digital divide danuvasin - nidakm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf ·...

21
ความเลื่อมล้ําในการเขาถึงเทคโนโลยี (Digital Divide): ปญหาและแนวทางแกไข ...ดร.ดนุวศิน เจริญ [email protected] บทคัดยอ (Abstract) งานวิจัยนี้ศึกษาถึงปญหาและสาเหตุของปญหาของความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือ ชองวางทางดิจิตอล (Digital Divide) ซึ่งชองวางนี้นําไปสูความเหลื่อมล้ําทางสังคม การศึกษา และ เศรษฐกิจของประเทศ ปญหาเหลานี้เปนปจจัยหลักที่ขัดขวางการพัฒนาของประเทศ งานวิจัยนี้ไดรวบรวมเอาขอมูลทีเกี่ยวของมาวิเคราะหและสังเคราะห พรอมทั้งนําเสนอโมเดลซึ่งอธิบายปญหาและสาเหตุของปญหา Digital Divide รวมทั้งนําเสนอแนวทางการแกปญหาดังกลาว หนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชน องคกรอิสระ (NGO) และสถาบันการศึกษา สามารถนําผลการศึกษานี้ไปประยุกตใชเปนนโยบายและเครื่องมือในการลดความแตกตางในการเขาถึงเทคโนโลยีได KEYWORD: Digital Divide, ICT in Developing Countries, IT in Thailand

Upload: others

Post on 24-May-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

ความเล่ือมลํ้าในการเขาถึงเทคโนโลยี (Digital Divide): ปญหาและแนวทางแกไข

พ.ต.ต.ดร.ดนุวศิน เจริญ [email protected] 

 

 

บทคัดยอ (Abstract) 

  งานวิจัยนี้ศึกษาถึงปญหาและสาเหตุของปญหาของความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี

สารสนเทศ หรือ ชองวางทางดิจิตอล (Digital Divide) ซึ่งชองวางนี้นําไปสูความเหลื่อมล้ําทางสังคม การศึกษา และ

เศรษฐกิจของประเทศ ปญหาเหลานี้เปนปจจัยหลักที่ขัดขวางการพัฒนาของประเทศ งานวิจัยนี้ไดรวบรวมเอาขอมูลที่

เกี่ยวของมาวิเคราะหและสังเคราะห พรอมทั้งนําเสนอโมเดลซึ่งอธิบายปญหาและสาเหตุของปญหา Digital Divide 

รวมทั้งนําเสนอแนวทางการแกปญหาดังกลาว หนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชน องคกรอิสระ (NGO) และสถาบันการศึกษา

สามารถนําผลการศึกษานี้ไปประยุกตใชเปนนโยบายและเครื่องมือในการลดความแตกตางในการเขาถึงเทคโนโลยีได  

KEYWORD: Digital Divide, ICT in Developing Countries, IT in Thailand  

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 2: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

บทนํา

ในปจจุบันการเขาถึงขอมูลสารสนเทศโดยเฉพาะอินเตอรเน็ตเขามามีบทบาทตอการใชชีวิตประจําวันของคนไทย

เปนอยางมาก นอกจากนี้เทคโนโลยีสารสนเทศยังเปนตัวแปรสําคัญในการขับเคล่ือนประเทศโดยนําไปสูการพัฒนาใน

สังคมและระบบเศรษฐกิจ จะเห็นไดวาในประเทศที่พัฒนาแลวนั้นประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารผานทาง

อินเตอรเน็ตไดงาย และประชาชนสามารถเขาถึงไดในทุกๆ สวนของประเทศ  

ปจจุบันซึ่งเปนยุคขอมูลสารสนเทศและความรู (Information and Knowledge Society) นั้น การเขาถึงขอมูล

ขาวสารสามารถสรางความแตกตางในเรื่องของรายได สถานภาพทางสังคม และการเรียนรูเปนอยางมาก หรืออาจเรียกไดวา

คนที่สามารถเขาถึงขอมูลขาวสารได มีความไดเปรียบมากกวาคนที่ไมสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารได ซึ่งนําไปสูความ

แตกตางในดานการศึกษา รวมทั้งสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ  

สิ่งเหลานี้คือปญหาที่นักวิชาการเรียกวา “Digital Divide” หรือความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศ

และความรู ถามองในแงของรายได จากภาพขางลางจะเห็นไดวากลุมคนที่สามารถมีและใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตได

มีเพียงแค 1,000 ลานคนทั่วโลก การขาดแคลนทางดานเทคโนโลยีสารเทศซึ่งเปนสิ่งที่ขัดขวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ

สังคมของโลก  

คําถามคือจะทําอยางไรจึงจะทําใหประชากรของโลกอีก 5,000 ลานคนที่ยังดอยโอกาสอยูในปจจุบัน ใหมี

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยสามารถเขาถึงการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพิวเตอรได เชน การมีความรู

พ้ืนฐานคอมพิวเตอร การมีคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตใชในทุกๆ บาน สงผลถึงการมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้น จะสงผลให

เกิดการพัฒนาของเศรษฐกิจโลกอยางยั่งยืน 

1 Billion People  

High Disposal Income 

2 Billion PeopleMOP : Less Disposal Income 

 

3 Billion PeopleBOP :Limited Disposal Income 

Need for Government Sponsored Programs 

  MOP ‐ 2 Billion People ‐ $3,000 to $20,000 Annual Income ‐ $12.5 Trillion Global Market ‐ Largely Urban, Well Served, Highly Competitive ‐ Overall Discretionary Consumer Technology Spend (2008) $123 billion 

 

 

 

BOP ‐ 3 Billion People, Largely Rural ‐ <$3,000 Annual Income ‐ $5 Trillion Global Market ‐ Live in Poverty – Brazil $3.35/Day, China $2.11/Day, Ghana $1.89/Day, India $1.55/Day  

 

 

 

 

 

 

 

Page 3: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

 

อะไรคือสาเหตุของ Digital Divide 

  ปญหาของ Digital Divide นั้นเปนผลกระทบมาจากความแตกตางของความสามารถในการเขาถึงขอมูล

สารสนเทศ หรือความแตกตางระหวาง “ผูมีขอมูล” (Have) กับ “ผูที่ไมมีขอมูล” (Have not)  นําไปสูความไดเปรียบและ

ความเสียเปรียบระหวางคนในประเทศ โดยทั่วไปปจจัยที่เปนสาเหตุของ Digital Divide สามารถสรุปไดดังตอไปนี้ 

1 ปจจัยดานโครงสรางพื้นฐานของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 

ความไมทั่วถึงในการใหบริการโครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบไฟฟา ระบบโทรศัพท (ทั้งมีสายและไรสาย) การ

แพรกระจายของการใชคอมพิวเตอร การใหบริการอินเตอรเน็ต โดยสวนใหญมักกระจุกตัวในเขตตัวเมือง หรือพ้ืนที่ที่

