความเปนไปไดที่จะเกิดเหตุการณที่ระดับกลางซึ่งพบไดเสมอ

สูง (high) มีความเปนไปไดที่จะเกิดเหตุการณที่ระดับสูง

ท่ีมา: Wieland et al. (2011)

เมื่อไดระดับของความเปนไปไดของแตละเหตุการณแลว ตองรวมความไมแนนอน

(uncertainty) เพือ่แสดงนํ้าหนักในคาํตอบน้ันๆ โดยแบงออกเปน 3 ระดับ ดังแสดงในตารางที่ 14

Page 61: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

45

45

ตารางท่ี 14 นิยามของความไมแนนอนของความเสี่ยง (uncertainty)

ความไมแนนอน ความหมาย

ตํ่า (low) มีหลักฐานขอมูลทางวิชาการชัดเจน และสมบูรณ โดยมาจากแหลงขอมูล

หรือการอางอิงที่เชื่อถือไดถูกนําไปอางอิงหลายคร้ัง และใหขอสรุปที่มาก

พอและเปนไปในทางเดียวกนั

กลาง (medium) มีหลักฐานขอมูลทางวิชาการอยูบาง โดยมาจากแหลงขอมูลหรืออางอิงที่

ไมมากนัก ถูกนําไปใชอางอิงและใหขอสรุปที่แตกตางออกไปบาง

สูง (high) ไมมีขอมูลหลักฐานทางวิชาการ หรือเปนเพียงขอมูลจากการแสดงความ

คิดเห็น ซึ่งยังไมไดรับการพิสูจน

ท่ีมา: Wieland et al. (2011)

ทําการคาดคะเนความเสี่ยง ( estimate of Risk) โดยใชตารางความเสี่ยง (risk matrix) ดัง

แสดงในตารางที่ 15

ตารางท่ี 15 ตารางความเสี่ยง (risk matrix)

เหตุการณ 1 เหตุการณ 2

แทบไมพบ ตํ่า ปานกลาง สูง

แทบจะไมพบ แทบจะไมพบ แทบจะไมพบ แทบจะไมพบ แทบจะไมพบ

ตํ่า แทบจะไมพบ ตํ่า ตํ่า ตํ่า

ปานกลาง ตํ่า ตํ่า ปานกลาง ปานกลาง

สูง ตํ่า ปานกลาง ปานกลาง สูง

ท่ีมา: Wieland et al. (2011)

Page 62: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

46

46

6. วิเคราะหและประเมินความเสี่ยงเชงิปริมาณ

ดําเนินการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณในปจจัยที่ไดทําการประเมินความเสี่ยงเชิง

คุณภาพที่มีความเปนไปไดตอโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ สูงกวาระดับ “แทบจะไมพบ” โดยทําการวิเคราะหขอมูลโดยคํานวณโอกาสความนาจะ

เปนในการเกิดเหตุการณตามวิถีทางชีวภาพของแตละปจจัยที่สัมพันธกับการเพิ่มหรือลดโอกาสใน

การนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ตามแบบ Stochastic โดยใช

การแจกแจงความนาจะเปน (probability distribution) ที่เหมาะสม และใชโปรแกรม Model Risk

version 4.3.2.3 (Vosesoftware, 2011) ชวยในการสุมตัวอยาง และคํานวณ (iteration) 10,000 รอบ

การคาดคะเนความเสี่ยงเชิงปริมาณโดยคํานวณโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานปจจัยเสี่ยงในแตละหนวยที่เขาโรงเรือน โดยใชสูตร

ดังน้ี

p = 𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃

𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃𝑃+𝑁𝑁𝑁𝑁𝑁𝑁 (OIE, 2004b)

เมือ่ p คอื โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานปจจัยเสี่ยงในแตละหนวยที่เขาโรงเรือน

Pos คอื โอกาสของปจจัยที่ยอมรับใหนําเขาโรงเรือนและมีผลเปนบวก

Neg คอื โอกาสของปจจัยที่ยอมรับใหนําเขาโรงเรือนและมีผลเปนลบ

Page 63: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

47

47

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผาน

ปจจัยเสี่ยงอยางนอย 1 หนวย ใน 1 ป คํานวนตามสูตรดังน้ี

P(x≥1) = 1 – (1-p)I (OIE, 2004b)

เมื่อ (P(x≥1)) คอื โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานปจจัยเสี่ยงอยางนอย 1 หนวย ใน 1 ป

p คือ โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานปจจัยเสี่ยงในแตละหนวยที่เขาโรงเรือน ใน 1 ป

x คือ จํานวนปจจัยเสี่ยงนําเขาที่ติดเชื้อหรือมีการปนเปอน Brucella spp.

I คือ จํานวนปจจัยเสี่ยงที่เขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ใน 1 ป

การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณโดยรวม (Poverall)

Poverall = 1 – [(1-Pa) x (1-Pb) x (1-Pc) x … (1-Px)] (ศุภชัย, 2552)

เมื่อ (Poverall) คือ โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. สูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานทุกปจจัยเสี่ยงในแตละหนวย

Px คือ โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. สูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานปจจัย x อยางนอย 1 หนวย ใน 1 ป

Page 64: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

48

48

7. การนําเสนอผลการประเมินความเสี่ยง

นําเสนอเปนรูปแบบการแจกแจงความนาจะเปน (probability distribution) คาเฉลี่ย (mean)

คากลาง (median) คาสูงสุด (maximum) คาตํ่าสุด (minimum) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard

deviation) โดยเปรียบเทียบเหตุการณที่จําลองตามสถานการณตาง ๆ กับเหตุการณปจจุบัน

8. การทํา Sensitivity analysis

วิเคราะหปจจัยที่มีอิทธิพลตอโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ ทั้งในทางบวกและลบ โดยใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (correlation

coefficient)

Page 65: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

49

49

ผลและวิจารณ

ผล

จํานวนผูใหขอมูลจากการสัมภาษณและตอบแบบสอบถามเพื่อการประเมินความเสี่ยง

จากการสัมภาษณผูใหขอมูลทั้ง 4 กลุม ไดแก เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ

เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส และเจาหนาที่กรม

ปศุสัตวดานสุขภาพสัตว โดยการเขาสัมภาษณในพื้นที่จริง รวมกับการตอบแบบสอบถาม ในกรณีที่

ไมสามารถเขาพื้นที่จริงเพื่อเก็บขอมูลหรือตองการขอมูลเพิ่มเติมจะใชวิธีสัมภาษณทางโทรศัพท

โดยไดจํานวนผูใหขอมูล ดังแสดงในตารางที่ 16

ตารางท่ี 16 จํานวนผูใหขอมูลจากการสัมภาษณและตอบแบบสอบถามเพื่อการประเมินความเสี่ยง

ประเภทกลุมผูใหขอมูล จํานวน

(ราย)

เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ 74

เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ 5

ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส 5

เจาหนาที่กรมปศุสัตวดานสุขภาพสัตว

รวม

5

89

การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ

ผลการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ไดประเมินผลจากการสัมภาษณและการตอบแบบสอบถามจากผูให

ขอมูลตามตารางที่ 16 โดยจะประเมินแยกตามแตละปจจัยเสี่ยงที่มีโอกาสนําพาเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือน การประเมินระดับความเปนไปไดและใหคาความไมแนนอนในแตละตําตอบจะ

ประเมินตามตารางที่ 13 และ 14 ตามลําดับ

Page 66: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

50

50

1. การนําเขาแพะนมทดแทน

ในป 2554 เกษตรกรฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ สวนใหญนาํเขาแพะนมจากพืน้ทีใ่นเขต

เดียวกัน หรือเขตใกลเคียงกันภายในจังหวัดกรุงเทพ ไดแก เขตมีนบุรี หนองจอก ทุงครุ

คลองสามวา สะพานสูง ในบางฟารมมักจะนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด ไดแก

จังหวัดนนทบุรี ลพบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา กาญจนบุรี และ

ประจวบคีรีขันธ บางฟารมจะนําเขาแพะจากหลายแหลงทั้งในจังหวัดและตางจังหวัดซึ่งสวนใหญ

จะเปนฟารมที่รูจัก หรือเคยซื้อขายแพะกันอยูเปนประจํา สําหรับฟารมขนาดใหญมักจะผลิตแพะ

ทดแทนเองภายในฟารม ดังแสดงในตารางที่ 17

ตารางท่ี 17 แหลงที่มาของแพะทดแทนในป 2554 ของเกษตรกรฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

(จํานวนฟารมที่ศึกษา 74 ฟารม)

แหลงที่มา จํานวนฟารม (ฟารม) รอยละ

ไมมีการนําเขาแพะนมทดแทน

จากฟารมในกรุงเทพฯ เทานั้น

จากฟารมตางจังหวัดเทานั้น

จากฟารมในกรุงเทพฯและตางจังหวัด

รวม

30

20

6

18

74

40.54

27.03

8.11

24.32

100

ดังนั้นการประเมินความเสี่ยงตามปจจัยการนําเขาแพะนมทดแทน จะแบงเปน 2 กรณี

ไดแก กรณีที่นําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด และกรณีที่นําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมภายในกรุงเทพฯ เนื่องจากมีมาตรการและระเบียบการเคลื่อนยายสัตวที่ตางกัน

Page 67: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

51

51

1.1 กรณีที่นําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด หมายถึงการนําเขาแพะนม

ทดแทนจากฟารมในจังหวัดอ่ืน ๆ ที่ไมใชกรุงเทพฯ

ก. ความเสี่ยงในการนําเขา

การประเมินความเสี่ยงการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนม

ในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะนมทดแทน จะประเมินตามเหตุการณที่เกิดขึ้นในวิถีทาง

ชีวภาพ ดังแสดงในภาพที่ 5 และผลการประเมินเปนไปตามตารางที่ 19 และ 20 โดยกาํหนดวา

การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนจากฟารมตนทางไปยังโรงเรือนแพะนมในฟารมกรุงเทพฯ ไมมีการ

สัมผัสหรือติดเชื้อ Brucella spp. ระหวางเดินทาง

Page 68: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

52

โรงเรือนแพ

ะนม

ภาพท่ี 5 วิถีทางชีวภาพ (Biological pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะนม

ทดแทนที่มาจากฟารมตางจังหวัด

ฟารมตนทาง ฟารมกรุงเทพฯ

5+

6 -

X

ลบลวง1 (P3)

1+

2+

3 -

4 - ติดเช้ือ (P2)

ไมติดเช้ือ (1-P2)

ความไวของระบบ

ทดสอบโรค (Se1)

การติดเชื้อ

ติดเช้ือ (P2)

ไมติดเช้ือ (1-P2)

ความไวของระบบ

คัดกรองโรค (Se2)

X ตรวจคัด

กรอง

ครั้งที่ 2

บวกจริง2 (1-P6)

ลบลวง2 (P6)

ทํา (P5)

กักและ

คัดกรอง

ครั้งที่ 2

ไมทํา (1-P5)

X

ลบจริง2 (P7)

ตรวจคัด

กรอง

ครั้งที่ 2

บวกลวง2 (1-P7)

กักและ

คัดกรอง

ครั้งที่ 2

ทํา (P5)

ไมทํา (1-P5)

การติดเชื้อ

คดัเลอืกแพะ

นมทดแทน

ลักลอบ (1-P1)

ตามระเบียบ (P1)

X ตรวจคัด

กรอง

ครั้งที่ 1

บวกจริง1 (1-P3)

ความจาํเพาะของระบบ

คัดกรองโรค (Sp)

ตรวจคัด

กรอง

ครั้งที่ 1

บวกลวง1 (1-P4)

ลบจริง1 (P4)

Page 69: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

53

53

ตารางท่ี 18 นิยามที่ใชในวิถีทางชีวภาพของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

คําศัพท/เคร่ืองหมาย

(สัญลักษณ)

นิยาม

ฟารมตนทาง ฟารมตนทางของแพะนมทดแทนที่นําเขา โดยเปน

ฟารมที่มาจากจังหวัดอ่ืน ๆ ที่ไมใชกรุงเทพฯ

ฟารมกรุงเทพฯ ฟารมแพะนมที่ต้ังอยูในกรุงเทพฯ (ฟารมปลายทาง)

โรงเรือนแพะนม โรงเรือน คอก หรือพื้นที่ในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ ที่มีการเลี้ยงแพะนมตามวงจรการผลิต

ทั้งน้ีไมรวมโรงเรือน คอก หรือพื้นที่ในฟารมที่ใช

กักกันสัตวตัวใหมกอนนําเขาเลี้ยง

คดัเลอืกแพะนมทดแทน การคัดเลือกแพะนมทดแทนจากฟารมตนทาง

ความไวของระบบทดสอบโรค (Se1) ประสิทธิภาพในการคนหาแพะที่ติดเชื้อ

Brucella spp. ที่แทจริงในการสํารวจความชุก

ความไวของระบบคัดกรองโรค (Se2) ประสิทธิภาพในการคนหาแพะที่ติดเชื้อ

Brucella spp. ทีแ่ทจริงในการตรวจคดักรองโรค

ความจําเพาะของระบบคัดกรองโรค

(Sp)

ประสิทธิภาพในการคนหาแพะที่ไมติดเชื้อ

Brucella spp. ทีแ่ทจริงในการตรวจคดักรองโรค

Page 70: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

54

54

ตารางท่ี 18 (ตอ)

คําศัพท/เคร่ืองหมาย

(สัญลักษณ)

นิยาม

ตามระเบียบ (P1) การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตววาดวย

การอนุญาต การตรวจโรค และการทําลายเชื้อโรค ในการ

เคลื่อนยายสัตว หรือซากสัตวภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2546

มีหลักเกณฑที่กําหนดเพิ่มเติม โดยแพะตองมีผลการคัดกรอง

โรคใหผลลบมาไมเกินกวา 90 วันนับจากวันที่เจาะเลือด

ลักลอบ (1-P1) การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนโดยไมผานระเบียบกรม

ปศุสัตว

การติดเชื้อ โอกาสทีแ่พะนมทดแทนติดเชือ้ Brucella spp.

ติดเชื้อ (P2) แพะนมทดแทนติดเชือ้ Brucella spp. (เทากับความชุกของ

ฟารมตนทาง)

ไมติดเชื้อ (1-P2) แพะนมทดแทนไมติดเชือ้ Brucella spp.

ตรวจคัดกรองคร้ังที่ 1 การตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. ดวยวิธ ีmRBT

ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย

ลบลวง 1 (P3) ผลลบลวงจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

ดวยวิธ ีmRBT ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย

บวกจริง 1 (1-P3) ผลบวกจริงจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

ดวยวิธ ีmRBT ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย

Page 71: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

55

55

ตารางท่ี 18 (ตอ)

คําศัพท/เคร่ืองหมาย

(สัญลักษณ)

นิยาม

ลบจริง 1 (P4) ผลลบจริงจากจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

ดวยวิธ ีmRBT ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย

บวกลวง 1 (1-P4) ผลบวกลวงจากจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

ดวยวิธ ีmRBT ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย

X การคัดทิ้ง หรือ ไมอนุญาตใหเคลื่อนยาย หรือ ไมนําเขาเลี้ยง

กักและคัดกรองคร้ัง

ที่ 2

โอกาสการคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. หลังจากการกักสัตว

ที่ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สปัดาหตามมาตรการการนําสตัวเขา

เลี้ยงใหมของกรมปศุสัตว (สคบ., 2555) และตรวจคดักรองโรคคร้ัง

ที่ 2 ดวยวิธี mRBT กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

ทํา (P5) มีการคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. หลังจากการกักสัตวที่

ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สัปดาห ดวยวิธี mRBT กอนนําเขาเลี้ยง

ในโรงเรือน

ไมทํา (1-P5) ไมมีการกักสัตวที่ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สัปดาห และไมมีการ

คัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

ตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 โอกาสการเกิดผลของการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

หลังจากการกักสัตวที่ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สัปดาห ดวยวิธี

mRBT กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

Page 72: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

56

56

ตารางท่ี 18 (ตอ)

คําศัพท/เคร่ืองหมาย

(สัญลักษณ)

นิยาม

ลบลวง 2 (P6) ผลลบลวงจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

หลังจากการกักสัตวที่ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สัปดาห ดวยวิธี

mRBT กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

บวกจริง 2 (1-P6) ผลบวกจริงจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

หลังจากการกักสัตวที่ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สัปดาห ดวยวิธี

mRBT กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

บวกลวง 2 (1-P7) ผลบวกลวงจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

หลังจากการกักสัตวที่ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สัปดาห ดวยวิธี

mRBT กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

ลบจริง (P7) ผลลบจริงจากการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. หลังจาก

การกักสัตวที่ฟารมกรุงเทพฯ อยางนอย 6 สัปดาห ดวยวิธี mRBT

กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

1 + โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อโดยเคลื่อนยายตามระเบียบ

กรมปศสุตัวและแพะนมทดแทนทีติ่ดเชือ้น้ันใหผลลบลวงในการ

ตรวจคัดกรองคร้ังที่ 1 และ 2

2 + โอกาสการนําเขาแพะทดแทนที่ติดเชื้อโดยเคลื่อนยายตามระเบียบ

กรมปศสุตัวและแพะนมทดแทนทีติ่ดเชือ้น้ันใหผลลบลวงในการ

ตรวจคัดกรองคร้ังที่ 1 โดยที่ไมมีการกักอยางนอย 6 สปัดาห และไมมี

การตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 กอนนําเขาโรงเรือน

Page 73: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

57

57

ตารางท่ี 18 (ตอ)

คําศัพท/เคร่ืองหมาย

(สัญลักษณ)

นิยาม

3 - โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทนที่ไมติดเชื้อโดยเคลื่อนยายตาม

ระเบยีบกรมปศสุตัวและแพะนมทดแทนน้ันใหผลลบจริงในการ

ตรวจคัดกรองคร้ังที่ 1 และ 2

4- โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทนที่ไมติดเชื้อโดยเคลื่อนยายตาม

ระเบยีบกรมปศสุตัวและแพะนมทดแทนน้ันใหผลลบจริงในการ

ตรวจคัดกรองคร้ังที่ 1 โดยที่ไมมีการกักอยางนอย 6 สปัดาห และไมมี

การตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 กอนนําเขาโรงเรือน

5 + โอกาสการนําเขาแพะทดแทนที่ติดเชื้อ Brucella spp. โดยการลักลอบ

6 - โอกาสการนําเขาแพะทดแทนที่ไมติดเชื้อ Brucella spp. โดยการ

ลักลอบ

Page 74: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

58

58

ตารางท่ี 19 ผลการประเมินโอกาสการเกิดเหตุการณที่เกี่ยวของกับการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมตางจังหวัด

ขอ เหตุการณ ผูใหขอมูล ความเปนไปได ความไมแนนอน

1 โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทน

เขาโรงเรือนใน 1 ป

เกษตรกรฯ ตํ่า ตํ่า

2 โอกาสการนําเขาแพะทดแทนที่

ติดเชื้อโดยเคลื่อนยายตาม

ระเบียบกรมปศุสัตว

เจาหนาที่ฯ

ตํ่า

ปานกลาง

3 โอกาสการตรวจพบแพะนม

ทดแทนที่ติดเชื้อที่ใหผลลบลวง

ในการคัดกรองคร้ังที่ 1

ผูเชี่ยวชาญฯ ตํ่า ปานกลาง

4 โอกาสการกักแพะนมทดแทนที่

ติดเชื้ออยางนอย 6 สัปดาห กอน

นําเขาโรงเรือนและตรวจคัด

กรองโรคคร้ังที่ 2

เกษตรกรฯ ตํ่า

ตํ่า

5 โอกาสการไมกักแพะนมทดแทน

ที่ติดเชื้ออยางนอย 6 สัปดาห

กอนนําเขาโรงเรือนและไมตรวจ

คดักรองโรคคร้ังที่ 2

เกษตรกรฯ สูง

ตํ่า

Page 75: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

59

59

ตารางท่ี 19 (ตอ)

ขอ เหตุการณ ผูใหขอมูล ความเปนไปได ความไมแนนอน

7 โอกาสการนําเขาแพะทดแทน

โดยการลักลอบ

เจาหนาที่ฯ

ตํ่า

ปานกลาง

8 โอกาสการนําเขาแพะทดแทนที่

ติดเชื้อโดยการลักลอบ

เจาหนาที่ฯ

ตํ่า

ปานกลาง

หมายเหต ุ ผูใหขอมูล เกษตรกรฯ หมายถึง เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ

ผูเชี่ยวชาญฯ หมายถึง ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส

เจาหนาที่ฯ หมายถึง เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ

Page 76: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

60

60

ตารางท่ี 20 การใชตารางความเสี่ยง (ตารางที่ 15) ในการวิเคราะหโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขา

แพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

ขอ เหตุการณ / (เคร่ืองหมายตามภาพที่ 5) ขออางอิง

จากตาราง

ที่ 19

ความ

เปนไปได

ความไม

แนนอน

1 โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อ

โดยเคลื่อนยายตามระเบียบกรมปศุสัตวและ

แพะนมทดแทนทีติ่ดเชือ้น้ันใหผลลบลวงใน

การตรวจคัดกรองคร้ังที่ 1 และ 2 กอนนําเขา

โรงเรือน

(1 +)

1, 2, 3, 4

และ 6

ตํ่า ตํ่า – ปานกลาง

2 โอกาสการนําเขาแพะทดแทนที่ติดเชื้อโดย

เคลื่อนยายตามระเบียบกรมปศุสัตวและแพะ

นมทดแทนทีติ่ดเชือ้น้ันใหผลลบลวงในการ

ตรวจคัดกรองคร้ังที่ 1 โดยที่ไมมีการกักอยาง

นอย 6 สปัดาห และไมมีการตรวจคัดกรอง

โรคคร้ังที่ 2 กอนนําเขาโรงเรือน

(2 +)

1, 2, 3

และ 5

ตํ่า ตํ่า – ปานกลาง

3 โอกาสการนําเขาแพะทดแทนที่ติดเชื้อ

Brucella spp. โดยการลักลอบ

(5 +)

1, 7 และ

8

ตํ่า

ปานกลาง

สรุปโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในทุกเหตุการณมีความเปนไป

ไดในระดับ “ตํ่า” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า ถึง ปานกลาง”

Page 77: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

61

61

ข. ความเสี่ยงในการรับสัมผัสและผลกระทบ

การเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ ทุกฟารมจะเลี้ยงในโรงเรือนที่แบงเปนคอกและ

จัดเปนสัดสวน โดยแพะในโรงเรือนจะอยูในคอกประจําของตัวเอง ไมปะปนกัน ซึ่งทําใหแทบจะ

ไมมีโอกาสที่แพะนมในฟารมจะสัมผัสกันไดโดยตรง ยกเวนแพะที่อยูคอกติดกันสามารถสัมผัสกัน

ไดผานชองวางระหวางร้ัวคอก และในกรณีที่ฟารมมีการเลี้ยงแบบปลอยแปลงหญา แพะใน

โรงเรือนอาจสัมผัสกันได ซึ่งในกรุงเทพฯ มีฟารมรอยละ 32.43 ที่มีการปลอยแพะใหออกมาเล็ม

หญาในแปลงหญาของเกษตรกรเอง

แพะติดเชื้อสามารถปลอยเชื้อออกมากับสิ่งคัดหลั่งจากระบบสืบพันธุ และมีชวง

การปลอยเชื้อประมาณ 2 - 3 เดือน ในลูกแพะที่ติดเชื้อสามารถแพรเชื้อออกมาทางมูล โดยที่ไม

แสดงอาการได (European commission, 2001; Radostits et al., 2012) ซึ่งมีโอกาสทําใหตัวอ่ืนใน

ฟารมไดรับเชื้อ โอกาสการเกิดเหตุการณในการประเมินความเสี่ยงในการรับสัมผัสและผลกระทบ

แสดงไดตามตารางที่ 21

Page 78: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

62

62

ตารางท่ี 21 ผลการประเมินโอกาสการรับสัมผัสเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบในโรงเรือนโดย

ผานการนําเขาแพะนมทดแทนติดเชื้อจากฟารมตางจังหวัด

ขอ เหตุการณ ผูใหขอมูล ความเปนไปได ความไมแนนอน

1 โอกาสแพะนมทดแทนติดเชือ้จะ

ปลอยเชื้อออกมากับสิ่งคัดหลั่ง

ผูเชี่ยวชาญฯ สูง ตํ่า

2 โอกาสแพะในโรงเรือนสมัผสั

กับสิ่งคัดหลั่งของแพะนม

ทดแทนติดเชือ้

เกษตรกรฯ ตํ่า

ปานกลาง

3 โอกาสแพะในโรงเรือนติดเชือ้

จากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งของ

แพะนมทดแทนติดเชือ้

ผูเชี่ยวชาญฯ ตํ่า ปานกลาง

หมายเหต ุ ผูใหขอมูล เกษตรกรฯ หมายถึง เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ

ผูเชี่ยวชาญฯ หมายถึง ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส

เมื่อนํามาวิเคราะหโดยใชตารางความเสี่ยง (ตารางที่ 15) โอกาสการรับสัมผัส

เชือ้ Brucella spp. และผลกระทบในโรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนติดเชือ้จากฟารม

ตางจังหวัด มีความเปนไปไดในระดับ “ตํ่า” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า ถึง ปานกลาง”

ซึ่งสวนใหญอยูในระดับ “ปานกลาง”

เมื่อนํามาวิเคราะหความเสี่ยงโดยรวม ( overall risk) พบวาความเสี่ยงในการ

นําเขา การแพรกระจายเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบในโรงเรือนผานปจจัยการนําเขาแพะนม

ทดแทนจากฟารมตางจังหวัด มีความเปนไปไดในระดับ “ตํ่า” โดยมคีวามไมแนนอนเปนระดับ

“ตํ่า ถึง ปานกลาง”

Page 79: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

63

63

1.2 กรณีที่นําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมภายในกรุงเทพฯ ซึ่งตามระเบียบกรมปศุ

สัตวในการเคลื่อนยายสัตวภายในจังหวัดหากไมมีการตรวจพบโรคบรูเซลโลสิส ไมจําเปนตองขอ

อนุญาตเคลื่อนยาย ในกรณีน้ีฟารมตนทางอาจไมมีการตรวจคัดกรองโรคกอนการเคลื่อนยาย

ก. ความเสี่ยงในการนําเขา

โอกาสในการนํา เชือ้ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานทางการนําเขาแพะทดแทนจะขึ้นกับคาความชุกตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในพื้นที่ตน

ทาง ซึ่งจากการสํารวจความชุกตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในกรุงเทพฯ ตามโครงการสงเสริม

ฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิสประจําปงบประมาณ 2556 พบวาความชุกเปน 0 (ขอมูลไมไดตีพิมพ

จากสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ) ดังน้ันโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการนําเขาแพะทดแทนจากภายในกรุงเทพฯ เปนระดับ

“แทบจะไมพบ” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

Page 80: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

64

64

2. พอพันธุที่ยืมเพื่อการผสม

เกษตรกรมักมีการแลกเปลี่ยนพอพันธุเพื่อการผสม เน่ืองจากเปนการปองกันปญหา

การผสมแบบเครือญาติหรือเลือดชิด ซึ่งการยืมพอพันธุระหวางฟารมเปนปจจัยเสี่ยงในการแพรเชื้อ

(มนยา, 2552) เน่ืองจากพอแพะสามารถปลอยเชื้อมาในนํ้าเชื้อได (European commission, 2001;

The Center for Food Security and Public Health, 2009b; Radostits et al., 2012)

เกษตรกรฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ สวนใหญจะไมมีการยืมพอพันธุจากฟารมอ่ืนเพื่อ

การผสม โดยจะนิยมใชพอพันธุในฟารมตนเอง หรือหาซื้อพอพันธุมาทดแทน ในรายที่ยืมพอพันธุ

จากฟารมอ่ืนจะยืมฟารมที่ต้ังอยูใกลเคียงกันภายในจังหวัดเดียวกันเน่ืองจากมีความยุงยากในการ

ขนสง ดังแสดงในตารางที่ 22 อีกทั้งยังมีกรณีที่ทําการเคลื่อนยายแมพันธุในฟารมตนเองไปผสมที่

ฟารมพอพันธุ ซึ่งในการศึกษาน้ีไดกําหนดใหกรณีดังกลาวเขาขายเปนการยืมพอพันธุเพื่อการผสม

เชนกัน สําหรับระยะเวลาการยืมพอพันธุในแตละคร้ังโดยเฉลี่ยเปน 1 - 3 วัน ซึ่งเกษตรกรจะยืม

พอพันธุใหตรงกับชวงการเปนสัดของแมพันธุ ความถี่ในการยืมพอพันธุโดยเฉลี่ยจะยืม 2 - 3 ปตอ