บริษัทผูใหบริการสามารถไดรับผลตอบแทนในการลงทุนที่สูง เปนสาเหตุใหประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ชนบท ขาด

โอกาสในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเขาถึงขอมูลหรือความรู  ในปจจุบันเปนที่ยอมรับวาอุปกรณในการเขาถึง

ขอมูลขาวสารนั้นคือคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต  

อัตราการเขาถงึหรือการใชงานคอมพิวเตอรในประเทศไทย

ที่มา: การสํารวจการมกีารใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ.2550, สํานักงาน

สถิติแหงชาต ิ

จากผลการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวาในประเทศไทย มีผูใชคอมพิวเตอร 16 ลานคนคิดเปนรอยละ

26.8 และมีผูใช Internet 9.3 ลานคน คิดเปนรอยละ 15.5 ถาพิจารณตามภาคจะเห็นไดวาประชากรสวนใหญที่ใช

คอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตอาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครมากที่สุดถึงรอยละ 40.2 สําหรับคอมพิวเตอร และ รอยละ

29.9 สําหรับอินเตอรเน็ต 

 

 

Page 4: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศในครัวเรือน (พ.ศ.2550)

ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ

ในป พ.ศ. 2550 มีครัวเรือนทั้งสิ้นประมาณ 18.2 ลานครัวเรือน พบวาครัวเรือนที่มีโทรศัพทพ้ืนฐานมีรอยละ

23.4 (4.3ลานครัวเรือน) มีเครื่องโทรสารรอยละ 1.4 (0.3 ลานครัวเรือน) มีคอมพิวเตอรรอยละ 17.5 (3.2 ลาน

ครัวเรือน) และมีการเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตรอยละ 7.6 ซึ่งมีจํานวนไมถึงครึ่งของผูมีคอมพิวเตอร 

จํานวนครัวเรือนที่มีการเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต (พ.ศ.2550) 

ที่มา: การสํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ.2550, สํานักงานสถิติแหงชาติ

จากจํานวนครัวเรือนที่มีเครื่องคอมพิวเตอรจํานวน 3.2 ลานครัวเรือน พบวา ไมถึงครึ่งเทานั้นที่มีการเชื่อมตอ

อินเทอรเน็ต 1.4 ลานครัวเรือน (รอยละ 43.5 ของผูใชคอมพิวเตอร) โดยครัวเรือนที่ต้ังอยูใน กรุงเทพฯ มีการเชื่อมตอ

อินเทอรเน็ตสูงกวาภาคอื่นๆ คือรอยละ 67.4 และรองลงมาคือ ภาคกลาง รอยละ 42.5 ภาคใต ครัวเรือนที่เช่ือมตอ

อินเทอรเน็ตนอยที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีอยูเพียงรอยละ 27.5 

Page 5: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

2. ปจจัยในเรื่องของความแตกตางในดานการศึกษา สังคม อายุ และลักษณะทางกายภาพของประชากร  

ความไมเทาเทียมกันของระดับการศึกษาอาจนําไปสูขอจํากัดของทักษะการใชงานคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต

โดยทั่วไปผูที่มีการศึกษาสูงมีโอกาสในการใชคอมพิวเตอรมากกวาผูที่มีการศึกษาต่ําหรือขาดโอกาสในการศึกษา เนื่องจาก

การใชงานคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตเปนที่แพรหลายในสถาบันการศึกษาในระดับสูง 

อัตราสวนการใชคอมพิวเตอรในกลุมนักเรียนนักศึกษาในระดับตางๆ

จากตารางจะเห็นไดวาอัตราสวนระหวางคอมพิวเตอรตอผูใช ลดลงตามระดับการศึกษาดังนั้นอาจกลาวไดวาผูที่มีการศึกษา

สูงกวามีความไดเปรียบในการเขาถึงขอมูลมากกวาผูที่มีการศึกษาที่ตํ่ากวาหรือไมมีโอกาสจากกราฟขางลางเปนที่ชัดเจนวา

ผูมีระดับการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีอัตราการใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตสูงสุด

อัตรารอยละของผูใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตจําแนกตามระดับการศึกษา (พ.ศ.2550)

ท่ีมา สํานักงานสถิติแหงชาต ิ

Page 6: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

กราฟแสดงถงึรอยละของผูทํางานดาน ICT จําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จ พ.ศ.2544-2550

 

ที่มา: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากร สํานักงานสถิติแหงชาติ

นอกจากระดับการศึกษาแลวยังมีความสําคัญตอการเขาถึงคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต ตามภาพขางบนจะเห็นได

วาผูที่ใช ICT มากที่สุดคือผูที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาคือ รอยละ 40.1 รองลงมาเปนระดับประถมศึกษารอยละ 15.1 

ในขณะที่ผูที่มีการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยและอนุปริญญา มีสัดสวน รอยะ 27.8 และ 16.2 ตามลําดับ ซึ่งจากสถิติ

คอนขางนาเปนหวงเนื่องจากการใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตอยางมีประสิทธิภาพควรเปนผูที่มีการศึกษาในระดับ

ปริญญาตรีขึ้นไป นอกจากนี้สาขาการศึกษาอาจมีสวนในดานการใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต ในประเทศไทย ผูที่จบ

สาขาดานสังคมศาสตรมีจํานวนมากกวาผูที่จบดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปจจัยนี้อาจมีสวนในเรื่องของความขาด

แคลนบุคลากรที่จะมาทําการฝกอบรมใหคนทั่วไปเขาใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตได 

กราฟแสดงถงึจํานวนผูทํางานดาน ICT พ.ศ. 2544-2550 

ที่มา: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากร สํานักงานตํารวจแหงชาติ 

Page 7: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

นอกจากนี้แลวนั้น ผูทํางานดาน ICT สามารถจําแนกออกเปนผูที่มีทักษะสูง ซึ่งเปนผูประกอบวิชาชีพดาน

คอมพิวเตอร หรือผูประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร รวมั้งผูปฏิบัติการอุปกรณที่ใชดานทัศนศาสตรและอิเล็กทรอนิกส

และ ผูที่มีทักษะต่ํา คือพวกชางเครื่องและชางปรับอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จากการสํารวจของสํานักงานสถิติ

แหงชาติพบวาผูทํางานดาน ICT โดยสวนใหญเปนผูมีทักษะต่ํา ซึ่งเปนสาเหตุของการเติบโตของคอมพิวเตอรและ

อินเตอรเน็ต

สําหรับปจจัยในดานอายุนั้น เปนปจจัยที่คอนขางนากังวล จากกราฟขางลางจะเห็นไดวาประชากร สวนใหญที่ใช

อินเตอรเน็ตเปนวัยรุน ประชากรในวัยทํางานยังมีสวนนอยในการใชอินเตอรเน็ต โดยเฉพาะประชากรในวัย 50 ป ขึ้นไปซึ่ง

เปนผูบริหารระดับสูงขององคกร มีการใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตเพียงแครอยละ 4.4 และ 2.9 ตามลําดับเทานั้น ถา

บุคลากรเหลานี้ไมสามารถใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตได อาจเปนเหตุใหไมสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศที่สําคัญได

และอาจเปนสาเหตุในการตัดสินใจที่ผิดพลาดเนื่องจากไมมีขอมูลเพียงพอตอการตัดสินใจ (Lack of Informed 

Decision) และมีผลกระทบตอองคกรได

 

ที่มา การสํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ.2550, สํานักงานสถิติแหงชาติ

นอกจากนี้ปจจัยทางดานเศรษฐกิจยังเปนปจจัยหลักในการเขาถึงอินเตอรเน็ต การเขาถึงอินเตอรเน็ตในปจจุบันยัง

จําเปนที่ตองมีคาใชจาย โดยเฉพาะการเชื่อมตออินเตอรเน็ตความเร็วสูงจําเปนตองเสียคาใชจายที่สูง เกินกวาที่ประชาชน

ระดับลางของปรามิดจะสามารถเขาถึงได 

 

ที่มา สํานักงานสถิติแหงชาติ (พ.ศ. 2550) 

Page 8: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

จากตารางจะเห็นไดวาคาใชจายโดยเฉลี่ยของการเขาถึงอินเตอรเน็ตคือ 400 ถึง 599 บาท ซึ่งถือวาเปนเงินจํานวน

มากสําหรับผูที่มีรายไดนอย

สําหรับปจจัยในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม พบวาในบางชุมชนไมอนุญาตหรือจํากัดโอกาสในการเขาถึง

เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรักษาไวซึ่งประเพณีหรือวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม สวนปจจัยดานกายภาพนั้น เปนปญหาหลักในการ

เขาถึงขอมูลขาวสาร โดยเฉพาะผูพิการทางสายตา ไมสามารถใชคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ตไดเหมือนคนปกติทั่วไป ทํา

ใหเสียเปรียบในเรื่องของการรับรูขอมูลและขาวสาร  

นอกจากนี้ปจจัยดานภาษาก็ยังเปนอีกปจจัยหนึ่ง เนื่องจากในปจจุบันภาษาในเว็บไซตสวนใหญยังเปน

ภาษาอังกฤษ อาจเปนสาเหตุใหคนสวนหน่ึงที่ไมมีความรูภาษาอังกฤษไมสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศได  

3. ปจจัยดานนโยบาย  

นโยบายของรัฐเปนปจจัยที่มีความสําคัญมากในการที่จะลดหรือเพิ่มความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศ

และความรู เนื่องจากรัฐเปนผูกําหนดกฎเกณฑและลักษณะของการแขงขัน สวนกําหนดอัตราคาบริการและความทั่วถึงของ

การใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ นับจากมีพระราชบัญญัติองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย พ.ศ. 2497 เปนตนมา

จนกระทั่งไดมีการตราพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและ

กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 รวมระยะเวลากวา 50 ป

ที่ธุรกิจโทรคมนาคมไทยอยูภายใตการผูกขาดจากรัฐวิสาหกิจเพียงสองรายเทานั้น แบงระยะออกเปน 2 ชวงคือ

ระยะที่ 1 การผูกขาดเต็มรูปแบบ โดยในชวงนี้การดําเนินธุรกิจจัดไดวาเปนธุรกิจแบบไรคูแขงโดยสิ้นเชิง การทําธุรกิจ

ไมไดมุงหวังกําไรมากนัก สงผลใหการขยายโครงขายการใหบริการคอนขางจํากัด  

ระยะที่ 2 การทําสัญญารวมกันภายใตเงื่อนไข BTO หรือ Build‐Transfer‐Operate  คือการขยายบริการโดยดึง

ภาคเอกชนเขามาลงทุน โดยที่กรรมสิทธิ์ยังเปนของรัฐ แตสิทธิ์การลงทุนอยูที่เจาของ สําหรับผูใหบริการอินเตอรเน็ต (ISP) 

จะตองอยูภายใตเงื่อนไขสัญญาการใหสิทธิ์การถือหุนลอยแกการสื่อสารแหงประเทศไทย  

หากพิจารณาจะพบวา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งสองชวง เปนการปรับเปลี่ยนเฉพาะรูปแบบในการประกอบธุรกิจเทานั้น

แตโครงสรางของภาคธุรกิจไมไดเปลี่ยนแปลงไปมากนัก กลาวคือ โครงสรางของภาคธุรกิจยังคงถูกผูกขาดโดยวิสาหกิจ

ของรัฐ ซึ่งไมไดมีการผอนคลาย หรือปลดล็อกเงื่อนไขของการประกอบธุรกิจที่สงผลในเชิงบวกตอการปรับโครงสราง

ภาคธุรกิจมากนัก ปญหาดานการดําเนินนโยบายการผูกขาดเปนเวลานานตลอดจนการทําสัญญาภายใตเงื่อนไข BTO ได

กอใหเกิดการบิดเบือนขึ้นในโครงสรางของธุรกิจโทรคมนาคม และไดสรางผลกระทบตอธุรกิจการใหบริการอินเตอรเน็ต

ของไทยจนปจจุบัน  

การผูกขาดสงผลใหเกิดการบิดเบือนกลไกการแขงขันเสรี และมีผลกระทบตออัตราคาบริการที่ไมเปนธรรม เชน

การผูกขาดการใหบริการเชื่อมตออินเตอรเน็ตระหวางประเทศ (IIG) ของการสื่อสารแหงประเทศไทยที่สามารถควบคุม

Page 9: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

และกําหนดอัตราคาบริการได สงผลใหผูประกอบการอินเตอรเน็ต (ISP)  ตองมีคาใชจายในการเชื่อมตอตางประเทศใน

อัตราที่สูงกวาความเปนจริง และนําไปสูอัตราคาบริการขายปลีกในประเทศที่มีราคาสูงกวาในหลายประเทศ เปนตน  

การผูกขาดทําใหการขยายตัว และการแพรกระจายการใชอินเตอรเน็ตไมแพรหลายเทาที่ควร อีกทั้งประชาชนตอง

สูญเสียโอกาสในการเลือกใชบริการ สงผลกระทบตออัตราการขยายตัว และการแพรหลายของการใชบริการอินเตอรเน็ต

ของภาคประชาชน การผูกขาดยังทําใหไมสามารถประเมินศักยภาพการดําเนินงานของหนวยงานรัฐได เนื่องจากไมมีคูแขง

ขันใหเปรียบเทียบ นอกจากนั้นการผูกขาดยังทําใหเอกชนขาดแรงจูงใจในการขยายการลงทุน เนื่องจากตองแบงสวนแบง