คร้ังตอแมพันธุ

ตารางท่ี 22 แหลงที่มาของพอพันธุที่ยืมเพื่อการผสมของเกษตรกรฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

ในป 2554 (จํานวนฟารมที่ศึกษา 74 ฟารม)

แหลงที่มา จํานวนฟารม (ฟารม) รอยละ

ไมมีพอพันธุที่ยืมเพื่อการผสม

จากฟารมในกรุงเทพฯ เทาน้ัน

จากฟารมตางจังหวัดเทานั้น

จากฟารมในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด

รวม

52

22

0

0

74

70.27

29.73

0

0

100

Page 81: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

65

65

1.1 กรณีที่ยืมพอพันธุเพื่อการผสมจากฟารมตางจังหวัด หมายถึง การยืมพอพันธุ

แพะนมเพื่อการผสมจากจังหวัดอ่ืน ๆ ที่ไมใชกรุงเทพฯ

ก. ความเสี่ยงในการนําเขา

จากการศึกษาพบวา เกษตรกรฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ไมมีพอพันธุที่ยืมเพื่อ

การผสมจากฟารมตางจังหวัด (ตารางที่ 22) ดังน้ันโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางการยืมพอพันธุแพะนมเพื่อการผสมจากฟารม

ตางจังหวัด เปนระดับ “แทบจะไมพบ” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า” จึงไมตองประเมิน

ความเสี่ยงในขั้นตอไป

1.2 กรณียืมพอพันธุแพะนมเพื่อการผสมภายในจังหวัด หมายถึง การยืมพอพันธุ

แพะนมเพื่อการผสมจากฟารมในจังหวัดกรุงเทพฯ ซึ่งการเคลื่อนยายสัตวภายในจังหวัดหากไมมี

การตรวจพบโรคบรูเซลโลสิสไมจําเปนตองขออนุญาตเคลื่อนยายจากกรมปศุสัตว ซึ่งฟารมตนทาง

อาจไมมีการตรวจคัดกรองโรคกอนการเคลื่อนยาย

ก. ความเสี่ยงในการนําเขา

การประเมินโอกาสในการนําเขาเชือ้ Brucella spp. สูฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานการยืมพอพันธุแพะนมเพื่อการผสมภายในจังหวัด จะเปนลักษณะเดียวกับการประเมิน

ปจจัยการนําเขาแพะทดแทนจากภายในจังหวัดกรุงเทพฯ (ขอ 1.2 ก.) ซึ่งจะขึ้นกับคาความชุกตอการ

ติดเชื้อ Brucella spp. ในพื้นที่ตนทาง ดังน้ันโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการยืมพอพันธุแพะนมเพื่อการผสมภายในจังหวัด เปนระดับ

“แทบจะไมพบ” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

Page 82: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

66

66

3. นํ้าเชื้อที่ใชในการผสมเทียม

3.1 ความเสี่ยงในการนําเขา

นํ้าเชื้อที่ใชในการผสมเทียมถามาจากพอพันธุที่ติดเชื้อสามารถเปนปจจัยที่ทําให

เกิดการติดเชื้อในแมพันธุได ความเสี่ยงในการนําเขาเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนโดยผานทาง

นํ้าเชื้อที่ใชในการผสมเทียมขึ้นกับโอกาสการผสมเทียมโดยใชนํ้าเชื้อที่มีเชื้อปนเปอน และโอกาส

การคัดเลือกแหลงนํ้าเชื้อจากพอพันธุที่ปลอดโรคบรูเซลโลสิส ซึ่งจากผลการศึกษาพบวาฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ ไมมีการผสมเทียม ดังนั้นโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานนํ้าเชื้อที่ใชผสมเทียม มีความเปนไปไดในระดับ “แทบจะไม

พบ” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

4. อุปกรณเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว

4.1 ความเสี่ยงในการนําเขา

อุปกรณเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตวที่ใชในฟารมแพะนม ไดแก รางนํ้า รางอาหาร ถังนม

เคร่ืองรีดนม ผาเช็ดเตานม ไมกวาดมูลสัตว วัสดุรองพื้น รองเทาบูท เปนตน ความเสี่ยงในการนําเขา

เชือ้ Brucella spp. สูโรงเรือนโดยผานทางอุปกรณเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตวขึ้นกับโอกาสการยืม

อุปกรณระหวางฟารมที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิส ซึ่งจากผลการศึกษาพบวาฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ ไมมีการยืมอุปกรณเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตวระหวางฟารม โดยทุกฟารมจะมีอุปกรณการ

เลี้ยงสัตวของฟารมตนเอง ดังน้ันโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนม

ในกรุงเทพฯ โดยผานอุปกรณที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว มีความเปนไปไดในระดับ “แทบจะไมพบ”

โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

Page 83: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

67

67

5. คน

5.1 ความเสี่ยงในการนําเขา

จากการศึกษาพบวากลุมคนที่เปนปจจัยเสี่ยงตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มี 3 กลุมไดแก

กลุม 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย หมายถึง เจาหนาที่สังกัดกรมปศุสัตว

หรือสัตวแพทยจากหนวยงานเอกชนหรือมหาวิทยาลัย ที่มีโอกาสเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ เพื่อตรวจสุขภาพ รักษา ทําคลอด หรือเก็บตัวอยางจากแพะนมตามโครงการตาง ๆ ของ

กรมปศุสัตว เชน การเก็บซีรัมในโครงการฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิส โดยจัดเปนกลุมเสี่ยง

เน่ืองจากมโีอกาสปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จากการปฏิบัติงานในฟารมปศุสัตวอ่ืน กอนที่จะเขา

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

กลุม 2 คนซื้อแพะ หมายถึง เกษตรกรหรือพอคาคนกลาง ที่ซื้อแพะนมจากฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ ที่มีโอกาสเขาโรงเรือนเพื่อคัดเลือกแพะนมที่ตองการซื้อ โดยจัดเปนกลุมเสี่ยง

เน่ืองจากคนซื้อแพะมีโอกาสมีโอกาสปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากการเขาไปเลือกซื้อสัตวใน

ฟารมปศุสัตวอ่ืนกอนที่จะเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

กลุม 3 เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม หมายถึง เกษตรกรผูเปนเจาของฟารมแพะ

นมในกรุงเทพฯ ที่มีหนาที่เลี้ยงแพะนมตามวงจรผลิตในโรงเรือน โดยมีความเสี่ยงเนื่องจากมี

โอกาสปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จากนอกฟารมโดยการเขาไปเลือกซื้อแพะนมทดแทน เลือกยืม

พอพันธุเพื่อการผสม หรือชวยปฏิบัติงานในฟารมสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิส เชน ทําความสะอาด

โรงเรือน หรือชวยทําคลอด เปนตน

การประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานคนที่เขาโรงเรือน จะประเมินแยกตามกลุมคนที่เขาโรงเรือน 3 กลุมขางตน โดย

ประเมินตามวิถีที่มีรูปแบบเดียวกัน (ภาพที่ 6) และผลการประเมินแสดงตามตารางที่ 25 และ 26

Page 84: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

68

68

ภาพท่ี 6 วิถี (pathway) การนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานทางคนที่เขาโรงเรือน เพื่อการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ

คน

ไมมีเช้ือปนเปอน

มีเช้ือปนเปอน

มีการลดการ

ปนเปอน

ไมมกีารลดการ

ปนเปอน

มีการลดการ

ปนเปอน

ไมมกีารลดการ

ปนเปอน

โรงเรือนแพะนม คนที่ปนเปอน

Brucella spp.

Page 85: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

69

69

ตารางท่ี 23 นิยามที่ใชในวิถี (pathway) การนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน เพื่อการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ

คําศัพท นิยาม

โรงเรือนแพะนม โรงเรือน คอก หรือพื้นที่ในฟารมในกรุงเทพฯ ที่มีการเลี้ยง

แพะนมตามวงจรการผลิต ทั้งน้ีไมรวมโรงเรือน คอก หรือ

พื้นที่ในฟารมที่ใชกักกันสัตวตัวใหมกอนนําเขาเลี้ยง

คน กลุมบุคคล 3 กลุมที่มีโอกาสเขาโรงเรือนแพะนมไดแก

กลุมที่ 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยที่เขาโรงเรือน

กลุมที่ 2 คนซื้อแพะซึ่งหมายถึง เกษตรกรหรือพอคาคน

กลาง ที่ซื้อแพะนมจากฟารมแพะนมในกรุงเทพฯกลุมที่ 3

เกษตรกรผูเปนเจาของฟารม

ไมมีเชื้อปนเปอน

โอกาสที่ไมมีเชื้อ Brucella spp. ปนเปอนมากับรางกายหรือ

เสื้อผา

มีเชื้อปนเปอน โอกาสที่มีเชื้อ Brucella spp. ปนเปอนมากับรางกายหรือ

เสื้อผา

มีการลดการปนเปอน

การลดการปนเปอนของเชื้อ Brucella spp. กอนเขาโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มี 2 รูปแบบ

1. มีการพักโรคโดยไมเขาโรงเรือนแพะนมมากกวา 1

ฟารมภายในวันเดียวกนั

2. มีการจุมรองเทาดวยน้ํายาฆาเชื้อรวมกับมีการอาบน้ํา สระ

ผม เปลี่ยนเสื้อผา กอนเขาโรงเรือน

Page 86: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

70

70

ตารางท่ี 23 (ตอ)

คําศัพท นิยาม

ไมมีการลดการปนเปอน

ไมไดทําการลดการปนเปอนตาม 2 รูปแบบขางตน กอนเขา

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ หรือทําไมครบทุก

ขั้นตอน

คนที่ปนเปอน Brucella spp.

กลุมบุคคล 3 กลุมขางตน ที่มีเชื้อ Brucella spp. ปนเปอนมา

กับรางกายหรือเสื้อผาเขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ

ขอกําหนดของการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณปจจัยคน

1) กลุมบุคคล 3 กลุมขางตน ถามาจากพื้นที่ปลอดโรคบรูเซลโลสิสใหประเมินวา

ไมมีความเสี่ยง และถามาจากพื้นที่ที่มีความชุกของโรคบรูเซลโลสิส ใหประเมินวาโอกาสที่คน

ปนเปอนเชือ้ Brucella spp. มีเทากับความชุกของโรคบรูเซลโลสิสในพื้นที่ตนทางนั้น

2) การลดการปนเปอนกอนเขาฟารมมีประสิทธิภาพเพียงพอตอการกําจัดเชื้อ

Brucella spp. ที่ปนเปอนมากับรางกายหรือเสื้อผาใหหมดสิ้น

3) การประเมินโอกาสที่คนมีเชื้อปนเปอนกอนเขาโรงเรือนจะใชความหมายของ

ความเปนไปได ดังแสดงในตารางที่ 24

Page 87: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

71

71

ตารางท่ี 24 ความหมายของความเปนไปไดในการประเมินผลการประเมินโอกาสที่คนมีเชื้อ

ปนเปอนกอนเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ใน 1 ป โดยผานคนที่เขา

โรงเรือน

ความเปนไปได ความหมาย

แทบจะไมพบ

คนที่เขาโรงเรือนไมไดเขาฟารมปศุสัตวที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิส

ตํ่า คนที่เขาโรงเรือนมีโอกาสเขาฟารมปศุสัตวที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิส แต

มีความชุกในระดับตํ่ามาก (นอยกวารอยละ 2) สัตวในฟารมน้ันไมไดอยูใน

ภาวะทองหรือแทง และคนไมมีกิจกรรมที่สัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากสัตวได

โดยตรง

กลาง คนที่เขาโรงเรือนมีโอกาสเขาฟารมปศุสัตวที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิส แต

มีความชุกในระดับตํ่าถึงสูง (มากกวารอยละ 2) โดยสัตวในฟารมน้ันอยูใน

ภาวะทองหรือแทง แตคนไมมีกิจกรรมที่สัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากสัตวได

โดยตรง

สูง คนที่เขาโรงเรือนมีโอกาสเขาฟารมปศุสัตวที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิส แต

มีความชุกในระดับตํ่าถึงสูง (มากกวารอยละ 2) โดยสัตวในฟารมน้ันอยูใน

ภาวะทองหรือแทง และคนมีกิจกรรมที่สัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากสัตวได

โดยตรง

Page 88: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

72

72

ตารางท่ี 25 ผลการประเมินโอกาสการเกิดเหตุการณที่เกี่ยวของกับการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ใน 1 ป โดยผานคนที่เขาโรงเรือน

ขอ เหตุการณที่เกิดความเสี่ยง ผูใหขอมูล ความเปนไปได ความไมแนนอน

1 โอกาสเจาหนาที่กรมปศุสัตวเขา

โรงเรือน

เจาหนาที่ฯ ตํ่า ตํ่า

2 โอกาสเจาหนาที่กรมปศุสัตวมีเชื้อ

ปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

เจาหนาที่ฯ ตํ่า ปานกลาง

3 โอกาสเจาหนาที่กรมปศุสัตวไมมี

การลดการปนเปอนกอนเขาฟารม

เจาหนาที่ฯ ตํ่า ปานกลาง

4 โอกาสคนซือ้แพะเขาโรงเรือน เกษตรกรฯ ปานกลาง ตํ่า

5 โอกาสคนซื้อแพะมีเชื้อปนเปอน

กอนเขาโรงเรือน

ผูเชี่ยวชาญฯ ตํ่า

ปานกลาง

6 โอกาสคนซื้อแพะไมมีการลดการ

ปนเปอนกอนเขาฟารม

เกษตรกรฯ สูง ตํ่า

7 โอกาสเกษตรกรเจาของฟารมเขา

โรงเรือน

เกษตรกรฯ สูง ตํ่า

8 โอกาสเกษตรกรเจาของฟารมมีเชื้อ

ปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

เกษตรกรฯ

ผูเชี่ยวชาญฯ

ตํ่า

ตํ่า

ปานกลาง

ปานกลาง

9 โอกาสเกษตรกรเจาของฟารมไมมี

การลดการปนเปอนกอนเขาฟารม

เกษตรกรฯ

สูง

ตํ่า

Page 89: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

73

73

หมายเหต ุ ผูใหขอมูล เกษตรกรฯ หมายถึง เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ

ผูเชี่ยวชาญฯ หมายถึง ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส

เจาหนาที่ฯ หมายถึง เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ

ตารางท่ี 26 การใชตารางความเสี่ยง (ตารางที่ 15) ในการวิเคราะหโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานโดยผานคนที่เขา

โรงเรือน

ขอ เหตุการณ ขออางอิงจาก

ตารางที่ 24

ความเปนไปได ความไมแนนอน

1 โอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตว

และสตัวแพทย

1, 2 และ 3 ตํ่า ตํ่า – ปานกลาง

2 โอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานทางคนซื้อแพะ

4, 5 และ 6 ตํ่า ตํ่า – ปานกลาง

3 โอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานทางเกษตรกรเจาของฟารม

7, 8 และ 9 ตํ่า ตํ่า – ปานกลาง

ถาพิจารณาในภาพรวมของคนทั้ง 3 กลุม พบวาโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนมีความเปนไปไดในระดับ “ตํ่า” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า ถึง ปานกลาง”

Page 90: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

74

74

5.2 ความเสี่ยงในการรับสัมผัสและผลกระทบ

ตารางท่ี 27 ผลการประเมินโอกาสการรับสัมผัสเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบ ในโรงเรือน

แพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนที่เขาโรงเรือนที่มีเชื้อ Brucella spp. ปนเปอน

ขอ เหตุการณที่เกิดความเสี่ยง ผูใหขอมูล ความเปนไปได ความไมแนนอน

1 โอกาสเจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทยที่มีเชื้อปนเปอนสัมผัส

กบัแพะนมในโรงเรือน

เจาหนาที่ฯ สูง ปานกลาง

2 โอกาสแพะนมในโรงเรือนติดเชือ้

จากเจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทยที่มีเชื้อปนเปอน

ผูเชี่ยวชาญฯ ปานกลาง ปานกลาง

3 โอกาสคนซื้อแพะนมที่มีเชื้อ

ปนเปอนสัมผัสกับแพะนมใน

โรงเรือน

เกษตรกรฯ

ปานกลาง

ปานกลาง

4 โอกาสแพะนมในโรงเรือนติดเชือ้

จากคนซื้อแพะนมที่มีเชื้อปนเปอน

ผูเชี่ยวชาญฯ ปานกลาง ปานกลาง

5 โอกาสเกษตรกรเจาของฟารมที่มี

เชื้อปนเปอนสัมผัสกับแพะนมใน

โรงเรือน

เกษตรกรฯ

สูง

ตํ่า

6 โอกาสแพะนมในโรงเรือนติดเชือ้

จากเกษตรกรเจาของฟารมที่มีเชื้อ

ปนเปอน

ผูเชี่ยวชาญ

ปานกลาง

ปานกลาง

Page 91: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

75

75

หมายเหต ุ ผูใหขอมูล เกษตรกรฯ หมายถึง เกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ

ผูเชี่ยวชาญฯ หมายถึง ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส

ตารางท่ี 28 การใชตารางความเสี่ยง (ตารางที่ 15) ในการวิเคราะหโอกาสการสัมผัสเชื้อ

Brucella spp. และผลกระทบในโรงเรือนแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนที่เขา

โรงเรือนที่มีเชื้อ Brucella spp. ปนเปอน

ขอ เหตุการณ ขออางอิงจาก

ตารางที่ 26

ความเปนไปได ความไมแนนอน

1 โอกาสการแพรกระจายของเชื้อ

Brucella spp. ในโรงเรือน

แพะนมในกรุงเทพฯ และ

ผลกระทบ โดยผานเจาหนาที่

กรมปศุสัตวและสตัวแพทยที่มี

เชือ้ Brucella spp. ปนเปอน

1 และ 2 ปานกลาง ปานกลาง

2 โอกาสการแพรกระจายของเชื้อ

Brucella spp. ในโรงเรือน

แพะนม ในกรุงเทพฯ และ

ผลกระทบ โดยผานทางคนซื้อ

แพะ

3 และ 4 ปานกลาง ปานกลาง

3 โอกาสการแพรกระจายของเชื้อ

Brucella spp. ในโรงเรือนแพะ

นมในกรุงเทพฯ และผลกระทบ

โดยผานทางเกษตรกรเจาของ

ฟารม

5 และ 6 ปานกลาง ตํ่า – ปานกลาง

Page 92: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

76

76

ถาพิจารณาในภาพรวมของคนทั้ง 3 กลุม พบวา โอกาสการสัมผัสเชือ้ Brucella spp.

และผลกระทบในโรงเรือนแพะนมในกรุงเทพฯ มีความเปนไปไดในระดับที่เทากันทั้ง 3 กลุมคือ

ระดับ “ปานกลาง” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ตํ่า ถึง ปานกลาง”

เมื่อนํามาวิเคราะหความเสี่ยงโดยรวม พบวาความเสี่ยงในการนําเขา การ

แพรกระจายเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบในโรงเรือนผานปจจัยคนที่เขาฟารม มีความเปนไป

ไดในระดับที่เทากันทั้ง 3 กลุมคือระดับ “ตํ่า ถึง ปานกลาง” โดยมคีวามไมแนนอนเปนระดับ “ตํ่า

ถึง ปานกลาง”

6. อาหารหยาบตามธรรมชาติ

6.1 ความเสี่ยงในการนําเขา

อาหารหยาบตามธรรมชาติที่จัดเปนปจจัยเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือน ไดแก หญา ใบไม หรือวัชพืช ในทุงหญาสาธารณะที่มีสัตวนําโรคชนิดอ่ืน เชนโค กระบือ

แพะ แกะ สุกร หรือสุนัข จากที่อ่ืนมาใชรวมกัน ถาสัตวเหลาน้ันเปนโรคบรูเซลโลสิส อาจปลอย

เชือ้ Brucella spp. มาสูทุงหญาได การประเมินความเสี่ยงตอการนําเขาเชื้อ Brucella spp. ผานทาง

อาหารหยาบตามธรรมชาติจะประเมินจากโอกาสการนําอาหารหยาบเขาสูโรงเรือน สวนการที่

แพะนมในโรงเรือนไดรับเชือ้ Brucella spp. จากอาหารหยาบที่อยูในทุงหญาสาธารณะจะประเมิน

รวมในปจจัยเสี่ยงที่เกิดจากแพะนมในฟารมที่เลี้ยงปลอย

จากการศึกษาพบวา ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ไมมีการตัดหญาหรือเก็บเกี่ยว

อาหารหยาบจากทุงหญาสาธารณะเขาสูโรงเรือน โดยจะมีแปลงหญาของตนเองและจะเก็บเกี่ยว

อาหารหยาบมาจากแปลงหญาของตนเองเทานั้น ดังนั้นโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในกรุงเทพฯ ผานอาหารหยาบ มีความเปนไปไดในระดับ “แทบจะไมพบ” โดยมีความไม

แนนอนในระดับ “ปานกลาง” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

Page 93: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

77

77

7. นํ้า

7.1 ความเสี่ยงในการนําเขา

นํ้าที่เปนปจจัยเสี่ยงตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน ไดแก นํ้าจากแหลง

นํ้าธรรมชาติ เชน แมนํ้า ลําคลอง หวย ที่มีการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมสัตวที่เปนโรค

บรูเซลโลสิส และไมมีการบําบัดน้ํากอนนํามาใช จากการศึกษาพบวาประเภทของแหลงน้ําที่

นํามาใชในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ เปนน้ําประปา (รอยละ 71.62) นอกจากน้ันเปนนํ้าบอหรือนํ้า

ใตดิน เนื่องจากกรุงเทพฯ มีแหลงน้ําธรรมชาติอยางจํากัดจึงมีความนิยมใชนํ้าประปาสูง ใน

น้ําประปาที่มีคลอรีนในระดับความเขมขนตามมาตรฐานจะสามารถทําลายเชื้อ Brucella spp.ได

และจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิสและเจาหนาที่กรมปศุสัตว

กรุงเทพฯ พบวา โอกาสที่เชื้อ Brucella spp. จากฟารมที่มีสัตวเปนโรคจะปนเปอนสูนํ้าบอหรือนํ้า

ใตดินเปนในระดับแทบจะไมพบ เน่ืองจากฟารมปศุสัตวแตละแหงอยูหางไกลกัน และปริมาณนํ้า

เสียที่ท้ิงจากฟารมมีปริมาณไมมาก ทําใหโอกาสการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. ผานทางนํ้าบอหรือ

นํ้าใตดิน เปนระดับ แทบจะไมพบ ดังน้ัน โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

กรุงเทพฯ ผานทางน้ํา จึงมีความเปนไปไดในระดับ “แทบจะไมพบ” โดยมคีวามไมแนนอนใน

ระดับ “ปานกลาง” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

8. สัตวนําโรคชนิดอ่ืนในพื้นที่ใกลเคียง

8.1 ความเสี่ยงในการนําเขา

สัตวนําโรคชนิดอ่ืนในพื้นที่ใกลเคียงไดแก โค กระบือ แพะ แกะ สุกร และสุนัข ซึ่ง

สัตวเหลาน้ีมีโอกาสนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนได จากผลการศึกษาพบวาเกษตรกรฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ สวนใหญเปนชาวมสุลมิ คดิเปนรอยละ 98.65 สงผลใหในพื้นที่ไมมีการเลี้ยง

สุกร และสุนัข รวมถึงมีการเฝาระวังไมใหสัตวจากพื้นที่อ่ืนเขามาในพื้นที่ฟารมของตนเอง อีกทั้ง

สวนใหญจะไมมีการเลี้ยงสัตวนําโรคชนิดอ่ืน ๆ ภายในฟารมแพะ (รอยละ 97.30) และโรงเรือน

ทั้งหมดของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ เปนโรงเรือนที่ยกสูง มีประตู และร้ัวโรงเรือนมิดชิด สัตวนํา

โรคชนิดอ่ืนไมสามารถเขาไปในโรงเรือนได ดังน้ัน โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ผานทางสัตวนําโรคชนิดอ่ืน มีความเปนไปไดในระดับ

Page 94: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

78

78

“แทบจะไมพบ” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ปานกลาง” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้น

ตอไป

9. แพะนมในฟารมตนเองที่เลี้ยงปลอย

9.1 ความเสี่ยงในการนําเขา

แพะนมในฟารมตนเองที่เลี้ยงปลอยสามารถเปนปจจัยการนําเชื้อ Brucella spp. เขา

สูฟารมดวยเชนกันหากมีออกไปรับเชื้อจากภายนอกฟารม เชน ออกไปสัมผัสกับสัตวนําโรคชนิด

อ่ืนในการใชทุงหญาสาธารณะรวมกัน หรือไดรับเชื้อจากทุงหญาสาธารณะที่มีเชื้อปนเปอน เปนตน

จากผลการศึกษาพบวาเกษตรกรแพะนมในกรุงเทพฯ ทั้งหมด ไมมีการปลอยแพะนมออกไปทุง

หญาสาธารณะ เน่ืองจากกรุงเทพฯ มีขอจํากัดในดานพื้นที่การเลี้ยงสัตว โดยบางรายมีทุงหญาเปน

ของตนเองคดิเปนรอยละ 32.43 ซึ่งมีร้ัวรอบขอบชิด ไมปะปนกับสัตวชนิดอ่ืน ดังน้ัน โอกาสในการ

นําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในกรุงเทพฯ ผานทางแพะนมในฟารมตนเองที่เลี้ยงปลอยจึงมี

ความเปนไปไดในระดับ “แทบจะไมพบ” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ “ปานกลาง” จึงไมตอง

ประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

10. ยานพาหนะ

10.1 ความเสี่ยงในการนําเขา (Release)

ยานพาหนะ ไดแก รถขนอาหาร รถสงนม รถของผูมาเยี่ยมฟารม หรือรถของ

เกษตรกรเอง หากรถเหลาน้ีเขาฟารมสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิสก็อาจเปนปจจัยเสี่ยงในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูฟารมได จากผลการศึกษาพบวายานพาหนะไมสามารถนําเชื้อเขาสูโรงเรือนได

โดยตรง แตอาจนําเชื้อเขาฟารมไดในกรณียานพาหนะดังกลาวจอดไวในฟารม อยางไรก็ตามเชื้อ

จากยานพาหนะสามารถนําเขาสูโรงเรือนตอไดโดยผานคน ดังนั้นความเสี่ยงดังกลาวจะถูกนําไปคิด

รวมกับความเสี่ยงของคน ดังน้ันโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในกรุงเทพฯ ผาน

ทางยานพาหนะจึงมีความเปนไปไดในระดับ “แทบจะไมพบ” โดยมคีวามไมแนนอนในระดับ

“ปานกลาง” จึงไมตองประเมินความเสี่ยงในขั้นตอไป

Page 95: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

79

79

จากการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพตามปจจัยเสี่ยงทั้งหมด ปจจัยที่มีความเปนไปไดสูง

กวาระดับแทบจะไมพบมี 2 ปจจัย ไดแก การนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด และคนที่

เขาโรงเรือน รายละเอียดตามตารางที่ 29 ซึ่งทั้ง 2 ปจจัยดังกลาวจะนําไประเมินความเสี่ยงเชิง

ปริมาณตอไป

Page 96: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

80

ตารางท่ี 29 ความเสี่ยงของการนําเขา การรับสัมผัสเชื้อ Brucella spp. และผลกระทบในโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ผานปจจัยเสี่ยงตาง ๆ

เมื่อมีมาตรการที่เปนปจจุปน

ปจจัย

ความเสี่ยงในการนําเขา ความเส่ียงในการรับสัมผัสและ

ผลกระทบ

ความเสี่ยงโดยรวม

ระดับความเส่ียง ความไมแนนอน ระดับความเส่ียง ความไมแนนอน ระดับความเส่ียง ความไมแนนอน

แพะนมทดแทน

จากฟารมตางจังหวัด ตํ่า ตํ่า-ปานกลาง ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง ตํ่า ตํ่า-ปานกลาง

ภายในกรุงเทพฯ แทบจะไมพบ ตํ่า - - แทบจะไมพบ ตํ่า

พอพันธุเพื่อการผสม

จากฟารมตางจังหวัด แทบจะไมพบ ตํ่า - - แทบจะไมพบ ตํ่า

ภายในกรุงเทพฯ แทบจะไมพบ ตํ่า - - แทบจะไมพบ ตํ่า

นํ้าเชื้อ (การผสมเทียม) แทบจะไมพบ ตํ่า - - แทบจะไมพบ ตํ่า

อุปกรณ แทบจะไมพบ ปานกลาง - - แทบจะไมพบ ปานกลาง

Page 97: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

81

ตารางท่ี 29 (ตอ)

ปจจัย

ความเสี่ยงในการนําเขา ความเส่ียงในการรับสัมผัสและ

ผลกระทบ

ความเสี่ยงโดยรวม

ระดับความเส่ียง ความไมแนนอน ระดับความเส่ียง ความไมแนนอน ระดับความเส่ียง ความไมแนนอน

คน

เจาหนาที่กรมปศุสัตว ตํ่า ตํ่า-ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง

คนซือ้แพะ ตํ่า ตํ่า-ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง

เกษตรกรเจาของฟารม ตํ่า ตํ่า-ปานกลาง ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง ตํ่า-ปานกลาง

อาหารหยาบ แทบจะไมพบ ปานกลาง - - แทบจะไมพบ ปานกลาง

นํ้า แทบจะไมพบ ปานกลาง - - แทบจะไมพบ ปานกลาง

สัตวนําโรค แทบจะไมพบ ปานกลาง - - แทบจะไมพบ ปานกลาง

แพะนมเลี้ยงปลอย แทบจะไมพบ ปานกลาง - - แทบจะไมพบ ปานกลาง

ยานพาหนะ แทบจะไมพบ ปานกลาง - - แทบจะไมพบ ปานกลาง

Page 98: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

82

82

การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ

การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ จะทําการประเมินตามปจจัยเสี่ยงที่ไดผลลัพธจากการประเมินความเสี่ยงเชิง

คุณภาพ เปนระดับที่สูงกวาระดับ “แทบจะไมพบ” ซึ่งมี 2 ปจจัย ไดแก ปจจัยการนําเขาแพะนมทด

จากฟารมตางจังหวัด และปจจัยจากคนที่เขาโรงเรือน โดยมรีายละเอียดดังน้ี

1. การนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

1.1 รูปแบบการนําเสนอความเสี่ยง

นําเสนอในรูปแบบการเปรียบเทียบโอกาสที่แพะนมทดแทนนําเขามีการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยแยกตามเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นได 4

แบบ ดังน้ี

แบบ 1 คือ มกีารตรวจคดักรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. ดวยวิธ ีmRBT ที่ฟารม

ตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมีการกักสัตวอยางนอย 6 สปัดาห ที่ฟารมในกรุงเทพฯ ตาม

มาตรการการนําสตัวเขาเลี้ยงใหมของกรมปศุสัตว (สคบ., 2555) โดยมกีารตรวจคดักรองโรคตอ

การติดเชื้อ Brucella spp. ดวยวิธ ีmRBT คร้ังที่ 2 กอนนําแพะนมเขาเลี้ยงในโรงเรือน

แบบ 2 คอื มกีารตรวจคดักรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. ดวยวิธี mRBT ที่ฟารม

ตนทางกอนการเคลื่อนยาย โดยไมมีการกักสัตวที่ฟารมในกรุงเทพฯ และไมมีการตรวจคดักรองโรค

คร้ังที่ 2 กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

แบบ 3 คอื มกีารตรวจคดักรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. ดวยวิธ ีmRBT ที่ฟารม

ตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมีการกักสัตวอยางนอย 6 สปัดาห ที่ฟารมในกรุงเทพฯ ตาม

มาตรการการนําสตัวเขาเลี้ยงใหมของกรมปศุสัตว โดยมกีารตรวจคดักรองโรคตอการติดเชื้อ

Brucella spp. ดวยวิธ ีmRBT คร้ังที่ 2 กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน แตมีระบบการคัดกรองโรคที่มี

ประสิทธิภาพตํ่า (ความไวของระบบคัดกรองโรคเปนรอยละ 50)

Page 99: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

83

83

แบบ 4 การลักลอบเคลื่อนยายแพะนมทดแทนเขาโรงเรือนในกรุงเทพฯ โดยไมมี

การตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp.

1.2 วิถีที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ

การประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด ทั้ง 4 แบบขางตน จะประเมิน

ตามวิถีทางชีวภาพ (biological pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ ดังแสดงในภาพที ่5 และนิยามคําศัพทในวิถีทางชีวภาพดังกลาว ดังแสดงใน

ตารางที่ 18

1.3 ขอกําหนดและแนวคิดของการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณในปจจัยการนําเขา

แพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในการศึกษานี้

การประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด ทั้ง 4 แบบขางตน มีแนวคิดการ

ประเมนิดังน้ี

โอกาสในการนําแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อเขาสูโรงเรือน (แพะนมทดแทนทีใ่หผล

ลบลวงตอการตรวจคัดกรองหรือแพะนมทดแทนติดเชื้อที่ลักลอบเคลื่อนยาย ตามเสนวิถี 1+, 2+

และ 5+ ภาพที่ 5) จะประเมินโดยนําโอกาสการเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว

(P1) หรือโอกาสการลกัลอบ (1-P1) x โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อ (P2) x โอกาสการ

ตรวจพบผลลบลวงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ติดเชื้อในการตรวจคัดกรองที่ฟารมตนทางกอนการ

เคลื่อนยาย (P3) x โอกาสการกักแพะนมทดแทนอยางนอย 6 สัปดาห และตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2

กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน (P5 ) หรือโอกาสการไมตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 (1-P5) x โอกาสการ

ตรวจพบผลลบลวงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ติดเชื้อในการตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 (P6) โดย

กําหนดใหการเคลื่อนยายแพะนมทดแทนจากฟารมตนทางไปยังโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ ไมมีการติดเชื้อ Brucella spp. ระหวางเดินทาง

Page 100: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

84

84

โอกาสในการนําแพะนมทดแทนที่ไมติดเชื้อเขาสูโรงเรือน (แพะนมทดแทนที่

ใหผลลบจริงตอการตรวจคัดกรองหรือแพะนมทดแทนที่ไมติดเชื้อที่ลักลอบเคลื่อนยาย ตามเสนวิถี

3-, 4- และ 6- ภาพที่ 5) จะประเมินโดยนําโอกาสการเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบ

กรมปศุสัตวฯ (P1) หรือโอกาสการลกัลอบ (1-P1) x โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทนที่ไมติดเชื้อ

(1-P2) x โอกาสการตรวจพบผลลบจริงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ไมติดเชื้อในการตรวจคัดกรองที่

ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย (P4 ) x โอกาสการกักแพะนมทดแทนกอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

อยางนอย 6 สัปดาหและตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 (P5 ) หรือโอกาสการไมตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2

(1-P5) x โอกาสการตรวจพบผลลบจริงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ไมติดเชื้อในการตรวจคัดกรอง

คร้ังที่ 2 (P7)

โดยมรีายละเอียดดังน้ี

1.3.1 โอกาสการเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว (P1) และ

โอกาสการลักลอบ (1-P1) จะประเมินตามสัดสวนการเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรม

ปศุสัตวใน 1 ป โดยขอมูลไดจากการสัมภาษณเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ รวมกับ

หลักฐานขอมูลการเคลื่อนยายสัตวจากกรมปศุสัตวและเจาหนาที่กรมปศุสัตว สําหรับขอมูลจํานวน

การลักลอบการเคลื่อนยายไดขอมูลจากความคิดเห็นของเจาหนาที่กรมปศุสัตวในพื้นที่

1.3.2 โอกาสการนําเขาแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อ (P2) และโอกาสการนําเขาแพะนม

ทดแทนที่ไมติดเชื้อ (1-P2) จะประเมินเทากับความชุกระดับตัวสัตวทางซีรัมวิทยาตอการติดเชื้อ

Brucella spp. ในแพะนมในพื้นที่ของฟารมตนทางตางจังหวัด ซึ่งไดแก จังหวัดนนทบุรี ลพบุรี

สระบุรี สุพรรณบุรี สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา กาญจนบุรี และประจวบคีรีขันธ โดยจะนําการ

ประเมินความไวของระบบทดสอบโรค (Se1) มาคํานวณดวยซึ่งจะทําใหไดความชุกที่แทจริง

1.3.3 โอกาสการตรวจพบผลลบลวงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ติดเชื้อในการตรวจ

คัดกรองที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย (P3) และ โอกาสการตรวจพบผลลบลวงในแพะนม

ทดแทนนําเขาที่ติดเชื้อในการตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 หลังการกักอยางนอย 6 สัปดาห (P6) ใน

การศึกษานี้กําหนดใหมีระบบการจัดการดานตัวอยาง และมีวิธีตรวจคัดกรองทางหองปฏิบัติการ

เหมอืนกนั (วิธี mRBT) โดยตรวจในหองปฏิบัติการที่มีมาตรฐานเดียวกัน ดังน้ันจะประเมินเทากับ

ความไวของระบบคัดกรอง (Se2)

Page 101: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

85

85

1.3.4 โอกาสการตรวจพบผลลบจริงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ไมติดเชื้อในการ

ตรวจคัดกรองที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย (P4 ) และโอกาสการตรวจพบผลลบจริงในแพะ

นมทดแทนนําเขาที่ไมติดเชื้อในการตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 (P7) ในการศึกษาน้ีกําหนดใหมีระบบ

การจัดการดานตัวอยาง และมีวิธีตรวจคัดกรองทางหองปฏิบัติการเหมือนกัน (วิธี mRBT) โดยตรวจ

ในหองปฏิบัติการที่มีมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นจะประเมินเทากับความจําเพาะของระบบคัดกรอง

(Sp)

1.3.5 โอกาสการกักแพะนมทดแทนอยางนอย 6 สัปดาหและตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2

กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน (P5) และโอกาสการไมกักและไมตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 (1-P5) จะ

ประเมินเทากับสัดสวนการกักแพะนมทดแทนอยางนอย 6 สัปดาหและตรวจคัดกรองคร้ังที่ 2 โดย

ขอมูลไดจากการสัมภาษณเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

1.3.6 การประเมินประสิทธิภาพของระบบทดสอบโรค เพื่อใชหาคาความชุกรายตัว

ทางตอการติดเชื้อ Brucella spp. ที่แทจริงในแพะนมในพื้นที่ฟารมตนทางตางจังหวัด โดยจะ

ประเมินความไวของระบบทดสอบโรค (Se1) ดังแสดงในภาพที ่7 และใชขอมูลในการคํานวณดัง

แสดงในตารางที่ 30

ภาพท่ี 7 แนวคิดการประเมินความไวของระบบทดสอบโรคบรูเซลโลสิส

ความไวของการจัดการดานตัวอยาง (b)

ความไวของชุดทดสอบโรคทางหองปฏิบัติการ (a)

ความไวของระบบทดสอบโรค (Se1)

ความไวของ mRBT (ก)

ความไวของ CFT (ข)

Page 102: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

86

86

ความไวของระบบทดสอบโรค (Se1) ประกอบไปดวย

ก) ความไวของชุดทดสอบโรคทางหองปฏิบัติการ (a) ในการทดสอบโรค

เพื่อหาความชุกของโรคบรูเซลโลสิส mRBT และ CFT ซึ่งเปนวิธีมาตรฐานที่สถาบันสุขภาพสัตว

แหงชาติ กรมปศุสัตว (มนยา, 2552) โดยกําหนดใหประเมินเทากับความไวของวิธี mRBT (ก) และ

CFT (ข) ตามเกณฑของสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ

ข) ความไวของการจัดการดานตัวอยาง (b) เปนการประเมินการจัดการดาน

ตัวอยางหรือซีรัมที่ใชทดสอบโรค โดยประเมินการจัดการที่สงผลใหเกิดผลลบลวงจากระบบการ

ทดสอบโรค ไดแก เทคนิคการสุมตัวอยาง ประวัติสัตว เทคนิคการเก็บตัวอยาง การเขียนฉลาก

ตัวอยาง การเก็บรักษาตัวอยางในพื้นที่ การขนสงตัวอยางไปหองปฏิบัติการ การเก็บรักษาตัวอยาง

ในหองปฏิบัติการ คุณภาพเคร่ืองมือทดสอบโรค เทคนิคผูตรวจ และคุณภาพแอนติเจน โดยใชความ

คิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิสและเจาหนาที่กรมปศุสัตวดานสุขภาพสัตว

1.3.7 การประเมินประสิทธิภาพของระบบคัดกรองโรค ไดแก

ก) การประเมินความไวของของระบบคัดกรองโรค (Se2) เพื่อใชในการ

ประเมินโอกาสการตรวจพบผลลบลวงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ติดเชื้อ ในการตรวจคัดกรองที่

ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย (P3) และ โอกาสการตรวจพบผลลบลวงในแพะนมทดแทนนําเขา

ที่ติดเชื้อในการตรวจคัดกรองซ้ํา (P6) โดยมแีนวคดิดังแสดงในภาพที ่8 และใชขอมูลในการคํานวณ

ดังแสดงในตารางที่ 30

Page 103: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

87

87

ภาพท่ี 8 แนวคิดการประเมินความไวของระบบคัดกรองโรคบรูเซลโลสิส

ความไวของของระบบคัดกรองโรค (Se2) ประกอบไปดวย

1) ความไวของชุดคัดกรองโรคทางหองปฏิบัติการ (c) ในการตรวจคดั

กรองตอการติดเชือ้ Brucella spp. ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย และการตรวจคัดกรองซ้ําหลัง

หลังการกักอยางนอย 6 สัปดาห จะใชวิธี mRBT โดยกําหนดใหประเมินเทากับความไวของวิธี

mRBT (ก) ตามเกณฑของสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ

2) ความไวของการจัดการดานตัวอยาง (b) จะประเมนิเหมอืน

ขอ 1.3.6 ข)

ข) การประเมินความจําเพาะของระบบคัดกรองโรค (Sp) เพื่อใชในการ

ประเมินโอกาสการตรวจพบผลลบจริงในแพะนมทดแทนนําเขาที่ไมติดเชื้อ ในการตรวจคัดกรองที่

ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย (P4 ) และโอกาสการตรวจพบผลลบจริงในแพะนมทดแทนนําเขา

ที่ไมติดเชื้อในการตรวจคัดกรองซ้ํา (P7) โดยมแีนวคดิดังแสดงในภาพที ่9 และใชขอมูลในการ

คํานวณดังแสดงในตารางที่ 30

ความไวของการจัดการดานตัวอยาง (b)

ความไวของชุดคัดกรองโรคทางหองปฏิบัติการ (c)

ความไวของระบบคดักรองโรค (Se2)

ความไวของ mRBT (ก)

Page 104: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

88

88

ภาพท่ี 9 แนวคิดการประเมินความจําเพาะของระบบคัดกรองโรคบรูเซลโลสิส

ความจําเพาะของของระบบคัดกรองโรค (Sp) ประกอบไปดวย

1) ความเพาะจําของชุดคัดกรองโรคทางหองปฏิบัติการ (d) ในการตรวจ

คัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย และการตรวจคัดกรองซ้ํา

หลังการกักอยางนอย 6 สัปดาห จะใชวิธี mRBT โดยกําหนดใหประเมินเทากับความจําเพาะของวิธี

mRBT (ก) ตามเกณฑของสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ

2) ความจําเพาะของการจัดการดานตัวอยาง (e) เปนการประเมินการ

จัดการดานตัวอยางหรือซีรัมที่ใชทดสอบโรค โดยประเมินการจัดการที่สงผลใหเกิดผลบวกลวงจาก

ระบบคัดกรองโรค ไดแก เทคนิคการสุมตัวอยาง ประวัติสัตว การเขียนฉลากตัวอยาง คุณภาพ

เคร่ืองมือทดสอบโรค เทคนิคผูตรวจ และคุณภาพแอนติเจน โดยประเมินจากความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิสและเจาหนาที่กรมปศุสัตวดานสุขภาพสัตว

ความจําเพาะของการจัดการดานตัวอยาง (e)

ความจําเพาะของชุดคัดกรองโรคทางหองปฏิบัติการ (d)

ความจําเพาะของระบบคดักรองโรค (Sp)

ความจําเพาะของ mRBT (ค)

Page 105: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

89

89

ตารางท่ี 30 การประเมินความไวของระบบทดสอบโรค (Se1) ความไวของระบบคดักรองโรค

(Se2) และ ความจําเพาะของระบบคดักรองโรค (Sp) ตามแนวคดิในภาพที ่7, 8 และ 9

ตัวแปร การกระจายตัว พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

ความไว mRBT (ก) Uniform คาตํ่าสุด 98.1 มนยา และคณะ, 2553

คาสูงสดุ 99.8 มนยา และคณะ, 2553

ความไวของ CFT (ข) Uniform คาตํ่าสุด 87.05 มนยา และคณะ, 2553

คาสูงสดุ 98.32 มนยา และคณะ, 2553

ความจําเพาะ mRBT (ค) Uniform คาตํ่าสุด 98.2 มนยา และคณะ, 2553

คาสูงสดุ 98.8 มนยา และคณะ, 2553

ความไวของชุดทดสอบ

โรคในหองปฏิบัติการ

(a)

- - (ก) x (ข) การคํานวณ

ความไวของการจัดการ

ตัวอยาง (b)

Discrete คะแนน ตาราง

ผนวกที่ ง1

ความเห็นผูเชี่ยวชาญ

ความไวของชุดคัดกรอง

โรคในหองปฏิบัติการ

(c)

- - (ก) การคํานวณ

ความจําเพาะของ

ชุดคัดกรองโรคใน

หองปฏิบัติการ (d)

- - (ค)

ความจําเพาะของ

การจัดการตัวอยาง (e)

Discrete คะแนน ตาราง

ผนวกที่ ง2

ความเห็นผูเชี่ยวชาญ

Page 106: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

90

90

ตารางท่ี 30 (ตอ)

ตัวแปร การกระจายตัว พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

ความไวของระบบ

ทดสอบโรค (Se1)

- - (a) x (b) การคํานวณ

ความไวของระบบ

คดักรองโรค (Se2)

- - (c) x (b) การคํานวณ

ความจําเพาะของระบบ

คดักรองโรค (Sp)

- - (d) x (e) การคํานวณ

1.4 ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ

การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดจะใชขอมูลใน

การคํานวณตามตารางที่ 31

Page 107: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

91

91

ตารางท่ี 31 ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัด

ตวัแปร รูปแบบการ

กระจายตวั

พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

จํานวนแพะนมทดแทนนําเขา Pert คาต่ําสุด 0 distribution fitted จาก

ขอมูลจากการสัมภาษณ ฐานนิยม 0

คาสูงสุด

6

โอกาสการเคล่ือนยายแพะนม

ทดแทนตามระเบียบกรม

ปศสุตัว (P1)

Beta จาํนวนแพะที่

เคล่ือนยายตาม

ระเบียบกรมปศุสัตว

(ตัว/ป)

99

การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ

จาํนวนแพะนาํเขา

(ตัว/ป)

110 การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ

โอกาสการนาํเขาแพะนม

ทดแทนที่ติดเช้ือ (ความชุก

ระดับตัวสัตวที่แทจริงตอการ

ติดเช้ือ Brucella spp. ในแพะ

นมในพ้ืนที่ของฟารมตนทาง

ตางจังหวัด) (P2)

Beta จํานวนสัตวที่ใหผล

บวกจริง

จํานวนผล

ลบลวงa +

517b

a) การคาํนวณ

b) นพวรรณ (2552);

อนสุรณ และ ภรณชนก

(2555); Chetiyawan

and Antarasena (2012);

ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ผลรวมจาํนวนสัตว

ที่ทดสอบโรคใน

พ้ืนที่ฟารมตนทาง

16,051 นพวรรณ (2552);

อนสุรณ และ ภรณชนก

(2555); Chetiyawan

and Antarasena (2012)

Page 108: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

92

92

ตารางท่ี 31 (ตอ)

ตวัแปร รูปแบบการ

กระจายตวั

พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

จาํนวนแพะนมทดแทนที่ผล

ตรวจ ผิดพลาดเปนลบลวง

NegBinomial ผลรวมจาํนวนสัตว

ที่ใหผลบวกจาก

หองปฏิบัติการ.

517 นพวรรณ (2552);

อนสุรณ และ ภรณชนก

(2555); Chetiyawan

and Antarasena (2012);

ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ความไวของระบบ

ทดสอบโรค (Se1)

(a) x (b) ตารางที่ 29

โอกาสการตรวจพบผลลบ

ลวงในแพะนมทดแทน

นําเขาที่ติดเช้ือในการตรวจ

คัดกรองที่ฟารมตนทางกอน

การเคล่ือนยาย (P3)

- - P2 x

(1- Se2)

ตารางที่ 29

โอกาสการตรวจพบผลลบ

จริงในแพะนมทดแทน

นําเขาที่ไมติดเช้ือในการ

ตรวจคัดกรองที่ฟารมตนทาง

กอนการเคล่ือนยาย (P4 )

- - P2 x Sp ตารางที่ 29

Page 109: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

93

93

ตารางท่ี 31 (ตอ)

ตวัแปร รูปแบบการ

กระจายตวั

พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

โอกาสการกักแพะนมทดแทน

อยางนอย 6 สัปดาหและตรวจ

คัดกรอง ครั้งที่ 2 กอนนําเขา

เล้ียงในโรงเรือน (P5)

Beta จาํนวนแพะนม

ทดแทนที่ตรวจคัด

กรองโรคครั้งที่ 2

หลังการกักอยาง

นอย 6 สัปดาห

(ตัว/ป)

32

การสัมภาษณ

จาํนวนแพะนม

ทดแทนนําเขาที่

ตรวจคัดกรองโรค

กอนการเคล่ือนยาย

(ตัว/ป)

99 การสัมภาษณ

โอกาสการพบผลลบลวงจาก

การตรวจคัดกรองการติดเช้ือ

Brucella spp. ครั้งที่ 2 หลัง

การกักสัตวอยางนอย 6

สัปดาห กอนนําเขาโรงเรือน (P6)

- - P5 x

(1- Se2)

ตารางที่ 29

โอกาสการพบผลลบจรงิจาก

การตรวจคัดกรองการติดเช้ือ

Brucella spp. ครั้งที่ 2 หลัง

การกักสัตวอยางนอย 6

สัปดาห กอนนําเขาโรงเรือน (P7)

- - P5 x Sp

ตารางที่ 29

หมายเหตุ สสช. = สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว

Page 110: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

94

94

1.5 ผลการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนม

ในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว ตามเหตุการณ 4

แบบ

จากอัตราการติดเชื้อ Brucella spp. ระดับตัวในพื้นที่ตนทางของฟารมแพะนม

ทดแทนนําเขามีคาเฉลี่ยเปนรอยละ 3.65 รวมกับขอมูลของตัวแปร ดังแสดงในตารางที่ 31 สามารถ

คาํนวณโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการ

นําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว ตามเหตุการณ 4 แบบ ไดดังน้ี

ในกรณีที่มกีารตรวจคดักรองที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมีการ

ตรวจคดักรองโรคคร้ังที่ 2 หลงัการกักสัตวอยางนอย 6 สปัดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือนที่ฟารม

ในกรุงเทพฯ (แบบ 1) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมโดยผาน

การนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว มีคามัธยฐานเปน 6.14 x 10-3 หรืออยู

ในชวง 1.82 x 10-3 ถึง 2.33 x 10-2 (ตารางที่ 32) กลาวคือ ถามีการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัด 100,000 ตัว จะมี 614 ตัว เปนแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อ Brucella spp.

ในกรณีที่มกีารตรวจคดักรองโรค ที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย แตไมมีการกัก

สัตวที่ฟารมในกรุงเทพฯ และไมมีการตรวจคดักรองโรคคร้ังที่ 2 กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน (แบบ

2) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมโดยผานการนําเขาแพะนม

ทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว มีคามัธยฐานเปน 6.62 x 10-3 หรืออยูในชวง 1.97 x 10-3

ถึง 2.60 x 10-2 (ตารางที่ 32) กลาวคือ ถามีการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด 100,000

ตัว จะมี 662 ตัว เปนแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อ Brucella spp.

ในกรณีที่มกีารตรวจคดักรองโรค 2 คร้ังกอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน แตมีระบบการ

คัดกรองโรคที่มีประสิทธิภาพตํ่า หรือความไวของระบบคัดกรองโรคเปนรอยละ 50 (แบบ 3) พบวา

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมตางจังหวัดในแตละตัว มีคามัธยฐานเปน 1.96 x 10-2 หรืออยูในชวง 1.46 x 10-2 ถึง 3.44 x 10-2

(ตารางที่ 32) กลาวคือ ถามีการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด 10,000 ตัว จะมี 196 ตัว

เปนแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อ Brucella spp.

Page 111: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

95

95

ในกรณีที่มีการลักลอบเคลื่อนยายแพะนมทดแทนเขาโรงเรือนในกรุงเทพฯ โดยไม

มกีารตรวจคดักรองโรค (แบบ 4) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนม

โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว มีคามัธยฐานเปน 3.65 x 10-2

หรืออยูในชวง 2.85 x 10-2 ถึง 5.48 x 10-2 (ตารางที่ 32) กลาวคือ ถามีการนําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมตางจังหวัด 10,000 ตัว จะมี 365 ตัวเปนแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อ Brucella spp.

ตารางท่ี 32 คาสถิติของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว ตาม

เหตุการณ 4 แบบ

คาสถิติ แบบ 1

(ตรวจคัดกรอง

โรค 2 ครั้ง)

แบบ 2

(ไมตรวจคัดกรอง

โรคที่ฟารม

กรงุเทพฯ)

แบบ 3

(ความไวระบบ

คัดกรองโรคต่ํา)

แบบ 4

(การลักลอบ)

มัธยฐาน 6.14 x 10-3 6.62 x 10-3 1.96 x 10-2 3.65 x 10-2

เฉล่ีย 7.08 x 10-3 7.88 x 10-3 2.01 x 10-2 3.74 x 10-2

ต่ําสุด 1.82 x 10-3 1.97 x 10-3 1.46 x 10-2 2.85 x 10-2

สูงสุด 2.33 x 10-2 2.60 x 10-2 3.44 x 10-2 5.48 x 10-2

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.13 x 10-3 3.75 x 10-3 2.64 x 10-3 3.65 x 10-3

เปรียบเทียบกับแบบ 1

(ชวง)

-

1.09

(1-1.37)

3.18

(1.35-8.57)

5.87

(2.11-18.71)

Page 112: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

96

96

จากกราฟการแจกแจงความนาจะเปน (ภาพที่ 10) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมตางจังหวัดในแตละตัว ในกรณีที่มีการลักลอบเคลื่อนยายแพะนมทดแทนเขาโรงเรือนใน

กรุงเทพฯ (แบบ 4) เปนระดับสูงที่สุด รองลงมาเปนกรณีที่ระบบการคัดกรองโรคที่มีประสิทธิภาพ

ตํ่า (แบบ 3) สวนกรณีที่มกีารตรวจคดักรองที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมีการ

ตรวจคดักรองโรคคร้ังที่ 2 หลังการกักสัตวอยางนอย 6 สปัดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือนที่ฟารม

ในกรุงเทพฯ (แบบ 1) และในกรณีทีไ่มมีการกักสัตวที่ฟารมในกรุงเทพฯ และไมมีการตรวจคดั

กรองโรคคร้ังที่ 2 กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน (แบบ 2) มีโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในระดับใกลเคียงกัน

ภาพท่ี 10 การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแต

ละตัว ตามเหตุการณ 4 แบบ

Page 113: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

97

97

1.6 ผลการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนม

ในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป

ตามเหตุการณ 4 แบบ

จํานวนแพะนมทดแทนนําเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ตอฟารม

ใน 1 ป มีคามัธยฐาน 1 ตัวตอฟารมตอป หรืออยูในชวง 0 ถึง 5 ตัวตอฟารมตอป (ตารางที่ 33) โดยมี

การกระจายตัว ดังแสดงในภาพที่ 11

จํานวนแพะนมทดแทนนําเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ตอป

มีคามัธยฐาน 57 ตัวตอป หรืออยูในชวง 0 ถึง 369 ตัวตอฟารมตอป (ตารางที่ 33) โดยมีการกระจาย

ตัว ดังแสดงในภาพที่ 12

ตารางท่ี 33 คาสถิติของจํานวนแพะนมทดแทนนําเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

คาสถิติ จํานวนแพะนมทดแทนนําเขาโรงเรือน (ตัว)

ตอฟารม ตอป

มัธยฐาน 1 57

เฉลี่ย 0.97 74.19

ตํ่าสุด 0 0

สูงสุด 5 369

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.93 62.40

Page 114: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

98

98

ภาพท่ี 11 รูปแบบการกระจายตัวของจํานวนแพะนมทดแทนทีน่าํเขาโรงเรือนในกรุงเทพฯ ใน 1 ป

(1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

ภาพท่ี 12 รูปแบบการกระจายตัวของจํานวนแพะนมทดแทนทีน่าํเขาโรงเรือนในกรุงเทพฯ

ตอฟารม ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

Page 115: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

99

99

ในกรณีที่มกีารตรวจคดักรองโรคที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมี

การตรวจคดักรองคร้ังที่ 2 หลงัการกักสัตวอยางนอย 6 สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือนที่ฟารม

ในกรุงเทพฯ (แบบ 1) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมโดยผานการ

นําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน 5.44 x 10-3

หรืออยูในชวง 0 ถึง 9.41 x 10-2 (ตารางที่ 34) โดยมีความหมายวา ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มี

โอกาสนําเขาแพะนมทดแทนที่ติดเชื้ออยางนอย 1 ตัว เปนรอยละ 0.54 (ในสถานการณที่มีการ

นําเขาแพะนมทดแทน 1 ตัวตอฟารมตอป) หรือการนําเขาแพะนมทดแทนทุก ๆ 184 ตัว จะพบอยาง

นอย 1 ตัว ที่ติดเชื้อ Brucella spp.