รายไดใหรัฐวิสาหกิจเจาของสัญญา BTO ในอัตราที่สูง รวมถึงโอกาสในการขยายโครงขายสูภูมิภาค เปนตน

4 ปจจัยดานผูใหบริการอินเตอรเน็ต (Internet Service Providers) 

สาเหตุหลักเกิดจากตนทุนการลงทุนไมสอดคลองกับอุปสงคการลงทุนระบบเครือขายโทรคมนาคมถือวาตองใช

เม็ดเงินลงทุนจํานวนมากเปรียบไดกับการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ เชน โครงขายไฟฟา ถนน น้ําประปา เปนตน

หากพิจารณาถึงการลงทุนในเชิงพาณิชยแลว การลงทุนขยายโครงขายสูภูมิภาค โดยเฉพาะในชนบท หรือพ้ืนที่

ผลตอบแทนการลงทุนตํ่าแทบไมมีความเปนไปไดทางธุรกิจ  

นอกจากประเด็นที่เกี่ยวของกับการลงทุนที่ไมสอดคลองกับอุปสงคแลว อุปสรรคที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ การ

ขาดแคลนโครงสรางพื้นฐานอื่น ๆ รองรับ เชน บางพื้นที่ยังไมมีการคมนาคมทางถนน หรือระบบไฟฟา ที่สามารถเขาถึงได

เปนตน 

จํานวนของของ Fix Line ตอประชากร 100 คน

 

Page 10: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

จากกราฟขางบนจะเห็นไดวาจํานวนสายโทรศัพทพ้ืนฐาน (Fix Line) ยังคงแออัดอยูในเฉพาะเขตกรุงเทพมหานคร และ

ปริมณฑล เมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดอื่น ถาปราศจากสายโทรศัพทพ้ืนฐานการเขาถึงอินเตอรเน็ตก็เปนการยาก หรือถา

เปนไปได เชน การใชอินเตอรเน็ตผานทางจานดาวเทียม หรือสัญญาณโทรศัพทไรสาย เชน GPRS และ EDGE ราคาอัตรา

คาบริการก็จะสูงเกินกวาที่ประชาชนสวนใหญสามารถซื้อได

5 ปจจัยในดานอัตราคาบริการและคุณภาพ 

สําหรับประเทศไทยพบวา อัตราคาบริการอินเตอรเน็ตแบบ Dial  Up ในประเทศไทยมีอัตราคาบริการตํ่ากวา

หลาย ๆ ประเทศในเอเชีย และจากขอมูลบนเว็บไซตของ บมจ. ทีโอที แจงวาในพื้นที่การใหบริการของทีโอทีที่มีโครงขาย

สายไปถึง ผูใชบริการทั่วประเทศสามารถหมุนหมายเลข 1222 เพื่อเช่ือมตอเขาสูอินเตอรเน็ต โดยมีคาใชจายเฉพาะคา

โทรศัพทในการเชื่อมตอครั้งละ 3 บาทเทานั้น และสามารถใชบริการอินเตอรเน็ตไดครั้งละ 2 ช่ัวโมง  

หากผูใชบริการอยูนอกพื้นที่โครงขายสาย และตองอาศัยเทคโนโลยีประเภทอื่น เชน ดาวเทียม เพื่อการเขาถึง

อินเตอรเน็ต อัตราคาบริการจะสูงเพิ่มขึ้นหลายเทาตัว 

ประเด็นที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ซึ่งทําใหการเขาถึงอินเตอรเน็ตยังไมไดรับความนิยมเทาที่ควร ก็คือ ปญหา

คุณภาพในการใหบริการรวมทั้งการบริการมีความลาชาของการสื่อสาร ปญหาการเชื่อมตอโดยเฉพาะแบบ Dial‐up ที่

โอกาสสายหลุดคอนขางบอย แมปจจุบันรูปแบบการเขาถึงอินเตอรเน็ต  แบบ ADSL ซึ่งเปนอินเตอรเน็ตที่มีความเร็วสูงจะ

ไดรับความนิยมจากผูใชบริการอินเตอรเน็ตอยางรวดเร็ว แตปญหาของความเร็วของอินเตอรเน็ตยังไมเปนที่พอใจของผูใช

มูลเหตุของปญหาอาจมาจากการที่ปจจุบันขอมลูในเว็บไซตเปนมัลติมีเดียที่ตองการความเร็วสูงมาก เชน การดาวนโหลด

ภาพยนตร หรือแอนิเมชั่นตางๆ รวมทั้งการดูขอมูลลักษณะ Real Time ผานทาง Steaming Video เชน YouTube เปน

ตน   แตอินเตอรเน็ตอาจมี Bandwidth ไมเพียงพอ หรือโครงขายอาจไมสามารถรองรับความตองการของผูใชได  

ผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ แมรัฐจะสามารถกระจายโครงขายพื้นฐานเพื่อการเขาถึงอินเตอรเน็ตไดครอบคลุมทั่ว

ประเทศ แตหากระบบมีการสื่อสารที่ลาชาและผูใชเกิดความเบื่อหนาย ความนิยมในอินเตอรเน็ตก็ยอมถดถอยลงเชนกัน  

ดังนั้น ผูกําหนดนโยบายนาจะคํานึงถึงปญหานี้ควบคูไปกับการกระจายอินเตอรเน็ตใหทั่วถึง โดยอาจอาศัยการ

พัฒนาดวยเทคโนโลยีใด ๆ เพื่อใหเกิดอินเตอรเน็ตความเร็วสูงที่สามารถสนองความตองการและเปนทางเลือกใหกับผูใช

ในราคาที่ไมเปนภาระมากนัก หากเปรียบเทียบความเร็วเฉลี่ยในการใหบริการอินเตอรเน็ตบรอดแบนด  

สําหรับประเทศไทยกับประเทศในเอเชียดวยแลว ถือวาความเร็วของบริการอยูในระดับที่ตํ่ากวาในหลายประเทศ

เชน ในสิงคโปรมีความเร็วเฉลี่ยในการใหบริการลูกคาทั่วไปอยูที่ 1 – 2 Mbps หรือประเทศเกาหลีใตอยูที่ 3 – 10 Mbps 

ที่มากที่สุดคือ ฮองกง มีอัตราความเร็วในการใหบริการสูงถึง 6 – 10 Mbps เปนตน (ขอมูลจากสํานักงานคณะกรรมการ

กิจการโทรคมนาคมแหงชาติ) 

 

Page 11: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

สาเหตุของปญหา Digital Divide  

 

 

  เราสามารถสรุปปญหาของ Digital Divide ไดจาก Model ขางบน ซึ่งจะเห็นไดววา การขาดแคลน

นโยบายสนับสนุนจากรัฐ หรือ การใชนโยบายที่ไมเหมาะสม สงผลใหจํานวนผูใหบริการมีจํากัด รวมทั้งสองปจจัยนี้

นําไปสูความไมทั่วถึงของโครงสรางพื้นฐานเชน คอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต อุปกรณและการใหบริการที่มีราคาแพง