ในกรณีที่มกีารตรวจคดักรองโรคที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย แตไมมีการกัก

สัตวที่ฟารมในกรุงเทพฯ และไมมีการตรวจคดักรองโรคคร้ังที่ 2 กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน (แบบ

2) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมโดยผานการนําเขาแพะนม

ทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน 5.84 x 10-3 หรืออยูในชวง 0

ถึง 1.08 x 10-1 (ตารางที่ 34) โดยมีความหมายวา ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มีโอกาสนําเขาแพะ

นมทดแทนที่ติดเชื้ออยางนอย 1 ตัว เปนรอยละ 0.58 (ในสถานการณที่มีการนําเขาแพะนมทดแทน

1 ตัวตอฟารมตอป) หรือการนําเขาแพะนมทดแทนทุก ๆ 171 ตัว จะพบอยางนอย 1 ตัว ที่ติดเชื้อ

Brucella spp.

ในกรณีที่มกีารตรวจคดักรองโรค 2 คร้ังกอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน แตมีระบบการ

คัดกรองโรคที่มีประสิทธิภาพตํ่า หรือความไวของระบบคัดกรองโรคเปนรอยละ 50 (แบบ 3) พบวา

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน 1.88 x 10-2 หรืออยูในชวง 0 ถึง

1.34 x 10-1 (ตารางที่ 34) โดยมีความหมายวา ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มีโอกาสนําเขาแพะนม

ทดแทนที่ติดเชื้ออยางนอย 1 ตัว เปนรอยละ 1.88 (ในสถานการณที่มีการนําเขาแพะนมทดแทน

1 ตัวตอฟารมตอป) หรือการนําเขาแพะนมทดแทนทุก ๆ 53 ตัว จะพบอยางนอย 1 ตัวที่ติดเชื้อ

Brucella spp.

ในกรณีที่มีการลักลอบเคลื่อนยายแพะนมทดแทนเขาโรงเรือนในกรุงเทพฯ โดยไม

มกีารตรวจคดักรองโรค (แบบ 4) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนม

โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน

Page 116: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

100

100

3.56 x 10-2 หรืออยูในชวง 0 ถึง 2.32 x 10-1 (ตารางที่ 34) โดยมีความหมายวา ในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ มีโอกาสนําเขาแพะนมทดแทนที่ติดเชื้ออยางนอย 1 ตัว เปนรอยละ 3.56 (ในสถานการณ

ที่มีการนําเขาแพะนมทดแทน 1 ตัวตอฟารมตอป) หรือการนําเขาแพะนมทดแทนทุก ๆ 28 ตัว จะ

พบอยางนอย 1 ตัว ที่ติดเชื้อ Brucella spp.

ตารางท่ี 34 คาสถิติของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1

ป ตามเหตุการณ 4 แบบ

คาสถิติ แบบ 1

(ตรวจคัดกรอง

โรค 2 ครั้ง)

แบบ 2

(ไมตรวจคัดกรอง

โรคที่ปลายทาง)

แบบ 3

(ความไวระบบ

คัดกรองโรคต่ํา)

แบบ 4

(การลักลอบ)

มัธยฐาน 5.44 x 10-3 5.84 x 10-3 1.88 x 10-2 3.56 x 10-2

เฉล่ีย 6.88 x 10-3 7.62 x 10-3 1.95 x 10-2 3.58 x 10-2

ต่ําสุด 0 0 0 0

สูงสุด 9.41 x 10-2 1.08 x 10-1 1.34 x 10-1 2.32 x 10-1

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.78 x 10-3 8.82 x 10-3 1.89x 10-2 3.41x 10-2

เปรียบเทียบกับแบบ 1

(ชวง)

-

1.09

(1-1.37)

3.18

(1.35 – 8.57)

5.87

(2.11-18.71)

Page 117: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

101

101

จากกราฟการแจกแจงความนาจะเปน (ภาพที่ 13) พบวาโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนผานการนําเขาแพะนมทดแทนอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป ในกรณีที่มีการ

ตรวจคดักรองที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมีการตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 หลงั

การกักสัตวอยางนอย 6 สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือนที่ฟารมในกรุงเทพฯ (แบบ 1) และ ใน

กรณีที่ไมมีการตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 (แบบ 2) มีความเสี่ยงตอการนําเชื้อเขาสวนใหญอยูใน

ระดับตํ่า สวนในกรณีที่ระบบการตรวจคัดกรองโรคมีความไวตํ่า (แบบ 3) และในกรณีที่มีการ

ลักลอบเคลื่อนยาย (แบบ 4) จะมีการกระจายตัวเบขวา มากกวา แบบ 1 และ 2 แสดงถึงมีความเสี่ยง

ในระดับที่สูงกวา

ภาพท่ี 13 การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยาง

นอย 1 ตัว ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554) ตามเหตุการณ 4 แบบ

Page 118: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

102

102

1.7 ผลการทํา Sensitivity analysis

1.7.1 การทํา Sensitivity analysis ตอโอกาสในการนําเชือ้ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการตอการลดโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว (คาสัมประสิทธิ์

สหสัมพันธเปนลบ) เรียงลําดับจากมากไปนอย คือ ความไวของระบบคดักรอง การเคลื่อนยายแพะ

นมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว (มีการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. กอนการ

เคลื่อนยาย) ความจําเพาะของระบบคัดกรองโรค และการตรวจคัดกรองโรคในแพะนมทดแทน

นําเขาคร้ังที่ 2 หลังกักสัตวอยางนอย 6 สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน (ภาพที่ 14)

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเพิ่มโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในแตละตัว (คาสัมประสิทธิ์

สหสมัพนัธเปนบวก) คือ ความชุกระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะนมในพืน้ที่

ของฟารมตนทางตางจังหวัด (ภาพที่ 14)

Page 119: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

103

103

ภาพท่ี 14 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัดในแตละตัว

หมายเหตุ Se Screening system หมายถึง ความไวของระบบคัดกรองโรค

Prevalence หมายถึง ความชุกระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะนมใน

พื้นที่ของฟารมตนทางตางจังหวัด

Legal movement หมายถึง การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว

Sp Screening system หมายถึง ความจําเพาะของระบบคัดกรองโรค

ProbSecond Screening หมายถึง การตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 หลังกักสัตวอยางนอย 6

สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

Page 120: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

104

104

1.7.2 การทํา Sensitivity analysis ตอโอกาสในการนําเชือ้ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการตอการลดโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป

(คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนลบ) เรียงลําดับจากมากไปนอย คือ ความไวของระบบคดักรอง

การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว (มีการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ

Brucella spp. กอนการเคลื่อนยาย) ความจําเพาะของระบบคัดกรองโรค และการตรวจคัดกรองโรค

ในแพะนมทดแทนนําเขาคร้ังที่ 2 หลังกักสัตวอยางนอย 6 สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

(ภาพที่ 15)

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเพิ่มโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป (คา

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนบวก) คอื จํานวนแพะนมทดแทนนําเขาตอฟารมใน 1 ป และความชุก

ระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะนมในพื้นที่ของฟารมตนทางตางจังหวัด (ภาพที่

15)

Page 121: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

105

105

ภาพท่ี 15 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

หมายเหตุ NumberGoatImportperFarm หมายถึง จํานวนแพะนมทดแทนนําเขาตอฟารมใน 1 ป

Prevalence หมายถึง ความชุกระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะนมใน

พื้นที่ของฟารมตนทางตางจังหวัด

Se Screening system หมายถึง ความไวของระบบคัดกรองโรค

Legal movement หมายถึง การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว

Sp Screening system หมายถึง ความจําเพาะของระบบคัดกรองโรค

ProbSecond Screening หมายถึง การตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 หลังกักสัตวอยางนอย 6

สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

Page 122: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

106

106

2. คนที่เขาโรงเรือน

2.1 รูปแบบการนําเสนอความเสี่ยง

นําเสนอในรูปแบบการเปรียบเทียบโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน ซึ่งแยกตามประเภทคนที่

สามารถเขาโรงเรือนไดและมีความเสี่ยงตอการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. เปน 3 กลุม ดังน้ี

กลุม 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย หมายถึง เจาหนาที่สังกัดกรมปศุสัตว

หรือสัตวแพทยจากหนวยงานเอกชนหรือมหาวิทยาลัย ที่มีโอกาสเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ เพื่อตรวจสุขภาพ รักษา ทําคลอด หรือเก็บตัวอยางจากแพะนมตามโครงการตาง ๆ ของ

กรมปศุสัตว เชน การเก็บซีรัมในโครงการฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิส โดยจัดเปนกลุมเสี่ยง

เน่ืองจากมโีอกาสปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จากการปฏิบัติงานในฟารมปศุสัตวอ่ืน กอนที่จะเขา

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

กลุม 2 คนซื้อแพะ หมายถึง เกษตรกรหรือพอคาคนกลาง ที่ซื้อแพะนมจากฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ ที่มีโอกาสเขาโรงเรือนเพื่อคัดเลือกแพะนมที่ตองการซื้อ โดยจัดเปนกลุมเสี่ยง

เน่ืองจากคนซื้อแพะมีโอกาสมีโอกาสปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากการเขาไปเลือกซื้อสัตวใน

ฟารมปศุสัตวอ่ืนกอนที่จะเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

กลุม 3 เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม หมายถึง เกษตรกรผูเปนเจาของฟารมแพะ

นมในกรุงเทพฯ ที่มีหนาที่เลี้ยงแพะนมตามวงจรผลิตในโรงเรือน โดยมีความเสี่ยงเนื่องจากมี

โอกาสปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จากนอกฟารมโดยการเขาไปเลือกซื้อแพะนมทดแทน เลือกยืม

พอพันธุเพื่อการผสม หรือชวยปฏิบัติงานในฟารมสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิส เชน ทําความสะอาด

โรงเรือน หรือชวยทําคลอด เปนตน

Page 123: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

107

107

2.2 วิถี (Pathway) ที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ

การประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานคนที่เขาโรงเรือน จะประเมินแยกตามกลุมคนที่เขาโรงเรือน 3 กลุมขางตน โดย

ใชวิถีการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนที่เขา

โรงเรือนในรูปแบบเดียวกนั ดังแสดงในภาพที ่16 และนิยามคําศัพทไดอธิบายในตารางที่ 35

Page 124: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

108

โรงเรือนแพ

ะนม

ภาพท่ี 16 วิถี (Pathway) ของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน

คนท่ีเขา

โรงเรือน

เขา (E)

ไมเขา (1-E)

การเขาฟารมตน

ทางที่มี

โรคบรูเซลโลสิส

ทาํ (B)

ไมทํา (1-B)

ปนเปอน (C)

ไมปนเปอน (1-C)

การลด

การ

ปนเปอน

การลด

การ

ป ป

การปนเปอนเช้ือ

จากฟารมตนทาง

1-

2+

3-

4-

5-

6-

ฟารมกรุงเทพฯ ฟารมตนทาง

ทาํ (B)

ไมทํา (1-B)

การลด

การ

ป ป

ทาํ (B)

ไมทํา (1-B)

สัดสวนการปนเปอนเช้ือ (R)

ความไวของ

ระบบทดสอบโรค (Se1)

การลด

การ

ปนเปอน

การลด

การ

ปนเปอน

Page 125: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

109

109

ตารางท่ี 35 นิยามที่ใชในวิถีการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานทางคนที่เขาโรงเรือน เพื่อการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ

คําศัพท นิยาม

ฟารมตนทาง ฟารมสัตวนําโรคตนทาง ไดแก แพะเน้ือ แพะนม แกะ

โคเน้ือ โคนม กระบือ และสุกร

ฟารมกรุงเทพฯ ฟารมแพะนมที่ต้ังอยูในกรุงเทพฯ (ฟารมปลายทาง)

โรงเรือนแพะนม โรงเรือน คอก หรือพื้นที่ในฟารมแพะนม ในกรุงเทพฯ

ที่มีการเลี้ยงแพะนมตามวงจรการผลิต ทั้งน้ีไมรวม

โรงเรือน คอก หรือพื้นที่ในฟารมที่ใชกักกันสัตวตัว

ใหมกอนนําเขาเลี้ยง

คนที่เขาโรงเรือน คน 3 กลุม ที่สามารถเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ และมีความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือน ไดแก

กลุม 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย

กลุม 2 คนซื้อแพะ

กลุม 3 เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม

การเขาฟารมตนทางที่มีโรค

บรูเซลโลสิส

โอกาสที่คน 3 กลุมขางตนจะเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปน

โรคบรูเซลโลสสิ กอนเขาโรงเรือนแพะนมในฟารมใน

กรุงเทพฯ

Page 126: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

110

110

ตารางท่ี 35 (ตอ)

คําศัพท นิยาม

เขา (E) คน 3 กลุมขางตนเขาฟารมตนทางที่มีสัตวเปน

โรคบรูเซลโลสสิ กอนเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ

ไมเขา (1-E) คน 3 กลุมขางตนไมเขาฟารมตนทางที่มีสัตวเปน

โรคบรูเซลโลสสิ กอนเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ

การปนเปอนเชื้อจากฟารมตนทาง

โอกาสที่คน 3 กลุมขางตนมีการปนเปอนเชื้อ

Brucella spp. จากฟารมตนทางมากับรางกายหรือ

เสื้อผา

ปนเปอน (C) คน 3 กลุมขางตนมีการปนเปอนเชื้อ Brucella spp.

จากฟารมตนทางมากับรางกายหรือเสื้อผา

ไมปนเปอน(1-C) คน 3 กลุมขางตนไมมีการปนเปอนเชื้อ

Brucella spp. จากฟารมตนทาง

สัดสวนการปนเปอนเชื้อ (R) โอกาสที่คน 3 กลุมขางตนสัมผัสเชื้อ Brucella spp.

จากสิ่งคัดหลั่งของสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิส

ความไวของระบบทดสอบโรค (Se1) ประสิทธิภาพในการคนหาแพะที่ติดเชื้อ

Brucella spp. ที่แทจริงในการสํารวจความชุก

Page 127: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

111

111

ตารางท่ี 35 (ตอ)

คําศัพท นิยาม

การลดการปนเปอน การลดการปนเปอนของเชื้อ Brucella spp. กอนเขา

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มี 2 รูปแบบ

1. มีการพักโรคโดยไมเขาโรงเรือนแพะนมมากกวา 1

ฟารมภายในวันเดียวกนั

2. มีการจุมรองเทาดวยนํ้ายาฆาเชื้อรวมกับมีการ

อาบนํ้าสระผม เปลี่ยนเสื้อผา กอนเขาโรงเรือน

ทํา (B) คน 3 กลุมขางตนมีการลดการปนเปอนกอนเขา

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

ไมทํา (1-B) คน 3 กลุมขางตนไมมีการลดการปนเปอนกอนเขา

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ หรือทําไมครบ

ทุกขั้นตอน

Page 128: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

112

112

2.3 ขอกําหนดและแนวคิดของการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณในปจจัยคนที่เขา

ฟารมในการศึกษานี้

การประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารม

แพะนมที่เขาโรงเรือน จะประเมินโดยนําโอกาสการเขาฟารมตนทางที่มีโรคบรูเซลโลสิส x โอกาส

การปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จากฟารมตนทางนั้น x โอกาสการลดการปนเปอน โดยกาํหนดให

การเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ของคนทั้ง 3 กลุม ไมมีการปนเปอนเชื้อ

Brucella spp. ระหวางเดินทาง รายละเอียดแตละเหตุการณมีดังน้ี

2.3.1. โอกาสการเขาฟารมตนทางที่มีโรคบรูเซลโลสิส จะประเมินเทากับความชุก

ระดับฝูงตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในพื้นที่ฟารมตนทาง เนื่องจากความโรคชุกระดับฝูงสามารถ

แบงสัดสวนฟารมที่เปนโรคและไมเปนโรคได โดยชนิดสัตวและที่ต้ังของฟารมตนทางที่คนแตละ

กลุมมีโอกาสเขาฟารมจะแตกตางกันขึ้นอยูกับพื้นที่ที่รับผิดชอบ และบทบาทหนาที่ รายละเอียด

ดังน้ี

กลุม 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยที่สามารถเขาโรงเรือนแพะนม

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ในการศึกษาน้ี เปนเจาหนาที่ของสํานักงานปศุสัตวกรุงเทพฯ และ

คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ตามลําดับ ซึ่งมีพื้นที่ที่รับผิดชอบดูแล

เกษตรกรผูเลี้ยงสัตวปศุสัตวทุกชนิดที่อยูภายในเขตกรุงเทพฯ เทาน้ัน ดังนั้นโอกาสของเจาหนาที่

กรมปศุสัตวและสัตวแพทยเขาฟารมตนทางที่มีโรคบรูเซลโลสิสจะประเมินเทากับความชุกระดับ

ฝูงตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในฟารมสัตวนําโรค (แพะเน้ือ แพะนม แกะ โคเน้ือ โคนม กระบือ

และสุกร) ในพื้นที่กรุงเทพฯ โดยสัดสวนของฟารมในกรุงเทพฯ เปนฟารมโคเน้ือรอยละ 66.86

แพะเน้ือรอยละ 13.92 แพะนมรอยละ 12.66 และอ่ืน ๆ รอยละ 6.56 (ศูนยสารสนเทศ กรมปศุสัตว,

2555)

Page 129: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

113

113

กลุม 2 คนซื้อแพะที่สามารถเขาโรงเรือนแพะนมในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ ในการศึกษาน้ี เปนเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมที่มาจากกรุงเทพฯ สุพรรณบุรี ลพบุรี สระบุรี

ฉะเชิงเทรา และสมุทรปราการ โดยคนซื้อแพะเปนเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการเลี้ยง

แพะนมเทาน้ัน สงผลใหโอกาสที่คนซื้อแพะเขาฟารมสัตวชนิดอ่ืน หรือไดรับการปนเปอนเชื้อ

Brucella spp. จากสัตวนําโรคชนิดอ่ืนจึง เปนระดับ “แทบจะไมพบ” (ขอมูลจากการสัมภาษณและ

ความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ) ดังนั้นโอกาสคนซื้อแพะเขาฟารมตนทางที่มีโรคบรูเซลโลสิสจะ

ประเมินเทากับความชุกระดับฝูงตอการติดเชื้อ Brucella spp. ของแพะนมในพื้นที่จังหวัดดังกลาว

ขางตน

กลุม 3 เกษตรกรเจาของฟารมแพะนมในการศึกษาน้ี สวนใหญจะเลี้ยง

แพะนมอยางเดียวเทาน้ัน (รอยละ 97.30) สงผลใหโอกาสเขาฟารมสัตวชนิดอ่ืน หรือไดรับการ

ปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากสัตวนําโรคชนิดอ่ืนจึง เปนระดับ “แทบจะไมพบ” และมีโอกาสการ

ปนเปอนเชื้อจากฟารมอ่ืนโดยการเขาไปเลือกซื้อแพะนมทดแทนและเลือกยืมพอพันธุเพื่อการผสม

(ขอมูลจากการสัมภาษณและความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ) ดังน้ันโอกาสที่เกษตรกรเจาของฟารม

แพะนมเขาฟารมตนทางที่มีโรคบรูเซลโลสิสจะประเมินเทากับความชุกระดับฝูงตอการติดเชื้อ

Brucella spp. ของแพะนมในพื้นที่ของฟารมตนทางที่จําหนายแพะนมทดแทนและฟารมที่ใหยืมพอ

พันธุเพื่อการผสมแกเกษตรเจาของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ไดแก กรุงเทพฯ สุพรรณบุรี ลพบุรี

สระบุรี นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ และชลบุรี

2.3.2 โอกาสการปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จากฟารมตนทาง ประเมินจากความ

ชุกระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. x สัดสวนการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. รายละเอียด

ดังน้ี

ก) ความชุกระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในฟารมตนทาง

นํามาใชในการประเมินโอกาสกลุมคนที่เขาโรงเรือนมีการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตน

ทาง เนื่องจากปริมาณของเชื้อที่สัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสปลอยออกมากับสิ่งคัดหลั่งขึ้นกับความชุก

หรือจํานวนสัตวที่เปนโรคภายในฟารม (Radostits et al., 2012) โดยฟารมตนทางของแตละกลุมคน

จะเปนแหลงเดียวกบัขอ 2.3.1 ซึ่งตองนํามาคิดรวมกับความไวของระบบทดสอบโรค (Se1)

ดังแสดงในตารางที่ 36, 37 และ 38

Page 130: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

114

114

ข) สัดสวนการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทางของคนที่เขา

โรงเรือน ขึ้นกับปจจัยดังตอไปน้ี

1) โอกาสการเขาฟารมที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสที่อยูในภาวะต้ัง

ทอง หรือแทง ซึ่งเปนชวงที่สัตวขับเชื้อออกมากับสิ่งคัดหลั่งเปนปริมาณมาก (European

commission, 2001; The Center for Food Security and Public Health, 2009b; Radostits et al.,

2012) โดยแตละกลุมคนที่เขาโรงเรือนจะมีโอกาสดังกลาวแตกตางกัน ขึ้นอยูกับบทบาทหนาที่

รายละเอียดดังน้ี

กลุม 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย จะมีโอกาสการเขา

ฟารมที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสที่อยูในภาวะต้ังทอง หรือแทงมากกวาคนกลุมอ่ืน เน่ืองจากมี

หนาที่ตองดูแลสุขภาพสัตว เชน ชวยทําคลอด ตรวจสุขภาพสัตว หรือรักษาสัตวที่ทองหรือแทง

โดยจะประเมินโอกาสที่เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยเขาฟารมที่มีสัตวเปนโรค

บรูเซลโลสิสที่อยูในภาวะต้ังทอง หรือแทง เปนรอยละ 20 (ขอมูลจากการสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ)

กลุม 2 คนซื้อแพะ และกลุม 3 เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ใน

การศึกษานี้แทบจะไมมีบทบาทในการเขาฟารมที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสที่อยูในภาวะต้ังทอง

หรือแทง สวนใหญจะเปนความบังเอิญในการเขาไปเลือกซื้อแพะนมในฟารมที่มีสัตวอยูในภาวะ

ดังกลาว และถาเกษตรกรฟารมตนทางมีสัตวที่มีปญหาดานสุขภาพ สวนใหญจะงดการซื้อขายหรือ

งดการเคลื่อนยายสัตวเขาหรือออกฟารม ดังน้ันจะประเมินโอกาสที่คนซื้อแพะและเกษตรกรเจาของ

ฟารมแพะนม จะเขาฟารมที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสที่อยูในภาวะต้ังทอง หรือแทง เปนรอยละ 5

(ขอมูลจากการสัมภาษณและความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ)

Page 131: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

115

115

2) โอกาสการทํากิจกรรมที่มีการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งของสัตวที่เปน

โรคบรูเซลโลสิสโดยตรง โดยแตละกลุมคนที่เขาโรงเรือนจะมีโอกาสดังกลาวแตกตางกัน ขึ้นอยูกับ

บทบาทหนาที่ของคนแตละกลุม ดังนี้

กลุม 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยในพื้นที่จะเขาทําการ

ชวยทําคลอด ตรวจสุขภาพสัตว หรือรักษาโรคทางระบบสืบพันธุเมื่อมีการรองขอจากเกษตรกร แต

โดยสวนใหญจะมีการปองกันตนเองทุกคร้ังโดยการสวมถุงมือ และทําความสะอาดรางกายดวยสบู

หรือนํ้ายาฆาเชื้อโรค ดังน้ันโอกาสที่เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยจะมีการปนเปอนเชื้อ

Brucella spp. จากการปฏิบัติงานจึงเปนระดับตํ่ามาก โดยจะประเมินโอกาสการทํากิจกรรมที่มีการ

สัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งของสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิสโดยตรง เปนนอยกวารอยละ 5 ซึ่งไดคิดความ

ผิดพลาดหรือความคลาดเคลื่อนของระบบปองกันโรคไวดวย เชน กรณีที่ถุงมือมีการร่ัวหรือแตก

และนํ้ายาฆาเชื้อโรคที่ใชมีประสิทธิภาพไมเพียงพอตอการทําลายเชื้อ (ขอมูลจากการสัมภาษณและ

ความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ)

กลุม 2 คนซือ้แพะ การเลือกซื้อแพะจะเปนการสังเกตความสมบูรณ

และรูปรางแพะจากภายนอก โดยสวนใหญจะไมมีการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งจากตัวแพะ ดังน้ันโอกาสที่

คนซื้อแพะทํากิจกรรมที่มีการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งของสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิสโดยตรงจึงเปน

ระดับ “แทบจะไมพบ” (ขอมูลจากการสัมภาษณและความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ)

กลุม 3 เกษตรกรเจาของฟารมแพะนมในพื้นที่กรุงเทพฯ มีโอกาส

เขาฟารมอ่ืนเพื่อเลือกซื้อแพะนมทดแทน และการเลือกพอพันธุเพื่อใชในการผสมเทาน้ัน โดยจะใช

วิธีการสังเกตความสมบูรณ และรูปรางแพะจากภายนอก ซึ่งสวนใหญจะไมมีการสัมผัสสิ่งคัดหลั่ง

จากตัวแพะ ดังน้ันโอกาสที่เกษตรกรเจาของฟารมแพะนมทํากิจกรรมที่มีการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่ง

ของสัตวที่ติดเชื้อโดยตรงจึงเปนระดับ “แทบจะไมพบ” (ขอมูลจากการสัมภาษณและความคิดเห็น

จากผูเชี่ยวชาญ)

Page 132: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

116

116

3) โอกาสการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งของสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิส

ทางออม ไดแก การสัมผัสเชื้อ Brucella spp. ที่ปนเปอนในสิ่งแวดลอม ซึ่งทําใหเชื้อปนเปอนมากับ

รองเทา หรือเสื้อผา โดยโอกาสการสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งของสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิสทางออม

ของคนทั้ง 3 กลุมจะประเมินในระดับเดียวกัน คือ รอยละ 5 ทั้งน้ีจะขึ้นกับภาวะของสัตวที่เปนโรค

ภายในฟารมตามขอ 1) (ขอมูลจากการสัมภาษณและความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ)

การประเมินสัดสวนการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง

ของคนที่เขาโรงเรือนในแตละกลุมคน จะคํานวณโดย นําโอกาสที่คนเขาฟารมที่มีสัตวติดเชื้ออยูใน

ภาวะต้ังทอง หรือแทง (ขอ 1)) x กรณีที่เลวรายที่สุด (worst-case) ระหวางโอกาสการสัมผัสกับสิ่ง

คัดหลั่งของสัตวที่เปนโรคบรูเซลโลสิสทางตรง (ขอ 2)) หรือทางออม (ขอ 3)) ดังน้ี

กลุม 1 เจาหนาที่กรมปศุสัตว มีสัดสวนการปนเปอนเชื้อเปน 0.2 x 0.05 = 0.01

กลุม 2 คนซื้อแพะมีสัดสวนการปนเปอนเชื้อเปน 0.05 x 0.05 = 0.0025

กลุม 3 เกษตรกรเจาของฟารมแพะนมมีสัดสวนการปนเปอนเชื้อเปน 0.05 x 0.05 = 0.0025

2.3.3 การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน ไดใหคําจํากัดความเปน 2 รูปแบบ คือ

รูปแบบ 1 มีการพักโรคโดยไมเขาโรงเรือนแพะนมมากกวา 1 ฟารมภายในวันเดียวกัน หรือ

รูปแบบ 2 มีการจุมรองเทาดวยนํ้ายาฆาเชื้อรวมกับมีการอาบนํ้า สระผม เปลี่ยนเสื้อผา กอนเขา

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยกาํหนดวา การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือนจะมี

ประสิทธิภาพเพียงพอตอการกําจัดเชื้อ Brucella spp. ที่ปนเปอนมากับรางกายหรือเสื้อผาใหหมด

สิ้น (รอยละ 100) เมื่อมีการปฏิบัติการลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือนในรูปแบบ 1 หรือ 2 ครบทุก

ขั้นตอน เนื่องจากรูปแบบ 1 การพักโรคหรือการไมเขาฟารมมากกวา 1 ฟารมในวันเดียวกนั คนที่

เขาฟารมจะตองกลับที่พัก มีการอาบนํ้าชําระรางกาย และเปลี่ยนเสื้อผา ซึ่งเชื้อที่ปนเปอนมากับ

รางกายหรือเสื้อผาน้ันสามารถถูกกําจัดออกไปได และ รูปแบบ 2 มีการจุมรองเทาดวยนํ้ายาฆาเชื้อ

รวมกับมีการอาบนํ้า สระผม เปลี่ยนเสื้อผา กอนเขาโรงเรือน ถาปฏิบัติไดครบทุกขั้นตอนสามารถ

ทําลายเชื้อที่ติดมากับรองเทาจากการใชนํ้ายาฆาเชื้อ และมีการกําจัดเชื้อที่ปนเปอนมากับรางกาย

หรือเสื้อผาจากการอาบนํ้าและเปลี่ยนเสื้อผาได (ขอมูลจากการสัมภาษณและความคิดเห็นจาก

ผูเชี่ยวชาญ) สัดสวนการลดการปนเปอนในแตละกลุมไดขอมูลจากการสัมภาษณเจาหนาที่กรม

ปศุสัตวในพื้นที่ เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ถึงจํานวนการปฏิบัติการลดการปนเปอนกอนเขา

โรงเรือน รวมกับความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ

Page 133: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

117

117

ตารางท่ี 36 ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย

(กลุม 1)

ตวัแปร การกระจายตวั พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

จํานวนการเขาโรงเรือนของ

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทยตอฟารมใน 1 ป

(ครั้ง)

Pert คาต่ําสุด 0 การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ ฐานนิยม 2

คาสูงสุด

6

ความชุกตอการตดิเช้ือ

Brucella spp. ในระดับฝูง

ในฟารมสัตวนําโรคใน

พ้ืนที่ตนทาง (กรงุเทพฯ)

(E1)

Beta ผลรวมจํานวนฝูงที่

ใหผลบวก

5 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ผลรวมจํานวนฝูงที่

ทดสอบโรค

100 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ความชุกตอการตดิเช้ือ

Brucella spp. ระดับสัตวใน

ฟารมสัตวนําโรคในพ้ืนที่

ตนทาง (กรงุเทพฯ)

Beta จํานวนสัตวที่ใหผล

บวกจริง

จํานวนผลลบ

ลวง a+212

b

a) การคาํนวณ

b) ขอมูลไมไดตีพิมพ

จากสสช.

(C1) ผลรวมจาํนวนสัตว

ที่ทดสอบโรคใน

พ้ืนที่ของฟารม

1,599 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

จํานวนสัตวที่ผลตรวจ

ผิดพลาดเปนลบลวง

NegBinomial จาํนวนผลบวกจาก

หองปฏิบัติการ

212 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ความไวของระบบ

ทดสอบโรค (Se1)

(a) x (b) ตารางที่ 29

สัดสวนการปนเปอนเช้ือ Point data - 0.01 ขอ 2.2

Page 134: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

118

118

ตารางท่ี 36 (ตอ)

ตวัแปร การกระจายตวั พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

โอกาสการลดการปนเปอน

กอนเขาโรงเรือน (รอยละ)

(B1)

Uniform คาต่ําสุด 80 การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ คาสูงสุด 100

หมายเหตุ สสช. = สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว

ตารางท่ี 37 ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนซือ้แพะ (กลุม 2)

ตวัแปร การกระจายตวั พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

จํานวนการเขาโรงเรือนของ

คนซ้ือแพะตอฟารมใน 1 ป

(ครั้ง)

Pert คาต่ําสุด 0 การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ ฐานนิยม 2

คาสูงสุด

4

ความชุกตอการตดิเช้ือ

Brucella spp. ในระดับฝูง

ในฟารมแพะนมในพ้ืนที่ตน

ทาง (ตามขอ 2.3.1 กลุม 2)

(E2)

Beta ผลรวมจํานวนฝูงที่

ใหผลบวก

17 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ผลรวมจํานวนฝูงที่

ทดสอบโรค

158 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ความชุกตอการตดิเช้ือ

Brucella spp. ระดับสัตว

ในฟารมแพะนมในพ้ืนที่

ตนทาง (ตามขอ 2.3.2

กลุม 2)

Beta จํานวนสัตวที่ใหผล

บวกจริง

จํานวนผลลบ

ลวงa +42

b

a) การคาํนวณ

b) ขอมูลไมไดตีพิมพ

จากสสช.

(C2) ผลรวมจํานวนสัตวที่

ทดสอบโรคในพ้ืนที่

ฟารมตนทาง

2,856 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

Page 135: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

119

119

ตารางท่ี 37 (ตอ)

ตวัแปร การกระจายตวั พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

จํานวนสัตวที่ผลตรวจ

ผิดพลาดเปนลบลวง

NegBinomial ผลรวมจาํนวนสัตวที่

ใหผลบวกจาก

หองปฏิบัติการ

42 ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ความไวของระบบ

ทดสอบโรค (Se1)

(a) x (b) ตารางที่ 29

สัดสวนการปนเปอนเช้ือ Point data - 0.0025 ขอ 2.2

โอกาสการลดการ

ปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

(รอยละ)

(B2)

Uniform คาต่ําสุด 0 การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ คาสูงสุด 5

หมายเหตุ สสช. = สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว

ตารางท่ี 38 ขอมูลที่ใชในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเกษตรกรเจาของฟารม (กลุม 3)

ตวัแปร การกระจายตวั พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

จํานวนการเขาโรงเรือนของ

เกษตรกรเจาของฟารมแพะ

นม ตอฟารมใน 1 ป (ครั้ง)

Pert คาต่ําสุด 365 การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ ฐานนิยม 730

คาสูงสุด

900

ความชุกตอการตดิเช้ือ

Brucella spp. ในระดับฝูง

ในฟารมแพะนมในพ้ืนที่ตน

ทาง (ตามขอ 2.3.2 กลุม 3)

(E3)

Beta ผลรวมจํานวนฝูงที่

ใหผลบวก

110 นพวรรณ (2552);

อนสุรณ และ ภรณชนก

(2555); Chetiyawan and

Antarasena (2012);

ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ผลรวมจํานวนฝูงที่

ทดสอบโรค

517

Page 136: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

120

120

ตารางท่ี 38 (ตอ)

ตวัแปร การกระจายตวั พารามิเตอร ขอมูล การอางอิง

ความชุกตอการตดิเช้ือ

Brucella spp. ระดับสัตว

ในฟารมแพะนมในพ้ืนที่

ตนทาง (ตามขอ 2.3.2

กลุม 3)

(C3)

Beta จํานวนสัตวที่ใหผล

บวกจริง

จํานวนผลลบ

ลวงa

+517b

a) การคาํนวณ

b) นพวรรณ (2552);

อนสุรณ และ ภรณชนก

(2555); Chetiyawan and

Antarasena (2012);

ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ผลรวมจาํนวนสัตว

ที่ทดสอบโรคใน

พ้ืนที่ของฟารมตน

ทาง

16,051 นพวรรณ (2552);

อนสุรณ และ ภรณชนก

(2555); Chetiyawan and

Antarasena (2012);

ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

จํานวนสัตวที่ผลตรวจ

ผิดพลาดเปนลบลวง

NegBinomial ผลรวมจาํนวนสัตว

ที่ใหผลบวกจาก

หองปฏิบัติการ.

517 นพวรรณ (2552);

อนสุรณ และ ภรณชนก

(2555); Chetiyawan and

Antarasena (2012);

ขอมูลไมไดตีพิมพจาก

สสช.

ความไวของระบบ

ทดสอบโรค (Se1)

(a) x (b) ตารางที่ 29

สัดสวนการปนเปอนเช้ือ Point data - 0.0025 ขอ 2.2

โอกาสการลดการ

ปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

(รอยละ)

(B3)

Uniform คาต่ําสุด 0 การสัมภาษณและความ

คิดเห็นจากผูเช่ียวชาญ

คาสูงสุด 50

Page 137: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

121

121

2.5 ผลการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนม

ในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของ

ฟารมแพะนมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง

จากอัตราการติดเชื้อ Brucella spp. ระดับฝูงในพื้นที่ตนทางของฟารมปศุสัตวที่

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมมีโอกาสเขาไป

ปนเปอนเชื้อกอนที่จะเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มีคาเฉลี่ย เปน รอยละ 5.68, 11 และ

21.4 ตามลําดับ และอัตราการติดเชื้อระดับตัวสัตวของคน 3 กลุมดังกลาว เปน รอยละ 15.1, 1.71

และ 3.64 ตามลําดับ รวมกับสัดสวนการปนเปอนเชื้อและโอกาสการลดการปนเปอน (ตารางที่ 36,

37 และ 38) สามารถคํานวณโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารม

แพะนม ตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง รายละเอียดตอไปน้ี

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 1) มีคามัธยฐาน

เปน 7.68 x 10-6 หรืออยูในชวง 1.24 x 10-9 ถึง 5.54 x 10-5 (ตารางที่ 39) กลาวคือ ถาเจาหนาที่กรม

ปศุสัตวและสัตวแพทยมีการเขาโรงเรือน 100,000,000 คร้ัง จะมี 768 คร้ัง ที่มีเชื้อปนเปอนเขาสู

โรงเรือน

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานคนซื้อแพะตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 2) มีคามัธยฐานเปน 4.59 x 10-6 หรืออยู

ในชวง 1.48 x 10-6 ถึง 1.20 x 10-5 (ตารางที่ 39) กลาวคือ ถาคนซื้อแพะมีการเขาโรงเรือน

100,000,000 คร้ัง จะมี 459 คร้ังที่มีเชื้อปนเปอนเขาสูโรงเรือน

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมผานเกษตรกรเจาของ

ฟารมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 3) มีคามัธยฐานเปน 1.37 x 10-5 หรืออยูในชวง 6.63 x 10-6

ถึง 3.07 x 10-5 (ตารางที่ 39) กลาวคือ ถาคนซื้อแพะมีการเขาโรงเรือน 10,000,000 คร้ัง จะมี 137

คร้ังที่มีเชื้อปนเปอนเขาสูโรงเรือน

Page 138: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

122

122

ตารางท่ี 39 คาสถิติของโอกาสการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง

จากกราฟการแจกแจงความนาจะเปน (ภาพที่ 17) โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางคน 3 กลุมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง

ระดับสูงที่สุด จะเปนเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ถัดมาเปน เจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทย สวนคนซื้อแพะมีความเสี่ยงในระดับที่ตํ่าที่สุด

ภาพท่ี 17 การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ

และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง

คาสถิติ เจาหนาที่ฯ

(กลุม 1)

คนซือ้แพะ

(กลุม 2)

เกษตรกรฯ

(กลุม 3)

มัธยฐาน 7.68 x 10-6 4.59 x 10-6 1.49 x 10-5

เฉลี่ย 9.04 x 10-6 4.77 x 10-6 1.51 x 10-5

ตํ่าสุด 1.24 x 10-9 1.48 x 10-6 7.29 x 10-6

สูงสุด 5.54 x 10-5 1.20 x 10-5 2.95 x 10-5

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.83 x 10-6 1.37 x 10-6 3.48 x 10-6

Page 139: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

123

123

2.6 ผลของการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป

จํานวนการเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ตอฟารมใน 1 ป ของ

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมมีคามัธยฐาน

เปน 2, 2 และ 705 คร้ังตอฟารมตอป ตามลําดับ (ตารางที่ 40)

จํานวนการเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ตอป ของเจาหนาที่

กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมมีคามัธยฐานเปน 166,

148 และ 52,159 คร้ังตอป ตามลําดับ (ตารางที่ 40)

ตารางท่ี 40 คาสถิติของจํานวนการเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ของเจาหนาที่

กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมตอฟารม

ใน 1 ป

จํานวนการเขาโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ (ครั้ง)

คาสถิติ เจาหนาที่กรมปศุสัตวฯ

กลุม 1

คนซ้ือแพะ

กลุม 2

เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม

กลุม 3

ตอฟารม ตอป ตอฟารม ตอป ตอฟารม ตอป

มัธยฐาน 2 166 2 148 705 52,159

เฉล่ีย 2.33 172.09 2.02 148.88 697.53 51,617.16

ต่ําสุด 0 3 0 7 383 28,367

สูงสุด 6 414 4 293 898 66,483

สวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน

1.14 81.87 0.81 55.52 97.49 7,214.51

Page 140: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

124

124

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยอยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป (กลุม 1) มีคามัธยฐาน

เปน 1.49 x 10-5 หรืออยูในชวง 0 ถึง 1.89 x 10-4 (ตารางที่ 41) โดยมีความหมายวาในฟารมแพะนม

ในกรุงเทพฯ มีโอกาสพบเจาหนาที่ฯ ที่มีเชื้อปนเปอนอยางนอย 1 คร้ัง เปนรอยละ 1.49 x 10-3 (ใน

สถานการณที่เจาหนาที่ฯ เขาโรงเรือน 2 คร้ังตอฟารมตอป) หรือการเขาโรงเรือนทุก ๆ 134,228 คร้ัง

จะพบอยางนอย 1 คร้ัง ที่มีการปนเปอนเชื้อ

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานทางคนซื้อแพะอยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป (กลุม 2) มีคามัธยฐานเปน 9.04 x 10-6 หรืออยู

ในชวง 0 ถึง 4.02 x 10-5 (ตารางที่ 41) โดยมีความหมายวาในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ มีโอกาส

พบคนซื้อแพะที่มีเชื้อปนเปอนอยางนอย 1 คร้ัง เปนรอยละ 9.04 x 10-4 (ในสถานการณที่คนซื้อแพะ

เขาโรงเรือน 2 คร้ังตอฟารมตอป) หรือการเขาโรงเรือนทุก ๆ 221,239 คร้ัง จะพบอยางนอย 1 คร้ัง

ที่มีการปนเปอนเชื้อ

โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานทางเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมอยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป (กลุม 3) มีคามัธยฐานเปน

1.02 x 10-2 หรืออยูในชวง 3.64 x 10-3 ถึง 2.37 x 10-2 (ตารางที่ 41) โดยมีความหมายวาในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ มีโอกาสพบเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมที่มีเชื้อปนเปอนอยางนอย 1 คร้ัง

เปนรอยละ 1.02 (ในสถานการณที่เกษตรกรเจาของฟารมแพะนมเขาโรงเรือน 706 คร้ังตอฟารมตอ

ป) หรือการเขาโรงเรือนทุก ๆ 69,118 คร้ัง จะพบอยางนอย 1 คร้ัง ที่มีการปนเปอนเชื้อ

Page 141: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

125

125

ตารางท่ี 41 คาสถิติของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

จากกราฟการแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อ

แพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป พบวา เกษตรกรเจาของฟารม

แพะนมมีความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในระดับที่สูงที่สุด (ภาพที่ 18) และ

เมื่อเปรียบเทียบระหวางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยกับคนซื้อแพะ พบวาคนซื้อแพะมี

ความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนสูงกวาเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสตัวแพทย

(ภาพที่ 19)

คาสถิติ เจาหนาที่ฯ

(กลุม 1)

คนซือ้แพะ

(กลุม 2)

เกษตรกรฯ

(กลุม 3)

มัธยฐาน 1.49 x 10-5 9.04 x 10-6 1.02 x 10-2

เฉลี่ย 2.09 x 10-5 9.59 x 10-6 1.05 x 10-2

ตํ่าสุด 0 0 3.64 x 10-3

สูงสุด 1.89 x 10-4 4.02 x 10-5 2.37 x 10-2

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.01 x 10-5 4.81 x 10-6 2.84 x 10-3

Page 142: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

126

126

ภาพท่ี 18 การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ

และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม

2554)

ภาพท่ี 19 การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย และ คนซื้อ

แพะ อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

Page 143: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

127

127

2.7 ผลการทํา Sensitivity analysis

2.7.1 การทํา Sensitivity analysis ของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อ

แพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการลดโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

โดยผานคน 3 กลุมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนลบ) คือ การลด

การปนเปอนกอนเขาโรงเรือน โดยจะมีอิทธิพลสูงในกลุมเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยกับ

กลุมเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม (ภาพที่ 20, 21 และ 22)

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเพิ่มโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

โดยผานคน 3 กลุมตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนบวก) คือ การเขา

ฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน และการปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จาก

ฟารมตนทาง โดยทั้ง 3 กลุมมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรการเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปน

โรคบรูเซลโลสสิกอนเขาโรงเรือนเขาใกล +1 มากที่สุด (ภาพที่ 20, 21 และ 22)

Page 144: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

128

128

ภาพท่ี 20 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯโดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทยตอการเขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 1)

หมายเหตุ EntGr1 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน

ContGr1 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง

BiosecurityGr1 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

ภาพท่ี 21 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางคนซื้อแพะตอการเขาโรงเรือน

แตละคร้ัง (กลุม 2)

หมายเหตุ EntGr2 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน

ContGr2 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง

BiosecurityGr2 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

Page 145: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

129

129

ภาพท่ี 22 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเกษตรกรเจาของแพะนมตอการ

เขาโรงเรือนแตละคร้ัง (กลุม 3)

หมายเหตุ EntGr3 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน

ContGr3 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง

BiosecurityGr3 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

2.7.2 การทํา Sensitivity analysis ของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อ

แพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการลดโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

โดยผานคน 3 กลุมอยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป (คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนลบ) คือ การลดการ

ปนเปอนกอนเขาโรงเรือนเชนเดียวกบัโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนม

อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป โดยมีอิทธิพลสูงในกลุมเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยกับกลุม

เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม (ภาพที่ 23, 24 และ 25)

Page 146: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

130

130

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเพิ่มโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

โดยผานคน 3 กลุม อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป (คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนบวก) คอื จํานวนการ

เขาโรงเรือนตอฟารมใน 1 ป การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน และ

การปนเปอนเชือ้ Brucella spp. จากฟารมตนทาง โดยทั้ง 3 กลุมมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของ

จํานวนการเขาโรงเรือนตอฟารมใน 1 ป เขาใกล +1 มากที่สุด (ภาพที่ 23, 24 และ 25)

ภาพท่ี 23 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทย อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป (กลุม 1) (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

หมายเหตุ EntGr1 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน

ContGr1 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง

BiosecurityGr1 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

NumEntperfarmGr1 หมายถึง จํานวนการเขาโรงเรือนตอฟารมใน 1 ป

Page 147: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

131

131

ภาพท่ี 24 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานคนซื้อแพะ อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป

(กลุม 2) (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

หมายเหตุ EntGr2 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน

ContGr2 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง

BiosecurityGr2 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

NumEntperfarmGr2 หมายถึง จํานวนการเขาโรงเรือนตอฟารมใน 1 ป

Page 148: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

132

132

ภาพท่ี 25 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม

อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป (กลุม 3) (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554)

หมายเหตุ EntGr3 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือน

ContGr3 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง

BiosecurityGr3 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน

NumEntperfarmGr3 หมายถึง จํานวนการเขาโรงเรือนตอฟารมใน 1 ป

Page 149: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

133

133

3. ความเสี่ยงเชิงปริมาณโดยรวม (Poverall)

การรวมความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารม

แพะนมในกรุงเทพฯ จะรวมโอกาสในการนําเชื้อเขาโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัวใน 1 ป และจากคนที่เขาโรงเรือนทั้ง 3 กลุม (เจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม) อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป โดยใชสูตร

ดังน้ี

Poverall = 1 – [(1-Pแพะนมทดแทน) x (1-Pเจาหนาที่ฯ) x (1-Pคนซื้อแพะ) x (1-Pเกษตรกรเจาของฟารม)]

เมื่อ (Poverall) คือ โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. สูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด เจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทย คนซื้อแพะ และ เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม

Pแพะนมทดแทน คือ โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. สูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด อยางนอย 1 ตัว ใน 1 ป

Pเจาหนาที่ฯ คือ โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานทางเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยอยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป

Pคนซื้อแพะ คือ โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดย

ผานทางคนซื้อแพะอยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป

Pเกษตรกรเจาของฟารม คอื โอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานทางเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมอยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป

โดยใชขอมูลในการคํานวณ ดังแสดงในตารางที่ 42

Page 150: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

134

134

ตารางท่ี 42 สรุปโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยางนอย 1 ตัวใน 1 ป และ

และคนที่เขาโรงเรือน อยางนอย 1 คร้ังใน 1 ป

ปจจัย คามัธยฐาน ชวง (ตํ่าสุด – สูงสุด)

การนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด 5.44 x 10-3 0 - 9.41 x 10-2

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย 1.49 x 10-5 0 - 1.89 x 10-4

คนซือ้แพะ 9.04 x 10-6 0 - 4.02 x 10-5

เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม 1.02 x 10-2 3.64 x 10-3 - 2.37 x 10-2

ผลความเสี่ยงเชิงปริมาณโดยรวม (Poverall) จากการคํานวณพบวาโอกาสในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานปจจัยเสี่ยงรวม (การนําเขาแพะ

นมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนม) มีคามัธยฐานเปน 1.57 x 10-2 หรืออยูในชวง 4.76 x 10-3 ถึง 6.83 x 10-2 โดยมี

ความหมายวาในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ ถามีปจจัยเสี่ยงรวมเขาโรงเรือน 10,000 หนวย จะมี

ปจจัยเสี่ยง 157 หนวย ที่มีเชื้อ Brucella spp. ปนเปอน และมีกราฟการแจกแจงความนาจะเปน ดัง

แสดงในภาพที ่26

ภาพท่ี 26 การแจกแจงความนาจะเปนของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม

ในรอบ 1 ป

Page 151: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

135

135

ผลการทํา Sensitivity analysis ของโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

ในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด เจาหนาที่

กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม พบวา

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการลดโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนสูงสุด

จากมากไปนอย 3 อันดับแรก (คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนลบ) คือการลดการปนเปอนกอนเขา

โรงเรือนในกลุมเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม ความไวของระบบคัดกรองตอการติดเชื้อ

Brucella spp. และการเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว (ภาพที่ 27)

ตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเพิ่มโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนสูงสุด

จากมากไปนอย 3 อันดับแรก (คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเปนบวก) คือ ความชุกตอการติดเชื้อ

Brucella spp. ในฟารมแพะนมตนทาง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขา

โรงเรือนในกลุมเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม และการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตน

ทางในกลุมเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย (ภาพที่ 27)

Page 152: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

136

136

ภาพท่ี 27 ผลการวิเคราะห Sensitivity analysis ในการประเมินโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัด เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารม

แพะนม

หมายเหตุ Prevalence หมายถึง ความชุกระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะนมใน

พื้นที่ของฟารมตนทางตางจังหวัด

Se Screening system หมายถึง ความไวของระบบคัดกรองโรค

Legal movement หมายถึง การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว

Sp Screening system หมายถึง ความจําเพาะของระบบคัดกรองโรค

ProbSecond Screening หมายถึง การตรวจคัดกรองโรคในแพะนมทดแทนนําเขาคร้ังที่

2 หลังกักสัตวอยางนอย 6 สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน

EntGr1 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือนในกลุม

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย

ContGr1 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทางในกลุมเจาหนาที่

กรมปศสุตัวและสตัวแพทย

BiosecurityGr1 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือนในกลุมเจาหนาที่กรมปศุ

สตัวและสตัวแพทย

EntGr2 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือนในกลุม

คนซือ้แพะ

ContGr2 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทางในกลุมคนซื้อแพะ

Page 153: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

137

137

BiosecurityGr2 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือนในกลุมคนซื้อแพะ

EntGr3 หมายถึง การเขาฟารมอ่ืนที่มีสัตวเปนโรคบรูเซลโลสิสกอนเขาโรงเรือนในกลุม

เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม

ContGr3 หมายถึง การปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทางในกลุมเกษตรกร

เจาของฟารมแพะนม

BiosecurityGr3 หมายถึง การลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือนในกลุมเกษตรกรเจาของ

ฟารมแพะนม

Page 154: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

138

138

วจิารณ

ขอมูลหลักที่ใชในการประเมินความเสี่ยงไดจากการสัมภาษณเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยคํานวณจํานวนตัวอยางตามหลักสถิติ ซึ่งใชขอมูลประชากรเกษตรผูเลี้ยงแพะนมจาก

ศูนยสารสนเทศ กรมปศุสัตว ป 2554 เปนฐานขอมูลในการคํานวณ โดยไดจํานวนตัวอยางทัง้หมด

87 ราย จากประชากรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ 110 ราย (รอยละ 79.09) แตเมื่อเขาเก็บขอมูลใน

พื้นที่จริงจากการสุมรายชื่อตามฐานขอมูล พบเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ จํานวน 76 ราย

โดยลดลงจากฐานขอมลูเดิมเปนจํานวน 34 ราย ซึ่งรายละเอียดแยกเปนเกษตรกรจํานวน 14 ราย เลกิ

อาชีพการเลีย้งแพะนมและไดเปลี่ยนอาชีพเปนคนรับจางทั่วไป และคาขายในตลาด เน่ืองจากพื้นที่

เลี้ยงสัตวไดรับความเสียหายจากการประสบอุทกภัยเมื่อเดือนตุลาคม ถึง ธันวาคม ป 2554 และมี

เกษตรกรตามฐานขอมูล จํานวน 18 รายไมพบตัวตนในพื้นที่ เน่ืองจากไมไดปรับปรุงฐานขอมูลให

เปนปจจุบันซึ่งเกษตรกรอาจมีการเปลี่ยนแปลงที่อยู หรือมีการเลิกเลี้ยงแพะนมอยางถาวร และมี

เกษตรกรจํานวน 2 ราย ที่ไมสะดวกในการใหขอมูล ทําใหการศึกษานีไ้ดจํานวนเกษตรกรผูให

ขอมูล 74 ราย หรือรอยละ 97.37 จากจํานวนเกษตรกรที่มีอยูในปจจุบัน (76 ราย) ซึ่งกลาวไดวา

สามารถเปนตัวแทนของประชากรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ ได เนื่องจากเมื่อคํานวณความ

คลาดเคลื่อนจากการสุมตัวอยางพบวาลดลงจากรอยละ 5 เปนรอยละ 1.89

การใชขอมูลจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ จะดําเนินการเมื่อขาดขอมูลจากเอกสารทาง

วิชาการ หรือเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมไมสามารถตอบคําถามได โดยไดนํามาใชทั้งในสวนการ

ประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ซึ่งความมีนํ้าหนักของคําตอบจะขึ้นกับประสบการณ

ของผูเชี่ยวชาญ โดยบางตัวแปรไดประเมินโอกาสการเกิดเหตุการณไวระดับสูงสุด เพื่อสามารถบง

บอกถึงโอกาสการเกิดกรณีที่เลวรายที่สุด (worst-case) เชน โอกาสการปนเปอนเชือ้ Brucella spp.