สําหรับปจจัยดานอายุ และปจจัยดานการศึกษา นําไปสู การขาดความรูความชํานาญในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

จากปญหาขางตนเราสามารถสรุปไดวา สถานการณความเหลื่อมล้ําทางเทคโนโลยี (Digital Divide) ในประเทศ

ไทยอยูในเกณฑที่นาเปนหวงและมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองไดรับการแกไข เนื่องจากความสามารถในการเขาถึงขอมูล

สารสนเทศและความรู ผานทางคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต เปนตัวแปรที่สําคัญในการขจัดความยากจนและพัฒนา

เศรษฐกิจใหเปนไปอยางยั่งยืน  

 

Page 12: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

 

Diffusion of Innovation Theory 

ในการตอบรับนวัตกรรมอินเตอรเน็ตในประเทศไทยเปนการตอบรับนวัตกรรมอยางมีวิวัฒนาการ เราสามารถ

แบงกลุมผูใช ตามทฤษฎีการแพรกระจายนวัตกรรม (The Diffusion of Innovation Theory) ไดเปนกลุมตาง ๆ ดังนี้  

1. Innovators หรือกลุมบุกเบิก กลุมนี้จะเปนนักวิชาการในมหาวิทยาลัยตาง ๆ กลุมวิศวกรทางดานคอมพิวเตอร ใช

อินเตอรเน็ตติดตอ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร กับนักวิจัยในตางประเทศ เพื่อการศึกษาคนควาวิจัย กลุมนี้จะมีอยูประมาณ

2% ของประชากรทั้งหมด โดยมีการเขาถึงในยุคแรกที่มีการใหบริการดานคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตในประเทศ พ.ศ.2539‐2540 (1996‐1997) 

2. Early Adopters หรือกลุมที่ยอมรับไดเร็ว จะเปนกลุมนิสิต นักศึกษา และบุคลากรที่ตองใชอินเตอรเน็ตในการทํางาน  

เชน รับสงอีเมล หรือใชในการเขาถึงขอมูล กลุมนี้จะมีอยูประมาณ 14% โดยเริ่มรับเอาอินเตอรเน็ตเขามาใชต้ังแตป 2541 

ถึง 2550 

3. Early Majority หรือกลุมใหญที่รับกอน จะเปนกลุมเด็ก และวัยรุน (อายุตํ่ากวา 20 ป) เนื่องจากเปนกลุมที่สนใจ และ

กระตือรือรนที่จะเรียนรูเทคโนโลยีใหม ๆ อยูเสมอ กลุมนี้จะมีอยูประมาณ 34%  เริ่มนําคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตมาใช

ต้ังแตป 2550 ถึงปจจุบัน

4. Late Majority หรือกลุมใหญที่รับชา จะเปนกลุมผูใหญในวัยทํางาน ที่ตองปรับตัวใหยอมรับอินเตอรเน็ต เนื่องจากใน

องคกร ในสํานักงานมีการนําเทคโนโลยีชนิดนี้เขามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน คนในกลุมนี้จึงมีความจําเปนตอง

ปรับตัวตาม กลุมนี้มีอยูประมาณ 34% มีบางสวนของคนกลุมนี้ไดเริ่มรับเอาคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตมาใช แตก็ยังมี

ปริมาณที่นอยมาก 

5. Laggards หรือกลุมลาหลัง จะเปนกลุมผูสูงอายุ ( อายุมากกวา 60 ป ) ผูยากจน และผูที่ไมรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คน

ในกลุมนี้สวนใหญจะขาดทักษะในการใชคอมพิวเตอร และทักษะภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนทักษะที่จําเปนในการใชอินเตอรเน็ต 

Page 13: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

รวมถึงผูพิการ คนกลุมนี้ใชเวลานานมากกวาจะยอมรับเทคโนโลยี อีกทั้งไมมีความจําเปนที่จะตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในการทํางาน จงึปฏิเสธการใชอินเตอรเน็ต กวาที่คนกลุมนี้จะใชเทคโนโลยีก็คือเมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร

และอินเตอรเน็ต เปนสิ่งจําเปนในชีวิตประจําวัน และมีความจําเปนตองใช คนกลุมนี้มีอยูประมาณ 16% ในปจจุบันคน

กลุมนี้มีจํานวนนอยมาก

ในปจจุบันการตอบรับนวัตกรรมอินเตอรเน็ตยังอยูในระดับของ Early Majority เราจะเห็นไดวาผูใช

อินเตอรเน็ตในการเขาถึงขอมูลสวนใหญเปนวัยรุน (15‐24 ป) คําถามสําหรับหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนก็คือ จะทํา

อยางไรที่จะสามารถเขาถึงและยอมรับในเทคโนโลยีสารสนเทศใหกับกลุม Late Majority และ Laggards ได  

แนวทางแกปญหาความเหลื่อมลํ้าทางเทคโนโลยี (Digital Divide) 

การลดความเหลื่อมล้ําทางเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นจําเปนตองทําไปดวยกันทั้งระบบทั้งภาครัฐ เอกชน องคกร

อิสระ (NGO)  รวมทั้งระบบการศึกษา และโครงสรางพื้นฐาน การลดชองวางทางเทคโนโลยีสารสนเทศดวยเพียงการซื้อ

เครื่องคอมพิวเตอร หรือติดต้ังระบบอินเตอรเน็ตเขาไปยังกลุมคนยากจน หรือผูดอยโอกาสไมใชการแกปญหาในระยะยาว  

 

 

Page 14: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

การแกปญหาที่ยั่งยืนควรเปนการแกปญหาที่เนนไปที่ตัวบุคคลและชุมชน โดยการสอนคนยากจน หรือผูดอยโอกาส

รวมทั้งผูที่ไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศไดโดยงาย เชน ผูพิการและผูสูงอายุ ใหเขาใจถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ

สอนใหเห็นความสําคัญ ตลอดจนถึงวิธีการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศเหลานี้ในบริบทชีวิตของตน เปาหมายของ

การแกปญหาควรเนนไปที่ประเด็นดังตอไปนี้ 

1. เพื่อใหอัตราคาใชบริการอินเตอรเน็ตมีราคาถูก (Low Cost) 

2. คุณภาพในการใหบริการสูง (High Quality Service) 

3. เนนการเพิ่มทักษะและความรูของประชาชนในการใชอินเตอรเน็ต (High Computer and Internet Literacy) 

4. ผูใชบริการมีความสะดวกสบายในการเขาถึงและใชบริการอินเตอรเน็ต (Ease of Use) 

5. มีขอมูลที่เปนประโยชนสอดคลองกับความตองการของประชาชน (Real Needs for Contents and Internet 

Application) 

โดยการดําเนินการลดความเหลื่อมล้ําทางเทคโนโลยี (Digital Divide) สามารถดําเนินการดวยนโยบายดังตอไปนี้ 