ผานปจจัยตาง ๆ ที่เขาสูโรงเรือน หรือสัดสวนการปนเปอนเชื้อกอนเขาโรงเรือน โอกาสที่แพะนม

ในโรงเรือนจะไดรับเชื้อ Brucella spp. ผานปจจัยน้ัน ๆ และความชุกตอการติดเชื้อ Brucella spp.ใน

แพะนม และสัตวนําโรคชนิดอ่ืนในพื้นที่ตนทาง สวนตัวแปรที่ประเมินตามประสบการณของ

ผูเชี่ยวชาญโดยตรง ไดแก ประสิทธิภาพการจัดการดานตัวอยางในพื้นที่สําหรับการทดสอบและ

ตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. ซึ่งในอนาคตหากมีขอมูลทางวิชาการที่ถูกตองและ

พิสูจนได จะสามารถประเมินความเสี่ยงทั้งระบบไดแมนยํามากกวา และจะทําใหความแปรปรวน

ของขอมูลที่มีอยูลดลงได

Page 155: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

139

139

การประเมินความเสี่ยงของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนโดยผานทางการนําเขา

แพะนมทดแทน ในการศึกษานี้ไดประเมินตามวิถีตามระเบียบการเคลื่อนยายสัตวของกรมปศุสัตว

ยกเวนสวนการเคลื่อนยายผานดานกักกันสัตว เน่ืองจากดานกกักันสัตวมีการตรวจคัดกรองสัตวที่

เปนโรคจากพยาธิสภาพภายนอกเทาน้ัน ซึ่งไมใชการวินิจฉัยที่ดีสําหรับโรคบรูเซลโลสสิ เน่ืองจาก

การสงัเกตโรคบรูเซลโลสสิจากอาการที่ปรากฏในสัตวจะกระทําไดยาก แพะที่เปนโรคอาจไมแสดง

อาการหรือแสดงอาการแบบไมจําเพาะ ดังน้ันวิธีวินิจฉัยวาสัตวติดเชื้อ Brucella spp. ที่มี

ประสิทธิภาพมากที่สุดและมคีวามสะดวกรวดเร็วคือการทดสอบทางซีรัมวิทยา (มนยา, 2552)

การประเมินความเสี่ยงการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนม ไดนําความชุกของ

การติดเชื้อ Brucella spp. ในพื้นที่ของฟารมตนทางมาพิจารณา โดยขอมูลความชุกในแตละพื้นที่ได

จากการศึกษาทางวิชาการที่เปนปจจุบันมากที่สุด และเปนงานวิจัยที่นาเชื่อถือมากที่สุด คือมีการสุม

ตัวอยางเพื่อทดสอบโรคตามหลักสถิติ การเก็บตัวอยางและทดสอบตัวอยางมีความถูกตองตาม

มาตรฐาน แตเนื่องจากการศึกษาดานการสํารวจความชุกตอโรคบรูเซลโลสิสในแพะนมยังไม

ครอบคลุมในทุกจังหวัดที่เปนพื้นที่ตนทาง การศึกษาน้ีจึงใชขอมูลจากการเฝาระวังโรคบรูเซลโล

สิสทางหองปฏิบัติการของสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ และศูนยวิจัยและพัฒนาการสัตวแพทยที่

รับผิดชอบในพื้นที่น้ัน ๆ ซึ่งบางขอมูลเปนขอมูลที่ไมไดตีพิมพ ดังน้ันขอมูลที่ไดจึงไมใชความชุก

ของโรคบรูเซลโลสิสในพื้นที่ที่แทจริง เน่ืองจากไมมีการคํานวณขนาดตัวอยางตามหลักสถิติเพื่อ

การเก็บตัวอยางในการทดสอบโรค โดยอัตราการติดเชื้อ Brucella spp. จากการเฝาระวังโรคทาง

หองปฏิบัติการอาจจะตํ่ากวาความชุกที่แทจริง เน่ืองจากตัวอยางซีรัมที่สงทดสอบโรคสวนใหญเปน

ของโครงการสรางสถานภาพฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิส ซึ่งเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมที่รวม

โครงการฯ มักจะเตรียมความพรอมในการจัดการปองกันโรคในฟารมเปนอยางดี ทําใหโอกาสพบ

แพะติดเชื้อในฟารมมีนอยมาก แตตัวอยางที่สงเพื่อชันสูตรโรคอัตราการติดเชื้อจะพบสูง เน่ืองจาก

สวนใหญเปนมีปญหาดานสุขภาพ แตจํานวนตัวอยางในชันสูตรโรคจะมีนอยเมื่อเปรียบเทียบกับ

ตัวอยางจากสัตวที่เขาโครงการฯ ในอนาคตหากมีขอมูลทางวิชาการในการศึกษาความชุกของโรค

ในพื้นที่ตนทางควรนํามาใชในการประเมินความเสี่ยงแทนขอมูลจากการเฝาระวังโรคทาง

หองปฏิบัติการ เพื่อใหไดการประเมินความเสี่ยงที่แมนยํา

Page 156: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

140

140

ขอมูลความชุกของการติดเชื้อ Brucella spp. ในแพะนมในกรุงเทพฯ ไดจากการสาํรวจโรค

ทางซีรัมวิทยาของโรคบรูเซลโลสิสตามโครงการสงเสริมใหเกษตรกรผูเลี้ยงแพะในกรุงเทพฯ

จัดทําฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิส โดยมีการคํานวณขนาดตัวอยางจากความชุกระดับฝูงที่เคยมี

การศึกษามากอนในจังหวัดนนทบุรี ซึ่งเปนพื้นที่ใกลเคียงกรุงเทพฯ และมีรูปแบบการเลี้ยงแพะนม

ที่ไมแตกตางกัน คือรอยละ 8.9 (นพวรรณ, 2552) โดยไดขนาดตัวอยางทัง้หมด 59 ฝูง และเทียบ

สัดสวนตามประชากรฝูงแพะนมในแตละเขตในกรุงเทพฯ การเก็บตัวอยางจะเก็บซีรัมแพะนมทุก

ตัวในฝูงที่มีอายุมากกวา 6 เดือน ขึ้นไปในพื้นที่ในชวงตุลาคม 2555 ถึง มีนาคม 2556 โดยเกบ็ได

ทั้งหมด 63 ฝูง ซึ่งผลการตรวจทางซีรัมวิทยาจากสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ พบวาซีรัมแพะนม

ทุกตัวใหผลลบตอการตรวจทางซีรัมวิทยาโดยวิธี mRBT ดังนั้นความชุกของการติดเชื้อ

Brucella spp. ในแพะนมในกรุงเทพฯ จึงเปน 0 (ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95) สงผลใหการ

ประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนโดยผานทางการนําเขา

แพะนมทดแทนและการยืมพอพันธุเพื่อการผสมจากฟารมในกรุงเทพฯ มีระดับ “แทบจะไมพบ” ซึ่ง

ขอมูลความชุกในแพะนมในกรุงเทพฯ จากการศึกษานี้เปนขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ เนื่องจากมีการ

คํานวณขนาดตัวอยางตามหลักสถิติจากฐานประชากร และมีการเก็บตัวอยางมากกวาขนาดตัวอยาง

ที่คํานวณได

การศึกษานีไ้ดทําการประเมินประสิทธิภาพของระบบทดสอบโรคและตรวจคดักรองโรค

โดยประเมินประสิทธิภาพการจัดการดานตัวอยางในพื้นที่ ความไวและความจําเพาะของชุดทดสอบ

ทางหองปฏิบัติการ (ตารางที่ 30) ซึ่งจะทําใหผลการประเมินความเสี่ยงนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น

เนื่องจากเปนการประเมินขอผิดพลาดที่เกิดจากประสิทธิภาพของวิธีทดสอบและตรวจคัดกรองโรค

โดยผลการประเมนิประสิทธิภาพของระบบทดสอบโรคและตรวจคดักรองโรค ไดนําไปคํานวณใน

การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน โดยผานปจจัยการ

นําเขาแพะนมทดแทน และคนที่เขาฟารมเนื่องจากมีเหตุการณที่เกี่ยวของกับระบบการทดสอบโรค

เพื่อหาความชุกในฟารมตนทางของแพะนมทดแทน และฟารมตนทางที่คนมีโอกาสเขาไปปนเปอน

เชื้อกอนเขาโรงเรือนในกรุงเทพฯ รวมถึงตองมีการตรวจคัดกรองโรคในแพะนมทดแทนที่นําเขา

จากผลการศึกษานี้ตัวแปรที่ควรปรับปรุงเพื่อใหระบบทดสอบและตรวจคดักรองโรคมี

ประสิทธิภาพในการคนหาสัตวที่ติดเชื้อไดดียิ่งขึ้น คือตองมีการบันทึกประวัติสัตวใหชัดเจน เพื่อ

สามารถนําไปประกอบการวินิจฉัยโรครวมกับการตรวจทางซีรัมวิทยา มีการเก็บตัวอยางที่ถูกตอง

ตามหลักวิชาการ และ มีการรักษาคุณภาพตัวอยางกอนสงตรวจทางหองปฏิบัติการ

Page 157: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

141

141

จากการจําลองสถานการณในการนําเขาแพะนมทดแทนที่อาจเกิดขึ้นได 4 แบบ พบวา มี

โอกาสพบกรณีแบบ 2 หรือมีการตรวจคัดกรองตอการติดเชื้อ Brucella spp. ดวยวิธ ีmRBT ที่ฟารม

ตนทางกอนการเคลื่อนยาย โดยไมมีการกักสัตวที่ฟารมในกรุงเทพฯ และไมมีการตรวจคัดกรองโรค

คร้ังที่ 2 กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน ไดมากที่สุด (รอยละ 60.91) โดยสูงกวาแบบ 1 คือมีการตรวจ

คัดกรองโรคคร้ังที่ 2 ที่ฟารมในกรุงเทพฯ (รอยละ 29.09) ประมาณ 2 เทา เน่ืองจากการกักสัตวที่

นําเขาใหมและตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 กอนนํามารวมฝูงมักเปนการปฏิบัติในฟารมขนาดใหญที่

มีโรงเรือนหรือคอกสําหรับกักสัตวเทาน้ัน และสวนใหญเกษตรกรไดมีความเชื่อมั่นในฟารมตนทาง

วาเปนฟารมปลอดโรคและยอมรับในผลการตรวจคัดกรองโรคจากฟารมตนทาง ในฟารมปลายทาง

จึงไมนิยมกักและตรวจโรคซ้ําอีกรอบ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาโอกาสการกักแพะเนื้อทดแทนใน

จังหวัดชัยนาทมีนอยกวาโอกาสการไมกักกอนนําเขาฝูง โดยเปนรอยละ 41 และ 59 ตามลําดับ

(วัชรพงษ, 2552) โอกาสการเกิดเหตุการณแบบ 4 หรือการลักลอบการเคลื่อนยายพบวามีโอกาสเกิด

เหตุการณน้ีรอยละ 10 ซึ่งถือวาตํ่า โดยไดขอมูลจากการสอบถามเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมโดยตรงซึ่ง

อาจไมใชขอมูลที่แทจริงเนื่องจากอาจเกิดการบิดเบือนขอมูล (bias) แตจากการถามความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญโดยเปนเจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ ไดใหขอมูลที่สอดคลองกัน โดยใหเหตุผลวา

การเลี้ยงแพะนมแตละรอบมีชวงการเลี้ยงที่ยาวนาน เกษตรกรจึงใหความสําคัญกับการคัดเลือก

แพะนมที่จะเขาฟารม โดยจะเนนแพะนมทดแทนที่มาจากฟารมประจําที่คุนเคย หรือเปนฟารม

ปลอดโรคหรือมีใบรับรองการตรวจโรคทุกคร้ัง ซึ่งตองขออนุญาตเคลื่อนยายตามระเบียบกรม

ปศุสัตว อีกทั้งเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ มักมีการรวมกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ

ความรูในการเลี้ยงแพะและเร่ืองโรคติดตอ โดยเฉพาะกลุมเกษตรกรในเขตมีนบุรี และหนองจอก

มักจะไดรับการอบรมจากคณะอาจารยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครทําใหมีความรูในการ

ปองกันโรคเปนอยางดี สวนการเกิดเหตุการณแบบ 3 หรือมีการตรวจคัดกรองโรคที่มีประสิทธิภาพ

ตํ่า (ความไวรอยละ 50) มีระดับที่ตํ่ามากหรือแทบจะไมพบ เนื่องจากปจจุบันชุดทดสอบโรคได

พัฒนาประสิทธิภาพในการคัดกรองสัตวติดเชื้อไดดีขึ้น อีกทั้งหองปฏิบัติการไดมีระบบรับรอง

คุณภาพซึ่งเปนการรับประกันวิธีตรวจวินิจฉัยโรคทางหองปฏิบัติการ

ผลการประเมินความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัด ในการศึกษาน้ีอยูในชวงระดับตํ่า

เน่ืองจากตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเพิ่มโอกาสการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน โดยผาน

ทางการนําเขาแพะนมทดแทน ไดแก ความชุกหรืออัตราการติดเชื้อ Brucella spp. ในพื้นที่ของ

Page 158: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

142

142

ฟารมตนทาง และ จํานวนแพะนมดทดแทนทีน่าํเขาโรงเรือนตอป (ภาพที่ 14 และ 15) มีคาตํ่า คือ

รอยละ 3.65 และ 1 ตัวตอฟารมตอป ตามลําดับ

การจําลองสถานการณใหความชุกหรืออัตราการติดเชื้อในฟารมตนทางมีคาตางกัน

พบวาถาความชุกของโรคบรูเซลโลสิสในฟารมตนทางมีคานอยลง ความเสี่ยงในการนําแพะ

ทดแทนติดเชื้อเขาโรงเรือนจะนอยลง เชน ถาความชุกของการติดเชื้อ Brucella spp. ในฟารมตน

ทางของแพะทดแทน เปนรอยละ 30 , 20 และ 10 ความเสี่ยงในการนําเขาเชื้อ Brucella spp. ผานการ

นําเขาแพะนมทดแทนในแตละตัวเปน 6.64 x 10-2, 3.96 x 10-2 และ 1.75 x 10-2 ตามลําดับ สวน

ความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนโดยผานทางการนําเขาแพะนมทดแทนอยาง

นอย 1 ตัว ใน 1 ป เปน 5.94 x 10-2, 4.26 x 10-2 และ 1.22 x 10-2 ตามลําดับ ดังน้ันเพื่อลดความเสี่ยง

ในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนจึงควรสนับสนุนใหเกษตรกรนําแพะนมทดแทนจาก

ฟารมที่ปลอดโรค หรือฟารมที่มีความชุกของโรคตํ่า

จํานวนการนําเขาแพะนมทดแทน เปนตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเพิ่มความเสี่ยงการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือน แตเกษตรกรในกรุงเทพฯ มีจํานวนการนําเขาแพะนมทดแทนตอป

นอยมาก (ภาพที่ 11 และ 12) เน่ืองจากในกรุงเทพฯ สวนใหญเปนเกษตรกรรายใหญสามารถผลิต

แพะนมทดแทนภายในฟารมไดดวยตนเอง อีกทั้งแพะนมมีวงจรการเลี้ยงที่นานสงผลใหการนํา

แพะนมตัวใหมเขามาทดแทนตัวเดิมที่มีอายุมาก และใหผลผลิตนอยเกิดขึ้นไมบอยนัก

ความไวของระบบคัดกรองโรคเปนตัวแปรที่มีอิทธิพลสูงตอการลดความเสี่ยงการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือน (ภาพที่ 14 และ 15) ซึ่งการมีระบบการตรวจคัดกรองโรคที่มี

ประสิทธิภาพสูง หรือมีความไวสูง สามารถตรวจหาแพะติดเชื้อ Brucella spp. ที่แทจริงไดมากขึ้น

ทําใหมีโอกาสคัดทิ้งแพะที่ติดเชื้อกอนนําเขาเลี้ยงไดมากขึ้นเชนกัน จากผลการศึกษาพบวา แบบ 2

หรือ กรณีที่มีระบบการตรวจคัดกรองโรคตํ่า (รอยละ 50) มีความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนสูงกวาแบบ 1 หรือการมีระบบการตรวจคัดกรองโรคที่มีความไวสูง (รอยละ 94)

ประมาณ 3 เทา (ตารางที่ 32 และ 34) ดังน้ันหากเกษตรกรจะมกีารตรวจคดักรองโรคสตัวในฟารม

ควรใหอยูในความดูแลของสัตวแพทย เพื่อที่จะไดมีระบบการจัดการดานการเก็บตัวอยางที่ดี มีการ

ตรวจทางหองปฏิบัติการที่นาเชื่อถือและไดมาตรฐาน

Page 159: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

143

143

ผลการศึกษาความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในกรณีที่มีการตรวจคัด

กรองโรคที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมีการตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 หลงัการ

กักสัตวอยางนอย 6 สัปดาหที่ฟารมในกรุงเทพฯ กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือน (แบบ 1) กับกรณีที่มี

การตรวจคดักรองโรคที่ฟารมตนทางกอนการเคลื่อนยายเพียงคร้ังเดียว (แบบ 2) พบวามีความเสี่ยง

ในระดับใกลเคียงกัน คือ แบบ 2 สูงกวาแบบ 1 เปนจํานวน 1.09 เทา (ตารางที่ 32 และ 34) เน่ืองจาก

ประสิทธิภาพของระบบคัดกรองโรคที่นํามาคํานวณมีคาสูง (รอยละ 94) และความชุกในฟารมตน

ทางของแพะนมทดแทนมีระดับคอนขางตํ่า (รอยละ 3.65) ทําใหในการตรวจคัดกรองโรคคร้ังแรกที่

ฟารมตนทางมีโอกาสตรวจพบแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อไดมาก ดังนั้นโอกาสที่แพะนมทดแทนที่ติด

เชื้อจะเคลื่อนยายไปยังฟารมกรุงเทพฯ จึงมีนอยมาก ทําใหการตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 ที่ฟารม

กรุงเทพฯ ไมมีผลตอการลดความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน ซึ่งสอดคลองกับ

ผลการศึกษาในจังหวัดชัยนาทวาการตรวจคัดกรองโรคในแพะเนื้อเพียงคร้ังเดียว มีความเสี่ยงตอ

การนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน มากกวาการตรวจคัดกรองโรคซ้ํา เปน 1.06 เทา (วัชรพงษ,

2552) แตการตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 หลังการกักสัตวอยางนอย 6 สัปดาหที่ฟารมกรุงเทพ ฯ

(แบบ 2) จะมีประโยชนมากขึ้นในการตรวจคัดกรองแพะนมทดแทนที่ติดเชื้อในกรณีที่ความชุกของ

ฟารมตนทางสูง และความไวของระบบคัดกรองโรคตํ่า จากการจําลองสถานการณใหความชุกของ

การติดเชื้อ Brucella spp. ของแพะทดแทนในฟารมตนทางมีคาสูงขึ้น หรือความไวของระบบ

ทดสอบโรคมีคาตํ่าลง พบวาผลการเปรียบโอกาสการตรวจคัดกรองโรคเพียงคร้ังเดียวจะแตกตาง

กับการตรวจคัดกรองโรคซ้ํา 2 คร้ังมากขึ้น กลาวคือ ถาความชุกเปนรอยละ 10, 20 และ 30 พบวาผล

การเปรียบโอกาสการตรวจคัดกรองโรคเพียงคร้ังเดียวกับการตรวจคัดกรองโรคซ้ํา 2 คร้ังมากโดยมี

คาเปน 1.09, 1.26 และ 1.34 เทา ตามลําดับ หรือ ความไวของระบบคัดกรองโรคเปนรอยละ 94, 60

หรือ 40 พบวาผลการเปรียบเทียบโอกาสการตรวจคัดกรองโรคเพียงคร้ังเดียวกับการตรวจคัดกรอง

โรคซ้าํ 2 คร้ังมากโดยมีคาเปนรอยละ 1.09, 3.03 และ 4.15 ตามลําดับ ดังน้ันในกรณีที่นําเขาสัตว

จากพื้นที่ท่ีมีความชุกของโรคตํ่าและความไวของระบบคัดกรองโรคสูง เกษตรกรไมมีความ

จําเปนตองตรวจคัดกรองโรคซ้ํา แตถาในกรณีที่นําสัตวจากพื้นที่ที่มีความชุกของโรคสูงและมี

ระบบคัดกรองโรคที่มีความไวตํ่า ควรมีการตรวจคัดกรองโรคซ้ํากอนนําสัตวเขาเลี้ยง

การเคลื่อนยายแพะนมทดแทนตามระเบียบกรมปศุสัตว เปนตัวแปรที่มีอิทธิพลสูงตอการ

ลดความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน (ภาพที่ 14 และ 15) ผลการศึกษาพบวา

แบบ 4 หรือกรณีที่มีการลักลอบการเคลื่อนยาย จะมีความเสี่ยงตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนสูงกวาการเคลื่อนยายตามระเบียบกรมปศุสัตวประมาณ 6 เทา (ตารางที่ 32 และ 34)

Page 160: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

144

144

เนื่องจากการลักลอบการเคลื่อนยายไมมีการตรวจคัดกรองโรคทําใหโอกาสนําเขาแพะติดเชื้อมีสูง

มาก ดังน้ันควรแนะนําใหเกษตรกรจะมีการขออนุญาตเคลื่อนยายสัตวจากกรมปศุสัตวทุกคร้ัง

เพื่อที่จะไดมีการตรวจคัดกรองโรคกอนการเคลื่อนยาย

คาความจําเพาะของวิธีตรวจคัดกรองโรค มีอิทธิพลในการลดความเสี่ยงในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือน นอยกวาคาความไว (ภาพที่ 14 และ 15) เนื่องจากการตรวจคดักรอง

โรคในแพะนมทดแทนนําเขาจะใชวิธีคัดกรองโรคเบื้องตนเทาน้ัน หากแพะใหผลทดสอบเปนบวก

ตอการติดเชื้อจะไมอนุญาตใหเคลื่อนยาย จึงตองการวิธีทดสอบที่มีความไวสูงเพื่อสามารถคนหา

แพะติดเชื้ออยางแทจริง แตหากกรณีความจําเพาะของวิธีตรวจคัดกรองโรคมีคาตํ่าจะเกิดการสูญเสีย

จากการทําลายสัตวที่ใหผลบวกลวงมาก

ผลการศึกษาความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนโดยผานคน 3 กลุม ใน

การเขาโรงเรือนในแตละคร้ัง (ตารางที่ 39) พบวาเกษตรกรเจาของฟารมแพะนมมีความเสี่ยงตอการ

นําเชื้อเขาโรงเรือนมากที่สุด ลําดับถัดมาเปนเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย สวนคนซื้อแพะมี

ความเสี่ยงในระดับที่ตํ่าที่สุด เนื่องจากความเสี่ยงของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน จะ

ขึ้นอยูกับโอกาสการเขาฟารมตนทางที่มีโรคบรูเซลโลสิสหรือความชุกในระดับฝูงตอการติดเชื้อ

Brucella spp. ของฟารมตนทาง และโอกาสการปนเปอนเชื้อ Brucella spp. จากฟารมตนทาง หรือ

ความชุกระดับตัวสัตวตอการติดเชื้อ Brucella spp. ของฟารมตนทาง (ภาพที่ 20, 21 และ 22) โดย

กลุมเกษตรกรเจาของฟารมแพะนม มีความชุกระดับฝูงของฟารมตนทางสูงที่สุด (รอยละ 21.4) และ

กลุมเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยมีความชุกระดับตัวสัตวของฟารมตนทางสูงที่สุด

(รอยละ 15.1) สงผลใหความเสี่ยงของการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน 2 กลุม ดังกลาวสูง

กวากลุมคนซื้อแพะ แตเมื่อจําลองสถานการณใหความชุกตนทางของทุกกลุมเทากัน พบวา คนซื้อ

แพะมีความเสี่ยงตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนสูงที่สุด และเจาหนาที่กรมปศุสัตวและ

สัตวแพทยมีความเสี่ยงตํ่าที่สุด กลาวคือ ถากําหนดใหความชุกระดับฝูงในฟารมตนทางเปนรอยละ

5 และความชุกระดับตัวสัตวในฟารมตนทาง เปนรอยละ 3 ความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนโดยผานทางกลุมคนตอการเขาโรงเรือนในแตละคร้ัง เรียงจากมากไปนอย ไดแก คน

ซื้อแพะ เกษตรกรเจาของฟารม และเจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย เปน 3.66 x 10-6,

2.81 x 10-6 และ 1.44 x 10-6 ตามลําดับ ทั้งน้ีเน่ืองจากถาความชุกตอการติดเชื้อ Brucella spp. ของ

ฟารมตนทางมีคาเทากันแลว โอกาสการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนจะขึ้นกับโอกาสการลด

การปนเปอนกอนเขาโรงเรือน ซึ่งเปนตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการลดความเสี่ยงในการนําเชื้อ

Page 161: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

145

145

Brucella spp. เขาสูโรงเรือน (ภาพที่ 20, 21 และ 22) โดยโอกาสการปฏิบัติในการลดการปนเปอน

กอนเขาฟารมเรียงจากนอยไปมาก ไดแก คนซื้อแพะ เกษตรกรเจาของฟารม และเจาหนาที่กรม

ปศุสัตวและสัตวแพทย ดังน้ันเพื่อเปนการลดความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือน

จึงควรแนะนําใหผูเขาโรงเรือนมีการลดการปนเปอนกอนเขาโรงเรือน ไดแก การพักโรคกอนเขา

โรงเรือน การอาบนํ้า เปลี่ยนเสื้อผา และจุมรองเทาดวยนํ้ายาฆาเชื้อ เปนตน

ขอจํากัดดานพื้นที่การเลี้ยงสัตวในพื้นที่ใกลชุมชนเชน กรุงเทพฯ เปนตัวแปรในการลด

ความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูพื้นที่ และลดโอกาสการแพรกระจายของเชื้อในฝูงสัตว

เชน การมีพื้นที่เลี้ยงสัตวอยางจํากัดทําใหไมมีการปลอยแพะออกไปในทุงหญาสาธารณะ ทําให

แพะไมมีโอกาสปะปนกับสัตวนําโรคชนิดอ่ืน การมีพื้นที่ทุงหญาสาธารณะนอยทําใหโอกาสการ

เก็บเกี่ยวอาหารหยาบจากทุงหญาสาธารณะที่อาจมีเชื้อ Brucella spp. จากสัตวนําโรคชนิดอ่ืนเขาสู

โรงเรือนนอย หรือการเลี้ยงสัตวในแหลงชุมชนตองสรางร้ัวโรงเรือนหรือฟารมใหมิดชิดเพื่อ

ปองกันไมใหสัตวออกไปรบกวนชุมชน ทําใหโอกาสสัตวนําโรคชนิดอ่ืนจะเขาสูโรงเรือนไดนอย

เชนกัน หรือการเลี้ยงแพะนมมักแยกพอแมพันธุในแตละคอก ไมเลี้ยงปะปนกัน ทําใหโอกาสการ

สัมผัสกันมีนอย เปนตน

Page 162: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

146

146

สรุปและขอเสนอแนะ

สรุป

ในการศึกษาการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมในกรุงเทพฯ โดยการประเมิน

ความเสี่ยงเชิงคุณภาพพบวาปจจัยที่มีความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

การศึกษาน้ีมี 2 ปจจัย ไดแก การนําเขาแพะทดแทนจากฟารมตางจังหวัด และปจจัยคนเขาที่เขา

ฟารม ซึ่งทั้ง 2 ปจจัยมีความเสี่ยงในระดับตํ่า ความไมแนนอนระดับ ตํ่าถึงปานกลาง

ผลความเสี่ยงเชิงปริมาณโดยรวม พบวาความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ โดยผานปจจัยเสี่ยงรวม (การนําเขาแพะนมทดแทนจาก

ฟารมตางจังหวัด เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย คนซื้อแพะ และเกษตรกรเจาของฟารมแพะ

นม) มีคามัธยฐานเปน 1.57 x 10-2 หรืออยูในชวง 4.76 x 10-3 ถึง 6.83 x 10-2

ในการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณพบวาปจจัยที่มีความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp.