1. กําหนดใหการขยายโครงขายบริการโทรคมนาคมสําหรับบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึง สามารถรองรับการ

ใหบริการอินเตอรเน็ตดวยความเร็วและคุณภาพที่เหมาะสม 

แนวความคิดนี้กําลังเปนที่ยอมรับในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก ประกอบกับนโยบายรัฐบาลที่ตองการผลักดันให

ประเทศไทยเปนสังคมแหงการเรียนรู ดังนั้นการดําเนินนโยบายที่ชัดเจนของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

(กทช.) ควรพิจารณากําหนดใหการขยายโครงขายบริการโทรคมนาคมทุกพื้นที่ที่โครงสรางพื้นฐานสามารถเขาถึงได หรือ 

Universal Service Obligation (USO) สามารถรองรับการใชงานอินเตอรเน็ตดวยความเร็วที่เหมาะสม และมี

ประสิทธิภาพ เพราะจะเปดโอกาสใหประชาชนในพื้นที่หางไกลสามารถมีทางเลือกในการเขาถึงบริการอินเตอรเน็ตไดอยาง

เทาเทียมกัน   

  นอกจากนี้แลวนั้น คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีราคาถูกมีความจําเปนอยางมากในการลดชองวางความเหลื่อมล้ํา

ทางเทคโนโลยี ควรเปนควรมรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชนในการนําเสนอคอมพิวเตอรฮารดแวรและซอฟตแวรราคา

ถูก นอกจากจะเปนการเปดโอกาสใหผูที่มีรายไดนอยสามารถมีและใชเทคโนโลยีไดแลวนั้น ยังเปนการหลีกเลี่ยงการละเมิด

ทรัพยสินทางปญญาอีกดวย ตัวอยางของคอมพิวเตอรราคาถูก เชน  Flash‐based Devices บริษัทผูผลิต เชน Asus และ

Intel  มีเปาหมายการผลิตหรือวางแผนการผลิตสําหรับคอมพิวเตอรพีซีราคาถูกตํ่ากวา 300 เหรียญสหรัฐ และมีการใช

Solid State Flash Memory (แทน Hard Drive) ในการผลิตคอมพิวเตอรพีซีที่มีความแข็งแกรง และมีตนทุนการผลิตที่

ตํ่า รวมทั้งควรมีการสงเสริม ซอฟตแวรปฏิบัติการ เชน Widow Starter Version มีราคาถูกกวาเวอรช่ันปกติ หรือแมกระ

ทั้ง Open Source Software เชน ระบบปฏิบัติการ Linux และ Start Office ซึง่เปนฟรีซอฟตแวร เปนตน

Page 15: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

2. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหมีการใชเทคโนโลยีโครงขายความเร็วสูง 

ทุกวันนี้มีการเกิดขึ้นของรูปแบบการใชงานขอมูลในลักษณะมัลติมีเดียไมวาจะเปนในรูปแบบ เพลง วิดีโอ และ

โปรแกรมประยุกตอื่นๆ (Software as a service) ผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งมีความตองการความรวดเร็วในการรับสง

ขอมูล (Bandwidth) ที่สูง 

ตามกราฟขางบน แสดงสถิติการเติบโตของการใช Bandwidth ในประเทศไทย (Mbps)ซึ่งมีแนวโนมที่มีการเติบโตที่

สูงขึ้น 

 

ที่มา : IDC THAILAND 

จากกราฟขางบนจะเห็นไดชัดวาการใชอินเตอรเน็ตความเร็วตํ่า (Narrowband) มีแนวโนมที่ตํ่าลง ใน

ขณะเดียวกันการใชอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband) มีแนวโนมที่สูงขึ้น แนวโนมเหลานี้เกิดขึ้นจากรูปแบบการใช

อินเตอรเน็ตที่เปลี่ยนแปลงไป ในปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ เกิดขึ้น เชน WIMAX  (Worldwide 

Interoperability of Microwave Access) ซึ่งมีขอไดเปรียบกวา Wi‐Fi ในปจจุบันเนื่องจากมีขอบเขตในการครอบคลุม

ที่กวางถึงรัศมี 50 กิโลเมตร เมื่อเทีบกับ Wi‐Fi ซึ่งครอบคลุมเพียง 100 ฟุตเทานั้น อีกทั้งตนทุนก็ยังต่ํากวา Wi‐Fi และ 3G 

Page 16: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

เมื่อคํานึงถึงประโยชนที่จะไดรับ  WIMAX ในปจจุบันสามารถรองรับการรับ‐สงขอมูลไดถึง 100 ลานบิตตอวินาที 

สามารถสงเสริมการทํางานนอกสถานที่ใหมีความสะดวกยิ่งขึ้นได

  นอกจากนี้  Broadband Power Line (BPL) หรือการใหบริการอินเตอรเน็ตผานทางกระแสไฟฟา ยังเปน

ทางเลือกที่นาสนใจ เนื่องจากจํานวนพื้นที่ที่กระแสไฟฟาเขาถึงมีปริมาณมากอยูแลว และเปนโครงสรางพื้นฐานหลัก

ครอบคลุมอยูทั่วประเทศจะเปนการชวยประหยัดเวลาและงบประมาณการลงทุนดานโครงขายโทรคมนาคม ทําให

ประชาชนไมจําเปนตองใชโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ เชน สายโทรศัพท สัญญาณดาวเทียม หรือสัญญาณมือถือ เปนตน  ใน

ปจจุบันความเร็วในการรับ‐สงขอมูลผานทางกระแสไฟฟา อยูระหวาง 4 ถึง 20 ลานบิตตอวินาที ซึ่งเพียงพอตอการใชงาน

โดยทั่วไป

สําหรับพื้นที่ทุรกันดารที่โครงสรางพื้นฐานหลัก (ไฟฟา และโทรศัพท) ยังเขาไมถึงนั้น เชน ภูเขา หรือหมูบานที่

อยูในปา  การสื่อสารผานทางสัญญาณดาวเทียม (Satellite Communication Technology) ก็เปนทางเลือกอยางหนึ่ง ที่

ทําใหประชากรในพื้นที่ที่อยูหางไกลสามารถเขาถึงได

เทคโนโลยีดังกลาวหากไดเลือกใชอยางเหมาะสมแลวจะทําใหบริการอินเตอรเน็ตเกิดประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลในการใชงานไดอยางสูงสุด โดยการสงเสริมนั้นจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝาย ทั้งจากภาครัฐ

สถาบันการศึกษา หนวยงานกํากับดูแลโทรคมนาคม และภาคเอกชน โดยมีการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร เปาหมาย

และแนวทางการสงเสริมอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว  

3. การนําเครื่องพีซีกลับมาใชงานใหม  (Recycled PCs) 

  ควรเปนความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนในรูปแบบเครือขาย โดยควรมีการประชาสัมพันธใหองคกร

ตางๆบริจาคเครื่องพีซีที่ใชแลวเพื่อนําไปใชในชุมชนดอยโอกาส นอกจากนี้แลวนั้นยังชวยลดผลกระทบตอสภาพแวดลอม

จากการกําจัดอุปกรณเหลานี้ดวย ตลอดจนลดคาใชจาย และภาระทางกฎหมายที่บังคับใหรีไซเคิลเครื่องคอมพิวเตอรเกาอีก

ดวย ในปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ไดทําหนาที่เปนหนวยงานกลางในการรับบริจาค

คอมพิวเตอรใชแลว สามารถดูขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.ntc.or.th/

Microsoft มีโครงการที่ช่ือวา Microsoft Authorized Refurbisher (MAR) ที่ชวยใหองคกรตางๆ บริจาค

เครื่อง PC ที่ใชแลวเพื่อนําไปใชในชุมชนที่ดอยโอกาสทั่วโลก โดยนําคอมพิวเตอรเหลานี้ไปปรับปรุงโดยใช Software 

แทของ Microsoft ซึ่งนอกจากจะชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการกําจัดอุปกรณเหลานี้ ยังเปนการลดคาใชจาย

และภาระทางกฎหมายที่บังคับให Recycle เครื่องคอมพิวเตอรเกาอีกดวย 

4. ควรจัดใหมีบริการที่สอดคลองกับทองถิ่น 

การแกปญหา Digital Divide โดยสวนใหญเปนนโยบายโดยตรงมาจากรัฐบาลไมวาจะเปน “โครงการ

อินเตอรเน็ตตําบล” และ “โครงการอินเตอรเน็ตในสถานศึกษา” จากการศึกษาผลการดําเนินงานตามโครงการตางๆของ

Page 17: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

รัฐบาลที่ผานมา พบวาการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศของประชาชน บางสวนมักดําเนินการ

ในลักษณะการนํานโยบายจากสวนกลางไปใชในลักษณะเดียวกันทุกพื้นที่ การดําเนินการในลักษณะดังกลาวอาจขาดการ

วิเคราะหความตองการที่แทจริงของประชาชนในแตละพื้นที่เปาหมายซึ่งอาจมีความตองการ และความพรอมที่แตกตางกัน

จึงสงผลใหขาดการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ และมีผลกระทบใหบางโครงการไมประสพผลสําเร็จตามเปาหมาย

ที่ต้ังไว 

การแกปญหา Digital Divide ในประเทศไทยมีความจําเปนที่จะตองทําในแบบ Bottom‐Up หรือการให

ประชาชนในทองถิ่นเขามามีสวนรวมในโครงการ ภายใตกรอบขั้นตอน  4 ขั้น คือ 

1) ดําเนินการสํารวจความพรอม ลักษณะวิถีชีวิต และความตองการที่แทจริงของกลุมประชาชนเปาหมาย  

2) นําประชาชนในกลุมเปาหมายหรือในพื้นที่ เขามามีสวนรวมในการกําหนดขอบเขตของโครงการ 

3) นําเทคโนโลยีสารสนเทศ และความตองการของประชาชนกลุมเปาหมาย มาประยุกตใหสอดคลองกับความ

ตองการและวิถีชีวิตของประชาชน  

4) กําหนด Key Performance Indicators เพื่อใชในการวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแตละโครงการ 

การดําเนินงานทั้งหมดเหลานี้ควรเปนการรวมมือระหวางภาครัฐ และเอกชนในการสนับสนุนงบประมาณ และกํากับดูแล 

รอยละของครัวเรือนท่ีไมมีเคร่ืองคอมพิวเตอร จําแนกตามเหตุผลท่ีไมมีเคร่ืองคอมพวิเตอร พ.ศ. 2550 

 

ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ

Page 18: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

จากภาพขางบนจะเห็นไดวาเหตุผลสวนใหญที่ครัวเรือนไมมีคอมพิวเตอรคือ มีทัศนคติวาคอมพิวเตอรไมมีความ

จําเปน (รอยละ 50 ของครัวเรือนที่ไมมีคอมพิวเตอร) ปญหาเหลานี้เปนบทบาททั้งในสวนของภาครัฐ เอกชน และ

สถานศึกษา ที่ตองสื่อใหเห็นถึงประโยชนของการใชคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต

5. สงเสริมใหมีเนื้อหา (Content) และซอฟตแวรท่ีเหมาะสม 

ในสวนนี้เปนบทบาททั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาซอฟตแวรรวมถึงเว็บไซตที่เหมาะสมและงายตอการใช

งานของกลุมเปาหมายที่แตกตางกัน โดยการสงเสริมใหมีผูใหบริการเนื้อหา (Content Providers)  และขยายขอบเขต

กิจกรรมบนเครือขายอินเตอรเน็ตใหครอบคลุมความตองการของประชาชนในชนบท ควรมีการสํารวจความตองการในดาน

เนื้อหาที่จําเปนและเปนที่ตองการในแตละพื้นที่ สนับสนุนใหใชอินเตอรเน็ตเปนเครื่องมือทางการศึกษา การพาณิชย การ

สาธารณสุข และการใหบริการของภาครัฐมากขึ้น สนับสนุนการใช Domain Name ภาษาไทย  

ในปจจุบันภาษาที่ใชงานบนอินเตอรเน็ตและบนเว็บไซต 3 อันดับแรกคือ อังกฤษ จีน และญี่ปุน ดังนั้นควรมีการ

พัฒนาซอฟตแวรที่ใชในการแปลงภาษาในเว็บไซตใหเปนภาษาไทย รวมทั้งควรมีการจัดทําซอฟตแวรภาษาไทย และ

เว็บไซตภาษาไทยใหมากยิ่งขึ้น เนื่องจากสาเหตุอยางหนึ่งของการที่ประชาชนไมตองการใชอินเตอรเน็ตเนื่องมาจาก

ขอจํากัดในดานความสามารถการใชภาษา ภาครัฐควรมีการจัดทําขอตกลงกับบริษัทพัฒนาซอฟตแวรและเว็บไซต ใหควรมี

เวอรช่ันภาษาไทยใหมากยิ่งขึ้น  

  นอกจากนี้แลวการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและเนื้อหาก็ควรมีการพัฒนาอยางมีกลยุทธ กลาวคือเทคโนโลยี

สารสนเทศ และเนื้อหาควรมีความงายตอการใชงาน และผูใชควรเขาใจในประโยชนที่ตนเองไดรับ  

 

E x t e r n a lV a r i a b l e s

P e r c e i v e d U s e f u l n e s s

P e r c e i v e d E a s e o f U s e

A t t i t u d e T o w a r d

U s i n g

B e h a v i o r a l In t e n t i o n

t o U s e

A c t u a lS y s t e m

U s e

 

Technology Acceptance Model (TAM) 

Technology Acceptance Model หรือ TAM ถูกนํามาใชกันอยางกวางขวาง เปนแบบแผนในการสราง