เขาสูโรงเรือนแพะนมในกรุงเทพฯ เรียงจากมากไปนอยไดแก การนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารม

ตางจังหวัด เกษตรกรเจาของฟารมแพะนม เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทย และคนซื้อแพะ

โดยมรีายละเอียดดังน้ี

การนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดในกรณีที่มกีารตรวจคดักรองโรคที่ฟารม

ตนทางกอนการเคลื่อนยาย และบางสวนมีการตรวจคัดกรองโรคคร้ังที่ 2 หลงัการกักสัตวอยางนอย

6 สัปดาห กอนนําเขาเลี้ยงในโรงเรือนที่ฟารมในกรุงเทพฯ พบวามีความเสี่ยงในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูโรงเรือนแพะนมโดยผานการนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมตางจังหวัดอยาง

นอย 1 ตัว ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน 5.44 x 10-3 หรืออยูในชวง 0 ถึง 9.41 x 10-2 หรือการนําเขาแพะ

นมทดแทนทุก ๆ 184 ตัว จะพบอยางนอย 1 ตัว ที่ติดเชื้อ Brucella spp. (ในสถานการณที่มีการ

นําเขาแพะนมทดแทน 1 ตัวตอฟารมตอป)

Page 163: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

147

147

เกษตรกรเจาของฟารมแพะนมมีความเสี่ยง ในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนใน

ฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน 1.02 x 10-2 หรืออยูในชวง

3.64 x 10-3 ถึง 2.37 x 10-2 หรือการเขาโรงเรือนทุก ๆ 69,118 คร้ัง จะพบอยางนอย 1 คร้ัง ที่มีการ

ปนเปอนเชือ้ (ในสถานการณที่เกษตรกรเจาของฟารมแพะนมเขาโรงเรือน 706 คร้ังตอฟารมตอป)

เจาหนาที่กรมปศุสัตวและสัตวแพทยมีความเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสู

โรงเรือนในฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ อยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน 1.49 x 10-5 หรือ

อยูในชวง 0 ถึง 1.89 x 10-4 หรือการเขาโรงเรือนทุก ๆ 134,228 คร้ัง จะพบอยางนอย 1 คร้ัง ที่มีการ

ปนเปอนเชื้อ (ในสถานการณที่เจาหนาที่ฯ เขาโรงเรือน 2 คร้ังตอฟารมตอป)

คนซือ้แพะมคีวามเสี่ยงในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนในฟารมแพะนมใน

กรุงเทพฯ โดยผานทางอยางนอย 1 คร้ัง ใน 1 ป มีคามัธยฐานเปน 9.04 x 10-6 หรืออยูในชวง 0 ถึง

4.02 x 10-5 หรือการเขาโรงเรือนทุก ๆ 221,239 คร้ัง จะพบอยางนอย 1 คร้ัง ที่มีการปนเปอนเชื้อ

(ในสถานการณที่คนซื้อแพะเขาโรงเรือน 2 คร้ังตอฟารมตอป)

ความชุกตอการติดเชื้อ Brucella spp.ในแพะนมในฟารมตนทาง และการเคลื่อนยายสัตว

นําเขาตามระเบียบกรมปศุสัตว โดยมีการตรวจคัดกรองโรคกอน เปนตัวแปรที่มีอิทธิพลสูงตอการ

ลดโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูพื้นที่ ซึ่งผลจากการศึกษาน้ีเปนการสนับสนุนมาตรการ

ปองกันโรคบรูเซลโลสิสของกรมปศุสัตว ที่ใชในปจจุบัน คือในการลดความเสี่ยงในการนําเชื้อ

Brucella spp. เขาสูพื้นที่ เกษตรกรจะตองนําเขาแพะนมทดแทนจากฟารมที่ปลอดโรค หรือฟารมที่

มีความชุกตํ่าและตองมีการเคลื่อนยายสัตวนําเขาตามระเบียบกรมปศุสัตว โดยมีการตรวจคัดกรอง

โรคกอนการเคลื่อนยายแพะเขาสูฟารมทุกคร้ัง ซึ่งการมีมาตการปองกันโรคที่ดีจะชวยลดการนําเขา

เชื้อสูพื้นที่ได และมีระบบสุขาภิบาลในการจัดการคนเขาฟารม

Page 164: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

148

148

ขอเสนอแนะ

รูปแบบ (model) ในการศึกษาน้ีสรางขึ้นจากสถานการณปจจุบันที่มีการปฏิบัติอยูจริง

รวมกับมาตรการปองกันโรคจากกรมปศุสัตวที่กําหนดใหทุกพื้นที่มีการปฏิบัติไปในทางเดียวกัน

ดังนั้นสามารถนํารูปแบบที่ศึกษาในพื้นที่กรุงเทพฯ ตามการศึกษานี้ไปใชประเมินความเสี่ยงของ

เชือ้ Brucella spp.ในฟารมแพะนมในพื้นที่จังหวัดอ่ืน และสามารถศึกษาในขอบเขตที่กวางขึ้น เชน

ระดับเขตปศุสัตวหรือระดับประเทศได หรือสามารถนําไปประยุกตใชกับสัตวนําโรคชนิดอ่ืน หรือ

โรคติดตออ่ืนได โดยปรับรูปแบบตามความเหมาะสม

ผลลัพธของการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณมีลักษณะขอมูลที่แตกตาง

กัน การเลือกนําเสนอขอมูล หรือการสื่อสารความเสี่ยงควรขึ้นอยูกับผูรับสาร เชนกรณีตองการ

สื่อสารความเสี่ยงใหกับประชาชนควรเลือกดําเนินการประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ เนื่องจาก

ผลลัพธที่ไดเปนรูปแบบเชิงพรรณา หรือการจัดลําดับซึ่งจะทําใหเกิดความเขาใจไดงาย สวนการ

ประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณจะไดผลลัพธเปนเชิงตัวเลขที่แมนยํา ควรนํามาใชเมื่อตองการการ

วิเคราะหที่มีความละเอียด เชน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของมาตรการปองกันโรค เปนตน

ในการนําแพะทดแทนเขาเลี้ยงใหม จําเปนตองสนับสนุนใหเกษตรกรปฏิบัติตามมาตรการ

กรมปศุสัตวอยางเครงครัด โดยการขออนุญาตเคลื่อนยายสัตวตามระเบียบกรมปศุสัตว ซึ่งตอง

ดําเนินการตรวจคัดกรองโรคกอนการเคลื่อนยาย หรือมีผลรับรองการปลอดเชื้อ Brucella spp. จาก

การตรวจทางหองปฏิบัติการมาประกอบการขออนุญาตเคลื่อนยายทุกคร้ัง

เกษตรกรควรคดัเลอืกแพะทดแทนจากฟารมที่ไดรับรองสถานภาพฟารมปลอดโรค

บรูเซลโลสิส เพื่อเปนการลดความเสี่ยงตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูพื้นที่ และสามารถลด

ขั้นตอนการเคลื่อนยายสัตว เน่ืองจากการนําแพะจากฟารมปลอดโรคบรูเซลโลสิส ไมตองตรวจคัด

กรองโรคกอนการเคลื่อนยาย

ในกรณีที่ไมไดนําเขาแพะทดแทนจากฟารมปลอดโรคควรมกีารตรวจคดักรองโรคกอน

เคลื่อนยายสัตวเขาสูพื้นที่ดวยระบบทดสอบโรคที่มีประสิทธิภาพสูง คือ มีความไวของชุดทดสอบ

ทางหองปฏิบัติการสูง รวมถึงมีการจัดการตัวอยางในพื้นที่ที่ดี เชน มีการเก็บตัวอยางที่ถูกตองตาม

Page 165: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

149

149

หลักวิชาการ มีการรักษาคุณภาพตัวอยางที่ดี มีเทคนิคการตรวจทางหองปฏิบัติการ และเคร่ืองมือที่ดี

เปนตน

ในกรณีที่ฟารมตนทางไมใชฟารมปลอดโรค และอยูในพื้นที่ที่มีความชุกสูงของโรคสูง

หรือพื้นที่มีการระบาดของโรค นอกจากการตรวจคัดกรองโรคกอนการเคลื่อนยายแลวควรมีการกัก

แพะทดแทนอยางนอย 6 สัปดาหและมีการทดสอบโรคซ้ํากอนนําแพะเขาเลี้ยงใหม เพื่อคนหาแพะ

ที่ติดเชื้อ และกําจัดออกจากฝูงใหไดมากที่สุด

ในกรณีที่มีระบบคัดกรองโรคที่มีประสิทธิภาพตํ่า คือ มีความไวของชุดทดสอบทาง

หองปฏิบัติการตํ่า และ มีการจัดการตัวอยางในพื้นที่ที่ไมดี เชน มีการเก็บตัวอยางที่ไมถูกตองตาม

หลักวิชาการ คุณภาพตัวอยางไมดี มีเทคนิคการตรวจทางหองปฏิบัติการและเคร่ืองมือที่ไมดี เปน

ตน ควรมีการกักแพะทดแทนอยางนอย 6 สัปดาหและมีการตรวจคัดกรองโรคซ้ํากอนนําแพะเขา

เลี้ยงใหม เพื่อปองกันการตรวจผิดพลาดจากการตรวจคัดกรองโรคในคร้ังแรก

การลดความเสี่ยงในตอการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูโรงเรือนหรือฟารมแพะนม

เกษตรกรเจาของฟารมตองมีระบบสุขาภิบาลในดานการจัดการคนเขาฟารม โดยเนนการลดการ

ปนเปอนเชื้อในคนกอนเขาโรงเรือน ไดแก การสอบถามประวัติการเขาฟารมอ่ืนของคนที่เขาฟารม

การไมอนุญาตใหคนที่เขาฟารมแพะหรือฟารมสัตวนําโรคชนิดอ่ืนโดยไมมีการพักโรคเขาฟารม

การใหคนเขาฟารมมีการอาบนํ้า เปลี่ยนเสื้อผา หรือมีการจุมรองเทาดวยนํ้ายาฆาเชื้อกอนเขาฟารม

เปนตน

Page 166: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

150

150

เอกสารและสิง่อางอิง

กิติภัทท สุจิต, ตระการศักด์ิ แพไธสง, วรรณี สันตมนัส, คเชนทร วงศสถาพรชัย และ

การุณ ชนะชัย. 2551. การสํารวจประชากรแพะและระดับความชุกของภูมิคุมกันตอโรค

แทงติดตอในแพะ จ. เพชรบุรี พ.ศ. 2551. แหลงที่มา:

http://www.dld.go.th/dcontrol/th/images/stories/research/Bru_edit8.pdf, 1 สิงหาคม 2554.

จรูญศักด์ิ อุตรพงศ และ กิตติ วิรัตนอุดมสิน. 2552. การศึกษาความชุกและปจจัยเสี่ยงของการพบ

ผลบวกทางซีรัมตอเชื้อบรูเซลลาในฝูงแพะ ในจังหวัดนนทบุรี ป 2552. แหลงที่มา:

http://www.dld.go.th/dcontrol/th/index.php/km/resease/511--2552-.html, 1 มกราคม

2556.

ทับทอง บุญเติม และ เทวัญ สรอยสุมาลี. 2551. ความชุกของโรคบรูเซลโลสิสในแพะในจังหวัด

ชัยภูมิ โดยวิธี RBT. จดหมายขาวศูนยวิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 3 (ฉบับพิเศษ): 8-17.

นพวรรณ บัวมีธูป. 2552. การติดเชื้อ B. melitensis ในฝูงแพะนมท่ีจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา: ความชุก ปจจัยเสี่ยง ความรู ทัศนคติ และการปฏิบัติของ

เกษตรกรและประเมินความสอดคลองของวิธีการทดสอบ. วิทยานิพนธปริญญาโท,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

นพวรรณ มัยยะ, มนัสชัย วัฒนกุล และ วีรพงษ ธนพงศธรรม. 2547. รายงานการควบคุมโรค

บรูเซลโลสิสในแพะนมที่จังหวัดราชบุรี ป 2546. รายงานการเฝาระวังทางระบาดวิทยา 10

(พิเศษ กันยายน): 1-11.

ปญญา แดงสีพลอย และ สัตยา แปงผง. 2549. การเฝาระวังโรคทางซีรัมของโรคบรูเซลโลสิสใน

แพะนมของกรุงเทพมหานคร ในป 2549. แหลงที่มา:

http://www.dld.go.th/niah/eJournal/v2/n2/t1/full_text.pdf, 1 สงิหาคม 2554.

Page 167: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

151

151

ปณิตา คุมพล และ ธีระศักด์ิ ชักนํา. 2553. สรุปรายงานการเฝาระวงัโรคประจําป 2553 สํานัก

ระบาดวทิยา กรมควบคมุโรค กระทรวงสาธารณสขุ. 189 หนา.

พรทิพย ชูเมฆ, บญุเลศิ อาวเจริญ และ ประสบพร ทองนุน. 2550. การศึกษาสภาวะโรค

Brucellosis ในแพะภาคใตของประเทศไทย. วารสารสถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ 3(1) :

189 – 195.

_______ และ อรรถพร จีนพนัธ. 2555. การศึกษาทางซีรัมวิทยาของโรคบรูเซลโลสิสและ

เมลิออยโดสิสในแพะที่เลี้ยงในภาคใตของประเทศไทย, น. 329-338 ใน เร่ืองเต็มการ

ประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คร้ังท่ี 50: สาขาสัตว.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

ภรณชนก สุขวงศ และ อนุสรณ สังผาด. 2552. การสาํรวจโรคบรูเซลโลสสิทางซรีมัวทิยาแพะ-

แกะในจังหวัดสุพรรณบุรี 2548-2552. แหลงที่มา:

http://www.dld.go.th/dcontrol/05Research/Dr.MamBru.pdf, 1 กรกฎาคม 2555.

มนยา เอกทัตร. 2552. โรคบรูเซลโลซสิ และการชนัสตูรในประเทศไทย. พิมพคร้ังที่ 1. สถาบัน

สุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ.

_______, เรขา คณิตพันธ, พิทยา ขุนชิต, วรวรรณ อรามพงศ, ศรศักด์ิ รักษาจิตร,

สุรีย ธรรมศาสตร, อุทิต ตรีนนัทวัน, ไพรัช ทุมชะ และสุรพงษ วงษเกษมจิตต. 2553.

การเปรียบเทียบการทดสอบทางซีรัมวิทยาสําหรับการตรวจแอนติบอดีตอการติดเชื้อ

Brucella melitensis ในแพะ. วารสารสตัวแพทย 20 (1): 19-26

วัชรพงษ สดุดี. 2552. ความชุกและปจจัยเสี่ยงของการไดรับเชื้อบรูเซลลาของแพะเน้ือ และการ

ประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณตอโอกาสในการนําเชื้อบรูเซลลาเขาสูจังหวัดชัยนาทผาน

การนําเขาแพะเน้ือ. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Page 168: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

152

152

วิกิพีเดีย. 2556. กรุงเทพมหานคร. แหลงที่มา:

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%

E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%

E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3, 1 มนีาคม 2556.

ศุภชัย เน้ือนวลสวุวรณ. 2552. การวิเคราะหความเสี่ยงอาหาร. พิมพคร้ังที่ 1. ตีรณสาร จํากัด,

กรุงเทพฯ.

ศูนยสารสนเทศ กรมปศุสัตว. 2554. สรุปจํานวนแพะและเกษตรกรผูเลี้ยงแพะประจําป 2554.

แหลงที่มา:

http://www.dld.go.th/i/th/images/stories/statweb/yearly/2554/anidata/goatship_aumpher.

pdf, 1 กรกฎาคม 2555.

________. 2555. ขอมูลเกษตรกร/ปศุสัตวในประเทศไทย 2555. แหลงที่มา:

http://www.dld.go.th/ict/th/index.php?option=com_content&view=category&id=253:-

2554-&Itemid=123&layout=default, 1 มีนาคม 2556.

สํานักควบคุม ปองกันและบําบัดโรคสัตว กรมปศุสัตว. ม.ป.ป. คูมือเกษตรกรในการปองกันกําจัด

โรคแทงตดิตอหรือโรคบรูเซลโลสสิในแพะ แกะ. กรมปศุสัตว, กรุงเทพฯ.

________. 2555. แผนงานโรคบรูเซลโลสสิ โรค CAE และโรค PPR ในแพะ แกะ ปงบประมาณ

2555. แหลงที่มา: http://www.dld.go.th/dcontrol/th/index.php/projectplan/plan2555.html,

1 กรกฎาคม 2555.

อนุสรณ สังผาด และ ภรณชนก สุขวงศ. 2555. ความชุกทางซีรัมของโรคบรูเซลโลสิสในแพะใน

กลุมเกษตรกรท่ีเขารวมกิจกกรรมทดสอบโรคบรูเซลโลสิสในพื้นท่ีอําเภออูทอง ป 2552-

2554. แหลงที่มา: http://www.dld.go.th/pvlo_spr/research/anusorn.pdf, 1 มกราคม 2556.

Al-Majali, A.M. 2005. Seroepidemiology of caprine brucellosis in Jordan. Small Ruminant

Research 58: 13-18.

Page 169: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

153

153

________ and M. Shorman. 2009. Childhood brucellosis in Jordan: prevalence and analysis of

risk factors. International Jornal of Infectious Disease 13: 196-200.

Alton, G.G., L.M. Jones, R.D. Angus and J.M. Verger. 1988. Techniques for the Brucellosis

Laboratory. INRA, Paris.

Ashagrie, T., Y. Deneke and T. Tolosa. 2011. Seroprevalence of caprine brucellosis and

associated risk factors in South Omo Zone of Southern Ethiopia. Africa Journal of

Microbiology Research 5(13): 1682-1685.

Asmare, K., B. Megersa, Y. Denbarga, G. Abebe, A. Taye, J. Bekele, T. Bekele, E. Gelaye, E.

Zewdu, A. agonafir, G. Ayelet and E. Skjerve. 2013. A study on seroprevalence of

caprine brucellosis under three livestock production systems in southern and cntral

Ethiopia. Trop. Anim. Health Prod. 45: 555 – 560.

Aygen, B., M. Doganay, B. Sumerkan, O. Yildiz and U. Kayabas. 2002. Clinical manifstations,

complications and treatment of brucellosis: a retrospective evaluation of 480 patients.

Medecine et maladies infectieuses 32: 485-493.

Bertu, W.J., I. Ajogi, J.O. Bale, J.P. Kwaga and R.A. Ocholi. 2010. Sero-epidemiology of

brucellosis in small ruminants in Plateau State, Nigeria. Afr. J. Microbiol. Res. 4(19):

1925-1938.

Blasco, J.M. 2006. Existing and future vaccines against brucellosis in small ruminants. Small

Rumin. Res. 62, 33-37.

Boone, I., Y.V. Stede, K. Bollaerts, W. Messens, D. Vose, G. Daube, M. Aerts and K. Mintiens.

2009. Expert judgement in a risk assessment model for Salmonella spp. in pork: the

performance of different weighting scemes. Preventive Veterinary Medicine 92: 224-

234.

Page 170: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

154

154

Chetiyawan, P. and C. Antarasena. 2012. Seroprevalence of brucellosis in livestock in western

Thailand during 2009-2011. pp. 162-163. In Thailand – Japan Joint Conference On

Animal Health 2012: The 25th Year Aniverary. National Institute of Animal Health,

Bangkok.

Cobel, M.J. 1997. Brucellosis on Overview. Available Source:

http://www.cdc.gov.mill1.sjlibrary.org/ncidod/eid/vol3no2/cobel.htm, October 22, 2011.

________. 2006. Brucellosis in Human and Animals. World Health Organization, Geneva.

Coelho, A.M., A.C. Coelho, M. Roboredo and J. Rodrigues. 2007. A case - control study of risk

factors for brucellosis seropositivity in Portuguese small ruminants herds. Preventive

Veterinary Medicine 82: 291-301.

Earhart, K., S. Vafakolov, N. Yarmohamedova, A. Michael, J. Tjaden and A. Soliman. 2009.

Risk factors for brucellosis in Samarqand Oblast, Uzbekistan. International Jornal of

Infectious Disease 13: 749-753.

European Commission. 2001. Brucellosis in Sheep and Goats (Brucella melitensis). Scientific

Committee on Animal Health and Animal Welfare, European Commission. Available

Source: http://www.europa.eu.int/comm/food/fs/sc/scah/out59_en.pdf, October 22, 2011.

Falenski, A., A. Mayer-Scholl, M. Filter and C. Gönerll. 2011. Survival of Brucella spp. in

mineral water, milk and yogurt. International Journal of Food Microbiology 145:

326-330.

Fretin, D., A. Fauconnier, S. Kohler, S. Halling, S. Leonard, C. Nijskens, J. Ferooz, P. Lestrate,

R.M. Delrue, I. Danese, J. Vandenhaute, A. Tibor, X. DeBolle and J.J. Letesson. 2005.

The sheathed flagellum of Brucella melitensis is involved in persistence in a murine

model of infection. Cell Microbiol. 7: 687-698.

Page 171: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

155

155

Garabed, R.B., A.M. Perez, W.O. Johnson and M.C. Thurmond. 2009. Use of expert opinion for

animal disease decisions: an example of foot-and-mouth disease status designation.

Preventive Veterinary Medicine 92: 20-30.

Hawari, A.D. 2012. Epidemiological studies, seroprevalence and some risk factors of brucellosis

in sheep and goats in The South Province of West Bank. Asian Journal of Animal

and Veterinary Advance 7: 535-539.

Hegazy, Y.M., B. Molina-Flores, H. Shafik, A.L. Ridler and F.J. Guitian. 2011. Ruminant

brucellosis in Upper Egypt (2005 – 2008). Preventive Veterinary Medicine 101: 173-

181.

Islam, M.A., M.A. Samad and A.A. Rahman. 2010. Risk factors associated with prevalence of

brucellosis in black Bengal goats in Bangladesh. Bangl. J. Vet. Med. 8(2): 141 – 147.

Joint FAO/WHO Expert Committee on Brucellosis. 1986. Sixth Report, Technical Report

Series 740.

Jones, RD., L. Kelly, T. England, A. MacMillan and M. Wooldrige. A quantitative risk

assessment for the importation of brucellosis – infected breeding cattle into Great

Britain from selected European countries. Preventive Veterinary Medicine 63: 51-61.

Junaidu, A.U., Daneji A.I., Salihu M.D., Magaji A.A. and Tambuwal F.M. 2010. Sero

prevalence of brucellosis in goat in Sokoto, Nigeria. Curr. Res. J. Biol. Sci. 2(4): 275

– 277.

Kabagambe, E.K., P.H. Elzer, J.P. Geaghan, J. Opuda-Asibo, D.T. Scholl and J.E. Miller. 2001.

Risk factors for brucella seropositivity in goat herds in eastern and western Uganda.

Preventive Veterinary Medicine 52: 91-108.

Page 172: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

156

156

Kaewket W. 2008. Seroepidemiological Studies of Brucella melitensis Antibody in Goats

and Contact Goat Farmers at Kanchanaburi Province. M.E. Thesis, Mahidol

University.

Lehman, D., H. Groenendaal and G. Nolder. 2012. Practical Spreadsheet Risk Modeling for

Management. Taylor & Francis Group, USA.

Likov, B., R. Nenova-Poliakova, I. Tomova, P. Kamenov, I. Boikovski, M. Rubenova, S.

Tsankova and T. Kantardjiev. 2010. Contributions Sec. Biol. Med. Sci. 31: 55 – 64.

Mainar-Jaime, R.C. and J.A. Vezquez-Boland. 1999. Associations of veterinary services and

farmer characteristics with the prevalence of brucellosis and border disease in small

ruminants in Spain. Preventive Veterinary Medicine 40: 193-205.

Megersa, B., D. Biffa, F. Abunna, A. Regassa, J. Godfroid and E. Skjerve. 2011. Seroprevalence

of brucellsis and its contribution to abortion in cattle, camel, and goat kept under pastoral

management in Borana, Ethiopia. Trop. Anim. Health Prod. 43: 651-656.

Mikolon, A.B., I.A. Garder, J.H. De Anda and S.K. Hietala. 1998. Risk factors for brucellosis

seropositivity of goat herds in the Mexicali Valley of Baja California, Mexico.

Preventive Veterinary Medicine 37: 185-195.

Moutou, F., B. Dufour and Y. Ivanov. 2001. A qualitative assessment of the risk of introducing

foot and mouth disease into Russia and Europe from Georgia, Armenia and Azerbaijan.

Rev. Sci. Tech. 20: 723-730.

Murray, N. 2002. Import Risk Analysis Animals and Animal Products. Ministry of

Agriculture and Forestry, Wellington.

Nielsen, K. 2002. Diagnosis of brucellosis by serology. Veterinary Microbiology 90. 447-459.

Page 173: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

157

157

Nicoletti, P. 2002. A short history of brucellosis. Veterinary Microbiology 90: 5-9.

_______. 2010. Brucellosis: Past present and future. Med. Sci. 31: 21-32.

Office International Des Epizooties. 2004a. Handbook on Import Risk Analysis for Animals

and Animal Products Volume 1 Introduction and Qualitative Risk Anaylysis. OIE

Publication, Paris.

_______. 2004b. Handbook on Import Risk Analysis for Animals and Animal Products

Volume 2 Quantitative Risk Assessment. OIE Publication, Paris.

________. 2009. Terrestrial Animal Health Code. Caprine and ovine brucellosis excluding

Brucella ovis. Available Source:

http://www.oie.int/fileadmin/Home/eng/Health_standards/tah/2.07.02_CAPRINE_OVI,

October 22, 2011.

_______. 2012a. Disease Distribution Maps. Available Source: http://www.oie.int, January

10, 2013.

_______. 2012b. Terrestrial Animal Health Code 2012. Available Source:

http://www.oie.int/index.php?id=169&L=0&htmfile=chapitre_1.2.1.htm, January 10,

2013.

Ouchi, F. 2004. A Literature Review on the Use of Expert Opinion in Probabilistic Risk

Analysis. Available Source: http://go.worldbank.org/XVHOANYOF0, December 2,

2012.

Pappas, G., P. Panagopoulou, N. Akritidis, L. Christou and E.V. Tsianos. 2006. The new global

map of human brucellosis. Lancet. Infect. Dis. 6: 91-99.

Page 174: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

158

158

Quinn, P.J., B.K. Markey, F.C. Leonard, E.S. FitzPatric, S. Fanning and P.J. Hartigan. 2011.

Veterinary Microbiology and Microbial Disease. 2nd ed. Ho Printing Singapore Pte

Ltd, Singapore.

Radostits, O.M., D.C. Blood and C.C. Gay. 2012. Veterinary Medicine. 10th ed. W.B.

Saunders Co., Philadelphia.

Rahman, A.A., C. Saegerman, D. Berkvens, D. Fretin, M.O. Gani, M. ershaduzzaman, M.U.

Ahmed and A. Emmanuel. 2012. Bayesian estimation of true prevalence, sensitivity and

specificity of indirect ELISA, Rose Bengal Test and Slow Agglutination Test for the

diagnosis of brucellosis in sheep and goats in Bangladesh. Preventive Veterinary

Medicine 100: 101 – 106.

Rahman, M.S., M.O. Faruk, M. Her, J.Y. Kim, S.I. Kang and S.C. Jung. 2011. Prevalence of

brucellosis in ruminants in Bangladesh. Veterinarni Medicina 56 (8): 379-385.

Raksakul D. 2009. Risk Factor Associated with Seropositive Tests for Brucellosis in Sheep

and Goat Populations in Ratchaburi Province, Thailand. M.E. Thesis, Colorado

State University.

Reviriego, F.J., M.A. Moreno and L. Dominguez. 2000. Risk factors for brucellosis

seroprevalence of sheep and goat flocks in Spain. Preventive Veterinary Medicine 44:

167-173.

Robinson, A. 2003. Guidelines for Coordinated Human and Animal Brucellosis

Surveillance. 1st ed. FAO, Italy.

Romich, J.A. 2008. Understanding Zoonotic Disease. Thomson Delmar, Canada.

Page 175: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

159

159

Samadi, A., M.K. Ababneh, N.D. Giadinis and S.Q. Lafi. 2010. Ovine and caprine brucellosis

(Brucella melitensis) in aborted animal in Jordanian sheep and goat flocks. Veterinary

Medicine International 50: 1-7.

Sawasdee, Y. and U. Chuachan. 2012. Brucellosis seroprevalence of livestock in lower

Northeastern region Thailand from 2009 - 2011. pp. 153-157. In Thailand – Japan

Joint Conference On Animal Health 2012: The 25th Year Aniverary. National

Institute of Animal Health, Bangkok.

Smith, D.S. and T.A. Ficht. 1990. Pathogenesis of brucella. Microbiology 17 (1): 209-239.

Smith, M.C. and D.M. Sherman. 2009. Goat Medicine. 2nd ed. Markono Print Media Pte,

Singapore.

Sofian, M., A. Aghakhani, A.A. Velayati, M. Banifazl, A. Eslamifa and A. Ramezani. 2008.

Risk factor for human brucellosis in Iran: a case-control study. International Jornal of

Infectious Disease 12: 157-161.

Solorio-Rivera, J.L., J.C. Sergura-correa and L.G. Sanchez-Gil. 2007. Seroprevalence of risk

factors for brucellosis of goats in herds of Micoacan, Mexico. Preventive Veterinary

Medicine 82: 282-290.

Stark, K.D.C., A. Wingstrand, J. Dahl, V. Mogelmose and D.M. Lo Fo Wong. 2002. Differences

and similarities among expert’ opinions on Salmonella enteric dynamics in swine pre –

havest. Preventive Veterinary Medicine 53: 7-20.

The Center for Food Security and Public Health. 2009a. Brucellosis. College of Veterinary

Medicine Iowa State University, Iowa.

Page 176: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

160

160

________. 2009b. Ovine and Caprine Brucellosis: Brucella melitensis. College of Veterinary

Medicine Iowa State University, Iowa.

Vose, D. 2008. Risk Analysis a Quantitative Guide. 3rd ed. Antony Rowe Ltd, Great Britain.

Vosesoftware. 2011. Model Risk. (Computer Program). Belgium.

Wieland, B., S. Dhollander, M. Salman and F. Koenen. 2011. Qualitative risk assessment in a

data-scarce environment: a model to assess the impact of control measures on spread of

African Swine Fever. Preventive Veterinary Medicine 99: 4-14.

Yamane, T. 1967. Statistics, an Introductory Analysis. 2nd ed. Harper and Row, New York.

Page 177: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

161

ภาคผนวก

Page 178: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

162

162

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามที่ใชในการวิจัย

Page 179: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

163

163

แบบสอบถามเลขท่ี…………….

**ชื่อผูทําการสัมภาษณ.......................................................สัมภาษณ ณ วันท่ี...................................

แบบสอบถามสําหรับมเกษตรกรผูเลี้ยงแพะนมในกรุงเทพฯ

เร่ือง

ความชุกและปจจัยเสี่ยงของการพบผลบวกตอเชื้อ Brucella spp.ในแพะนม และการประเมินความ

เสี่ยงตอโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูฟารมแพะนมพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร

แบบสอบถามฉบับนี้ใชเพื่องานวิจัยเทานั้น

คําชี้แจง

แบบสอบถามนี้เปนการทําวิทยานิพนธของนิสิตปริญญาโท สาขาระบาดวิทยาทาง

สัตวแพทยคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยทําการศึกษาในป 2554-2555

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาหาขอมูลพื้นฐานของการเลี้ยงแพะ และการประเมินความเสี่ยงตอโอกาสในการ

นําเชื้อ Brucella spp. เขาสูฟารมแพะนมที่เลี้ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาที่ไดจะใช

เปนแนวทางในการดําเนินการปองกัน ควบคุมและกําจัดโรคแทงติดตอ และประเมินมาตรการที่มี

อยูแลววามีประสิทธิภาพในการควบคุมปองกันโรคไดมากนอยเพียงใด โดยขอมูลท่ีไดจะเก็บเปน

ความลับ ไมมีการเปดเผยเปนรายบุคคล หรือระบุชื่อผูใด

ผูรับผิดชอบ

นายพีรวิทย บุญปางบรรพ นิสิตปริญญาโทสาขาระบาดวิทยาทางสัตวแพทย ภาควิชา

สัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต

กาํแพงแสน อ. กาํแพงแสน จ. นครปฐม 73140 โทร. 081 – 5946304

E-mail: [email protected]

Page 180: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

164

164

แบบสอบถามจะแบงออกเปน 2 ตอนดังน้ี

สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลพื้นฐาน

สวนที่ 2 แบบสอบถามปจจัยเสี่ยงของการพบผลบวกตอเชื้อ Brucella spp. ของแพะนม และการ

ประเมินความเสี่ยงตอโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp. เขาสูฟารมแพะนม

สวนท่ี 1 ขอมูลพื้นฐาน

คําชี้แจง โปรดเติมขอความ หรือเขียนเคร่ืองหมาย X ใน หรือ( ) หนาขอความท่ีทานเห็นวา

ตรงกับตัวทาน

1. ชื่อ-สกุล ผูใหสัมภาษณ (นาย/นาง/นางสาว) ...................................นามสกุล.............................

อายุ.......ป ***เบอรโทร...........................................

ที่อยูเลขที่.............หมูที่/ชื่อหมูบาน..........................................แขวง/ตําบล...................................

เขต/อําเภอ.................................................จังหวัด......................................

2. ที่ต้ังโรงเรือนฟารมแพะนม

ที่เดียวกับที่อยูผูใหสัมภาษณ (ที่เดียวกับที่อยูบาน)

คนละที่กับที่อยูบาน ระบุ หมูที่/ชื่อหมูบาน...........................แขวง/ตําบล..............................

เขต/อําเภอ..........................................จังหวัด......................................

3. ระดับการศึกษาเจาของฟารมแพะนม

3.1 ประถมศึกษา 3.2 มัธยมศึกษา

3.3 อนุปริญญา 3.4 ปริญญาตรีขึ้นไป

4. การเลี้ยงแพะนมเปนอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม

4.1 อาชีพหลัก 4.2 อาชีพเสริม มีอาชีพหลักคือ............................................

5. วัตถุประสงคการเลี้ยง ( ตอบไดมากกวา 1 ขอ โดยเรียงลําดับโดยใหขอที่สําคัญมากที่สุดคอื 1 )

5.1 ขายนม 5.2 ขายพอพันธุหรือแมพันธุ

5.3 ขายแพะรุนในฟารม 5.4 อ่ืน ๆ ........................................

Page 181: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

165

165

6. เปนสมาชิกในกลุมสหกรณหรือไม

6.1 ไมเปน 6.2 เปน ชื่อกลุมสหกรณ.......................................................

7. จํานวนแพะนมในฝงู

7.1 จํานวนแพะนมในฝงูทัง้หมด...........................ตัว แบงเปน

7.2 แพะนมอายุมากกวา 6 เดือน เพศผู....................................ตัว

7.3 แพะนมอายุมากกวา 6 เดือน เพศเมยี.................................ตัว

7.4 ลูกแพะที่อายุนอยกวา 6 เดือน......................................ตัว

8. สัตวชนิดอ่ืนที่เลี้ยง ( ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ )

ชนิดสัตว จํานวนตัว

8.1 แพะเน้ือ

8.2 แกะ

8.3 โคนม

8.4 โคเน้ือ

8.5 สุกร

8.6 สุนัข

8.7 แมว

Page 182: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

166

สวนท่ี 2 แบบสอบถามปจจัยเสี่ยงของการพบผลบวกตอเชื้อ Brucella spp. ของแพะนมและการประเมินความเสี่ยงตอโอกาสในการนําเชื้อ Brucella spp เขาสู

ฟารมแพะนม

คําชี้แจง โปรดเติมขอความ หรือเขียนเคร่ืองหมาย X ใน หรือ ( ) หนาขอความท่ีทานเห็นวาตรงกับตัวทาน

1. แพะนมทดแทน

1.1 ทาน

1.1.1 ภายในฝูงของตัวเอง

1.1.2 ฟารมอ่ืนๆ (โปรดระบรุายละเอียดในตาราง)

นําแพะทดแทนมาจากแหลงใดบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

หมายเหต ุ 1 = การตรวจโรค หมายถงึ การตรวจคดักรองโรคแทงติดตอ

ลําดับ ช่ือฟารม/เจาของตนทาง อําเภอ/เขต จังหวัด

การตรวจโรคกอนเคล่ือนยาย1 แพะตัวผู แพะตวัเมีย

ตรวจ ไมตรวจ จํานวนครั้ง/ป จํานวนตัว/ครั้ง จํานวนครั้ง/ป จํานวนตัว/ครั้ง

1

2

3

Page 183: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

167

167

2. การจัดการแพะเขาเลี้ยงใหม

2.1 มีการแยกโรงเรือนในการเลี้ยงแพะทดแทนตัวใหมกอนนํามาเลี้ยงรวมฝูงเดิมหรือไม

2.1.1 ไมมี..(ขามไปขอ 3)... 2.1.2 มี โดย แยก...............วัน

2.2 สถานทีต้ั่งโรงเรือนในการแยกเลีย้งแพะทดแทนตัวใหม

2.2.1 บริเวณนอกฟารม 2. 2.2 ในฟารม

2.2.3 อ่ืนๆ................................................................................

2.3 แพะทดแทนที่อยูระหวางการแยกเลี้ยง มีโอกาสสัมผัสกับแพะเดิมภายในฟารม

จํานวน....................คร้ัง/การกัก โดยการ...........................................................................

2.4 มีการตรวจโรคแทงติดตอซ้ําหลังการแยกเลี้ยงสิ้นสุดหรือไม

2.4.1 ไมมี..(ขามไปขอ 3)...

2.4.2 มี โดย ( ) 2.4A ตรวจเอง โดยวิธี...........................

( ) 2.4B เจาหนาที่ปศุสัตว

( ) 2.4C อ่ืนๆ ระบุผูตรวจและวิธี........................................

2.5 จํานวนแพะทดแทนที่ตรวจโรคแทงติดตอซ้ําหลังการแยกเลี้ยงสิ้นสุด

2.5.1 ตรวจทั้งหมดที่แยกเลี้ยง 2.5.2 สุมตรวจโดยวิธี

(ระบุวิธี และจํานวนแพะที่ตรวจเปน%)....................................................................................

2.6 ผลการตรวจโรคแทงติดตอซ้ํา

2.6.1 ใหผลลบทั้งหมด.(ไปขอ 3)... 2.6.2 ใหผลบวกทั้งหมด (ไปขอ 2.7)

2.6.3 ใหผลบวกบางตัว (ไปขอ 2.8)

2.7 การจัดการฝงูแพะทดแทนในกรณ ี“ใหผลบวกทั้งหมด”จากการตรวจโรคแทงติดตอซ้ําหลังการ

แยกเลี้ยงสิ้นสุด

2.7.1 นําเขารวมฝูงปกติ... 2.7.2 แจงเจาหนาที่กรมปศุสัตว

2.7.3 อ่ืนๆ..............................................................................................

Page 184: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

168

168

2.8 การจัดการฝงูแพะทดแทนในกรณ ี“ใหผลบวกบางตัว

ลําดับ

” จากการตรวจโรคแทงติดตอซ้ําหลังการ

แยกเลี้ยงสิ้นสุด

2.8.1 นําทุกตัวเขารวมฝูงปกติ 2.8.2 นําเฉพาะตัวใหผลลบเขารวมฝูง

2.8.3 แจงเจาหนาที่กรมปศุสัตว

2.8.4 อ่ืนๆ.......................................................................

3. การใชพอพันธุในการผสม วิธีการผสมพันธุแพะในฟารม

3A ผสมจริง 3B ผสมเทียม โดย...................................

แหลงนํ้าเชื้อจาก...........................................

3.1 นําพอพันธุที่ใชในการผสมในฟารมมาจากไหน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

3.1.1 ภายในฝูงของตัวเอง

3.1.2 ยืมจากฟารมฟารมอ่ืน (โปรดระบรุายละเอียดในตาราง)

ช่ือฟารม/

เจาของตน

ทาง

อําเภอ/เขต จังหวัด

การตรวจโรคกอน

เคล่ือนยาย1 จาํนวน

ครั้ง/ป

จาํนวน

ตัว/ครั้ง

ระยะเวลายืม

(วัน / เดือน /

ป) ตรวจ ไมตรวจ

1

2

3

หมายเหตุ 1 = การตรวจโรค หมายถงึ การตรวจคดักรองโรคแทงติดตอ

Page 185: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

169

169

3.2 มีการแยกโรงเรือนในการเลี้ยงพอพันธุที่ยืมกอนใชผสม

3.2.1 ไมมี (ขามไปขอ 4) 3.2.2 มี โดย แยกเลี้ยง................วัน

3.3 สถานที่ต้ังโรงเรือนในการแยกเลี้ยงพอพันธุที่ยืมกอนใชผสม

3.3.1 บริเวณนอกฟารม 3.3.2 ในฟารม

3.3.3 อ่ืนๆ...................................................................................................

3.4 พอพันธุที่ยืมกอนใชผสมที่อยูระหวางการแยกเลี้ยง มีโอกาสสัมผัสกับแพะภายในฟารม

จํานวน....................คร้ัง/การกัก

โดยการ.....................................................................................................................

3.5 มีการตรวจโรคแทงติดตอซ้ําหลังการกักพอพันธุที่ยืมกอนใชผสมหรือไม

3.5.1 ไมมี..(ขามไปขอ )

3.5.2 มี โดย ( ) 3.5A ตรวจเอง โดยวิธี...........................

( ) 3.5B เจาหนาที่ปศุสัตว

( ) 3.5C อ่ืนๆ ระบุผูตรวจและวิธี............................

4. ขอมูลสุขภาพแพะในฟารม

4.1 ฟารมเคยมีประวัติโรคแทงติดตอหรือไม

4.1.1 ไมมี 4.1.2. มี เมื่อ พ.ศ..........................จํานวน.......ตัว

4.1.3. ไมทราบ

4.2 ปญหาสุขภาพแพะในฟารม โปรดระบุรายละเอียดในตาราง

อาการ

แพะตัวผู

จํานวนตัวที่พบ

ขออักเสบ

อัณฑะบวม

Page 186: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

170

170

4.3 ฟารมเคยมีการตรวจโรคแทงติดตอในฝูง

4.3.1 ไมมี

4.3.2 มี เมื่อ พ.ศ.................พบผลบวกจํานวน...............ตัว

5. การปลอยแปลงหญา

5.1 ไมมีการปลอย

( ) 5.1.1 ไมมีการตัดหญาใหแพะ ( ) 5.1.2 มกีารตัดหญาให

5.2 มีการปลอย...........................ชั่วโมง/วัน

( ) 5.2.1 ในแปลงตัวเอง ( ) 5.2.2 แปลงหญาสาธารณะ

6. แหลงนํ้า

6.1 นํ้าที่ใชเลี้ยงแพะมาจากไหน

6.1.1 น้ําประปา 6.1.2 น้ําบาดาล 6.1.3 แมนํ้า/คลอง

6.1.4 อ่ืนๆ ระบุ................................................

แพะตัวเมยี

อาการ จํานวนตัวที่พบ

แทงชวงเดือนที่ 4 -5 ของการตั้งทอง

ลูกตายแรกคลลอด/ออนแอ

รกคาง

มดลูกอักเสบ

เตานมอักเสบ

ผสมตดิยาก

ขอบวม

Page 187: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

171

171

6.2 มีการบําบัดนํ้ากอนนํามาใหแพะกินหรือไม

6.2.1 ไมมี

6.2.2 มี โปรดระบุวิธี.................................................................................................

7. สัตวพาหะ

โอกาสที่สัตวเหลาน้ีสัมผัสกับแพะในฟารมของทาน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ชนิดสตัว มีการใชแปลงหญา

รวมกนั

มีการเขามาสัมผัส

แพะในโรงเรือนได

อ่ืนๆ (ระบุ)

7.1 แพะเน้ือ

1. ไมใช

2. ใช

1. ไมใช

2. ใช

7.2 แกะ 1. ไมใช

2. ใช

1. ไมใช

2. ใช

7.3 โคเน้ือ 1. ไมใช

2. ใช

1. ไมใช

2. ใช

7.4 โคนม 1. ไมใช

2. ใช

1. ไมใช

2. ใช

7.5 สุนัข

1. ไมใช

2. ใช

1. ไมใช

2. ใช

7.6 สุกร 1. ไมใช

2. ใช

1. ไมใช

2. ใช

7.7 ไก 1. ไมใช

2. ใช

1. ไมใช

2. ใช

หมายเหตุ การสัมผัส หมายถึง สตัวมีโอกาสมาโดนตัวหรือคลุกคลีกัน

Page 188: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

172

172

8. คน

โอกาสที่บุคคลเหลาน้ีเขาโรงเรือนและสัมผัสกับแพะของทาน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ประเภทบุคคล มีการเขามาสัมผัสแพะในโรงเรือน

8.1 สัตวแพทยหรือเจาหนาที่ของรัฐ

1. ไมใช

2. ใช

8.2 สตัวแพทยเอกชน 1. ไมใช

2. ใช

8.3 ผูเลี้ยงแพะรายอ่ืน 1. ไมใช

2. ใช

8.4 คนซือ้แพะ 1. ไมใช

2. ใช

8.5 คนรับนมแพะ 1. ไมใช

2. ใช

8.6 คนผสมเทียม 1 .ไมใช

2. ใช

8.7 คนรับซื้อมูลแพะ 1. ไมใช

2. ใช

8.8 อ่ืนๆ.....................................................................................

8.9 อ่ืนๆ.....................................................................................

Page 189: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

173

173

9. การจัดการดานสุขาภิบาลและการควบคุมโรค

9.1 ความถี่ในการกวาดมูลแพะในคอก

9.1.1 ไมเคย 9.1.2 ทุกวัน

9.1.3 สปัดาหละ 1-2 คร้ัง 9.1.4 อ่ืน ๆ ระบุ......................................

9.2 ความถี่ใชยาฆาเชื้อทําความสะอาดคอกหรือโรงเรือน

9.2.1 ไมเคย 9.2.2 ทุกวัน

9.2.3 สปัดาหละ 1-2 คร้ัง 9.2.4 อ่ืน ๆ ระบุ......................................

9.3 ฟารมของทาน มีบอจุมเทากอนเขาออกโรงเรือนหรือไม

9.5.1 ไมมี 9.5.2 มี

9.4 นํ้ายาฆาเชื้อในบอจุมเทามีการเปลี่ยนหรือไม

9.4.1 ไมเคยเปลี่ยน 9.4.2 เปลี่ยน ระบุ........................คร้ัง/วัน/สปัดาห

9.5 เมื่อแพะคลอดลูก ทานมีการชวยคลอดหรือไม

9.5.1 ไมชวย (ขามไปขอ )

9.5.2 ชวย ( ) 9.5A ไมสวมถุงมือ (ตอบขอ 9.7)

( ) 9.5B สวมถุงมือ

9.6 เมื่อแพะคลอดลูก ทานเก็บรกทิ้งหรือไม

9.6.1 ไมเก็บ

9.6.2 เกบ็ ( ) 9.6A เก็บทันที

( ) 9.6B เก็บเวลาที่ทําความสะอาดคอก

( ) 9.6C อ่ืนๆ...........................................

9.7 ทานมีวิธีกําจัดรกอยางไร

9.7.1 ฝง 9.7.2 เผา 9.7.3 ทิ้งไปกับขยะ

9.7.4 อ่ืนๆ...............................................................

Page 190: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

174

174

9.8 หลังจากชวยคลอดเสร็จทานมีการลางมือหรือไม

9.8.1 ไมลาง

9.8.2 ลาง โดย ( ) 9.8A ลางนํ้าเปลา

( ) 9.8B ลางดวยสบู หรือนํ้ายาฆาเชื้อ

9.9 หลังจากชวยคลอดเสร็จ ทานจัดการถุงมืออยางไร

9.9.1 ถอดทิ้งทันที

9.9.2 ยังไมถอด ไปสัมผัสแพะตัวอ่ืนตอ

9.9.3 อ่ืนๆ.......................................................

9.10 หลังจากชวยคลอดเสร็จ ทานมีการทําความสะอาดคอกหรือไม

9.10.1 ไมทํา

9.10.2 ทําทันที โดย ( ) 9.10A กวาด

( ) 9.10B ลางนํ้าเปลา

( ) 9.10C ลางดวยนํ้ายาฆาเชื้อ

9.10.3 รอทําในชวงการทําความสะอาดคอกปกติ

9.10.4 อ่ืนๆ................................................................

9.11 เมื่อแพะคลอดลูก แลวแทง ทานแจงเจาหนาที่ปศุสัตวหรือไม

9.11.1 ไมเคย เน่ืองจาก.........................................

9.11.2 เคย

9.12 เมื่อแพะคลอดลูก แลวแทง ทานกําจัดซากลูกแพะทันทีหรือไม

9.11.1 ไมเคยมีแพะแทง

9.11.2 กําจัดทันที

9.11.3 กําจัดในชวงเวลาทําความสะอาดคอกตามปกติ

Page 191: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

175

175

9.13 เมื่อแพะคลอดลูก แลวแทง ทานกําจัดซากลูกแพะอยางไร

9.13.1 ฝง 9.13.2 เผา 9.13.3 ทิ้งไปกับขยะ

9.13.4 อ่ืนๆ...............................................................

9.14 ในกรณีที่มีโรคแทงติดตอระบาดในพื้นที่ ทานงดกิจกรรมเหลาน้ีหรือไม

9.14.1 การปลอยทุงหญา

9.14.2 การซื้อแพะ

9.14.3 การขายแพะ

9.14.4 การยืมพอพันธุมาผสม

9.14.5 การใหบุคคลอ่ืนเขาฟารม

9.14.6 การเขาเยี่ยมฟารมคนอ่ืน

Page 192: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

176

176

ภาคผนวก ข

รายนามผูเชี่ยวชาญ

Page 193: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

177

177

เจาหนาที่กรมปศุสัตวกรุงเทพฯ

1. นายสัตวแพทยปญญา แดงสีพลอย นายสัตวแพทยชํานาญการพิเศษ หัวหนากลุม

พัฒนาสุขภาพสัตว สํานักงานปศุสัตว

กรุงเทพฯ

2. นายศักดา ศิรชัยปรีชา อาสาปศุสัตว สํานักงานปศุสัตวเขตประเวศ

2. นายปรีชา เจมะ อาสาปศุสัตว สํานักงานปศุสัตวเขตมีนบุรี

3. นายสุทิน พงศเพ็ญชัย อาสาปศุสัตว สํานักงานปศุสัตวเขตทุงครุ

4. นายชัยชนะ ยาสลุง อาสาปศุสัตว สํานักงานปศุสัตวเขตหนองจอก

ผูเชี่ยวชาญดานวิชาการเร่ืองโรคบรูเซลโลสิส

1. สัตวแพทยหญิงมนยา เอกทัตร ที่ปรึกษากรมปศุสัตวดานโรคบรูเซลโลสิส

กรมปศุสัตว

2. นายสัตวแพทยสุรพงษ วงศเกษมจิตต นายสัตวแพทยชํานาญการพิเศษ หัวหนากลุม

อิมมูนและซีรัมวิทยา สถาบันสุขภาพสัตว

แหงชาติ

3. สัตวแพทยหญิงเรขา คณิตพันธ นายสัตวแพทยชํานาญการพิเศษ กลุม อิมมูน

และซีรัมวิทยา สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ

4. นายสตัวแพทยศรายุทธ แกวกาหลง นายสัตวแพทยชํานาญการ หัวหนากลุมระบาด

วิทยาทางหองปฏิบัติการ สถาบันสุขภาพสัตว

แหงชาติ

5. นายสัตวแพทยสมชัย เจียมพิทยานุวัฒน นายสัตวแพทยชํานาญการ กลุมระบาดวิทยา

ทางหองปฏิบัติการ สถาบันสุขภาพสัตว

แหงชาติ

Page 194: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

178

178

เจาหนาที่กรมปศุสัตวดานสุขภาพสัตว

1. นายสัตวแพทยปญญา แดงสีพลอย นายสัตวแพทยชํานาญการพิเศษ หัวหนากลุม

พัฒนาสุขภาพสัตว สํานักงานปศุสัตวกรุงเทพฯ

2. นายสัตวแพทยสุพจน หนูปทยา นายสัตวแพทยชํานาญการ หัวหนากลุมพัฒนา

สุขภาพสัตว จังหวัดมุกดาหาร

3. นายสัตวแพทยพรศักด์ิ ประสมทอง นายสัตวแพทยชํานาญการ กลุมพัฒนาสุขภาพสัตว

จังหวัดกาญจนบรีุ

4. นายสัตวแพทยปรัศนี ชูรัตน นายสัตวแพทยชํานาญการ สวนปองกันและบําบัด

โรคสัตว สํานักงานปศุสัตวเขต 7

5. นายสัตวแพทยสุขุม สุทธิพันธ นายสัตวแพทยชํานาญการ กลุมพัฒนาสุขภาพสัตว

จังหวัดประจวบครีีขนัธ

Page 195: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

179

179

ภาคผนวก ค

ขอมูลพื้นฐานของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

Page 196: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

180

180

ตารางผนวกท่ี ค1 ขอมูลพื้นฐานของฟารมแพะนมในกรุงเทพฯ

ขอ ขอมูล จํานวนฟารม (ฟารม) รอยละ

1 อายุเจาของฟารม

นอยกวาหรือเทากับ 30 ป 2 2.70

31 ป – 40 ป 24 32.43

41 ป – 60 ป 42 56.76

มากกวา 60 ป 6 8.11

2 ระดับการศึกษาเจาของฟารมแพะนม

ประถมศึกษา 34 45.95

มัธยมศึกษา 28 37.84

อนุปริญญา 4 5.41

ปริญญาตรีขึ้นไป 8 10.81

3 อาชีพหลักของเจาของฟารม

เลีย้งแพะนม 64 86.49

คาขายของชําในตลาด 3 4.05

ครูสอนศาสนา 3 4.05

ธุรกิจคาที่ดิน 1 1.35

ขาราชการเกษียณอายุ 2 2.70

ทําไรขาวโพด 1 1.35

4 วัตถุประสงคการเลี้ยง*

ขายนม 74 100

ขายพอพันธุหรือแมพันธุ 15 20.27

ขายแพะรุนหรือลูกแพะในฟารม 20 27.03

อ่ืนๆ ทําพิธี 2 2.70

Page 197: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

181

181

ตารางผนวกท่ี ค1 (ตอ)

ขอ ขอมูล จํานวนฟารม (ฟารม) รอยละ

5 การสมาชิกในกลุมสหกรณ

เปน 0 0

ไมเปน 74 100

6 จํานวนแพะนมในฟารม

นอยกวา 5 ตัว 8 10.81

6 – 10 ตัว 14 18.92

11 – 20 ตัว 22 29.73

21 - -30 ตัว 14 18.92

มากกวา 30 ตัว ขึ้นไป 16 21.62

7 การเลี้ยงสัตวชนิดอ่ืน*

แพะเน้ือ 2 2.70

แกะ 0 0

โคนม 1 1.35

โคเน้ือ 1 1.35

สุกร 0 0

สุนัข 0 0

แมว 65 87.84

หมายเหตุ * = ผูไดรับการสัมภาษณสามารถตอบไดมากกวา 1 คําตอบ

จํานวนฟารมที่ศึกษา 74 ฟารม

Page 198: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

182

182

ภาคผนวก ง

คะแนนการประเมินประสิทธิภาพของการจัดการดานตัวอยาง

Page 199: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

183

ตารางผนวกท่ี ง1 คะแนนความไว (sensitivity) ของการจัดการดานตัวอยางจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

ขอ ปจจัย นํ้าหนัก

คะแนน

ผูเชี่ยวชาญคนที่ ขอมูลจาก

เอกสาร

วิชาการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

1 เทคนิคการสุมตัวอยาง

0.18 90 90 95 90 95 90 95 95 95 95 -

2 ประวัติสตัว

0.09 80 80 80 80 80 80 80 80 90 95 -

3 เทคนิคการเก็บตัวอยาง

0.09 95 95 95 80 80 70 80 90 90 95 -

4 การติดฉลาก (label)

ตัวอยาง

0.09 97 95 95 80 80 90 90 90 90 95 -

5 การเก็บรักษาตัวอยาง

ในพื้นที่

0.09 95 95 95 95 95 80 80 80 80 95 -

6 การขนสงตัวอยาง

0.09 95 95 95 95 90 80 80 80 80 95

Page 200: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

184 184

ตารางผนวกท่ี ง1 (ตอ)

ขอ ปจจัย นํ้าหนัก

คะแนน

ผูเชี่ยวชาญคนที่ ขอมูลจาก

เอกสาร

วิชาการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

7 คุณภาพเคร่ืองมือ

0.09 - - - - - - - - - - 99

8 เทคนิคผูตรวจ

0.09 - - - - - - - - - - 96

9 คุณภาพ antigen

0.09 - - - - - - - - - - 99

10 การเก็บรักษาตัวอยาง

ในหองปฏิบัติการ

0.09 - - - - - - - - - - 99

Page 201: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

185 185

ตารางผนวกท่ี ง2 คะแนนความจําเพาะ (specificity) ของการจัดการดานตัวอยางจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

ขอ ปจจัย นํ้าหนัก

คะแนน

ผูเชี่ยวชาญคนที่ ขอมูลจาก

เอกสาร

วิชาการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

1 เทคนิคการสุมตัวอยาง

0.18 90 90 95 90 95 90 95 95 95 95 -

2 ประวัติสัตว

0.09 80 80 80 80 80 80 80 80 90 95 -

3 การติดฉลาก ตัวอยาง

0.09 97 95 95 80 80 90 90 90 90 95 -

4 คุณภาพเคร่ืองมือ

0.09 - - - - - - - - - - 99

5 เทคนิคผูตรวจ

0.09 - - - - - - - - - - 96

6 คุณภาพ antigen 0.09 - - - - - - - - - - 99

Page 202: ใบรับรองวิทยานิพนธvph.vet.ku.ac.th/vph/Education/MD/Thesis/Peerawit.pdf150 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท

186

ประวัติการศึกษา และการทํางาน

ชื่อ – นามสกุล นายพีรวิทย บุญปางบรรพ

วัน เดือน ป ท่ีเกิด 4 มีนาคม 2523

สถานท่ีเกิด อําเภอเมอืง จังหวัดลําปาง

ประวัติการศึกษา (พ.ศ.2541-2547) สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ประวัติการทํางาน (พ.ศ.2547-2549) ตําแหนงสัตวแพทยประจําฟารมพอแม

พันธุไกเน้ือ บริษัท แหลมทองสหฟารม จํากัด

(พ.ศ.2549-2552) ตําแหนงนายสตัวแพทย สวนปองกนัและ

บําบัดโรคสัตว ปศุสัตวเขต 7 กรมปศุสัตว

(พ.ศ.2552-2554) ตําแหนงนายสัตวแพทย กลุมระบาด

วิทยา สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว

ตาํแหนงหนาท่ีการงานปจจุบัน (พ.ศ. 2554-ปจจุบัน) ตําแหนงนายสัตวแพทย กลุมพัฒนา

ระบบคุณภาพทางหองปฏิบัติการ

สถานท่ีทํางานปจจุบัน สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว

ผลงานดีเดนและรางวัลทางวิชาการ -

ทุนการศึกษาท่ีไดรับ ทนุสนับสนุนการวิจัยจากโครงการวิชาการและงานวิจัย

จากกองทุนยอยฮูเวฟารมา บริษัทฮูเวฟารมา (ประเทศไทย)

จํากัด และโครงการพัฒนานายสัตวแพทยนักระบาดวิทยา

ภาคสนาม สํานักควบคุม ปองกันและบําบัดโรคสัตว

กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