เทคโนโลยีที่ประสพผลสําเร็จในการพยากรณการยอมรับดานเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยช้ีใหเห็นถึงสาเหตุที่เกี่ยวของกับ

Page 19: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

การรับรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศของแตละบุคคลในเรื่องของประโยชนที่เขาจะไดรับ และการใชงานที่งายจะกอใหเกิด

พฤติกรรมในการสนใจที่จะใชเทคโนโลยีสารสนเทศ สงผลใหมีการนํามาใชและยอมรับในเทคโนโลยี เพราะความมี

ประโยชนจะเปนตัวกําหนดการรับรูในระดับบุคคล คือ แตละคนก็จะรับรูไดวาเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีสวนชวยในการ

พัฒนาผลการปฏิบัติงานของเขาไดอยางไรบาง สวนความงายในการใช จะเปนตัวกําหนดการรับรูในแงของความสําเร็จที่จะ

ไดรับวาตรงกับที่ตองการหรือไม งานจะสําเร็จตรงตามที่คาดไวหรือไม ถานํา TAM มาประยุกตใชในที่นี้คือ ภาครัฐและ

เอกชนควรออกแบบเทคโนโลยีและเนื้อหาของขอมูลสารสนเทศ ใหมีความงายตอการใชงาน และควรสื่อถึงประโยชนที่

ประชาชนจะไดรับใหทราบในการเขาถึงและใชขอมูลสารสนเทศนั้นๆ  

6. พัฒนาชองทางการเขาถึงอินเตอรเน็ตใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น 

การเขาถึงอินเตอรเน็ตในปจจุบันไมจําเปนที่จะจํากัดเฉพาะการเขาถึงผานการใชคอมพิวเตอรต้ังโตะหรือพกพา

เทานั้น การเขาถึงอินเตอรเน็ตสามารถทําไดผานทางอุปกรณอื่นๆ เชน โทรศัพทมือถือ เครื่องเลน MP3 วิดีโอเกม (Xbox, 

PS3, Wii), หรือแมกระทั่งทีวี  

 

  จากกราฟจะเห็นไดวาการเติบโตของโทรศัพทเคลื่อนที่มีอัตราที่สูงมาก เนื่องจากคาใชจายที่ถูกลง และการ

ใหบริการที่มีการแพรหลายมากขึ้น

จํานวนของผูใชโทรศัพทมือถือ คอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ตในประเทศไทย 

Page 20: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

 

ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ

จากกราฟขางบนในประเทศไทยมีผูใชโทรศัพทมือถือ ประมาณ 28.3 ลานคน (รอยละ 47.2 ) จะเห็นไดวาจํานวน

ของโทรศัพทมือถือในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตที่สูงมาก โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับการเติบโตของโทรศัพท

พ้ืนฐาน เราสามารถเรียกไดวาโทรศัพทมือถือในปจจุบันเปนปจจัยที่ 5 สําหรับการดํารงชีวิต อีกทั้งราคาที่มีแนวโนมที่ตํ่าลง

พรอมกับฟงกช่ันการทํางานที่เพิ่มขึ้น โทรศัพทมือถือเหลานี้สามารถที่จะเปนชองทางในการเขาถึงอินเตอรเน็ตไดเปนอยาง

ดี โดยเฉพาะเร็วๆ นี้ประเทศไทยกําลังจะพัฒนาไปสูโทรศัพทมือถือยุคที่ 3 (3G) ซึ่งมีชองทางในการรับและสงสัญญาณที่

สูงขึ้น (Broadband Connection) ทําใหการเขาถึงอินเตอรเน็ตสามารถเปนไปไดทุกที่และรวดเร็ว  

  นอกจากนี้แลวนั้น ชองทางในการเขาถึงควรขยายขอบเขตไปยังผูพิการดวย ยกตัวอยาง เชน ผูพิการทางสายตา

ควรมีโอกาสในการเขาถึงขอมูลผานทางเสียง เชน Spoken Web Site หรือ Voice E‐mail เปนตน ผูใหบริการในดาน

เนื้อหา (Content Providers) ควรมีการพิจารณาใหการเขาถึงมีไดหลายชองทาง

7. ควรมีการสงเสริมยกระดับการศึกษา และขีดความสามารถในการใชงานของประชาชน 

เปนหนาที่ทั้งในสวนของภาครัฐ เอกชน และสถานการศึกษาในการใหการฝกอบรม เพื่อใหประชาชนใน

กลุมเปาหมายตาง ๆ โดยเฉพาะกลุมคนพิการ กลุมผูสูงอายุ และเกษตรกรซึ่งยังมีสัดสวนการใชงานอินเตอรเน็ตคอนขางต่ํา

เมื่อเทียบกับประชากรกลุมอื่น ๆ สามารถเขาถึงและใชขอมูลสารสนเทศทางอินเตอรเน็ตไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการ

ฝกอบรมความมีการออกแบบหลักสูตรใหตรงกับพื้นฐาน และความตองการของประชาชนในแตละกลุมเปาหมาย ทางเลือก

อยางหนึ่งก็คือ ควรมีการสงเสริมใหมีการเรียนการสอนทางไกล ไปยังกลุมประชากรที่มีความเสียเปรียบในการเขาถึงขอมูล

สารสนเทศ เชน โครงการปลูกปญญาของทรู เปนตน  

นอกจากนี้ควรมีการสงเสริมใหมีศูนยใหบริการอินเตอรเน็ตในพื้นที่ตางๆ ในรูปแบบบริการสาธารณะ ไปยัง

ระดับหมูบาน โดยการออกแบบศูนยดังกลาวควรออกแบบใหตรงกับความตองการในแตละพื้นที่ นอกจากนี้

Page 21: Digital Divide Danuvasin - NIDAkm.nida.ac.th/home/images/pdf/5-2.pdf · อะไรคือสาเหตุ Digitalของ Divide ป ญหาของ Digital Divide นั้

สถาบันการศึกษาควรมีการจัดชองทางการเรียนการสอนผานทางอินเตอรเน็ตในรูปแบบของ E‐Learning หรือ E‐

Education ในพื้นที่ เพื่อสงเสริมการคนหาและเรียนรูขอมูลสารสนเทศผานทางอินเตอรเน็ต 

บทสรุป 

  งานวิจัยนี้อธิบายถึงปญหาและสาเหตุของปญหาของความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี

สารสนเทศ อันเปนความแตกตางระหวางผูที่มี และสามารถใชคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศได และผูที่ไมมีหรือ

ขาดโอกาส ความไมเทาเทียมกันนี้สามารถนําไปสูความไดเปรียบและความเสียเปรียบในดานเศรษฐกิจ สังคม และ

การศึกษา อีกทั้งปญหานี้เปนสิ่งที่ขัดขวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากเปนที่ยอมรับวา คอมพิวเตอรและ

เทคโนโลยีสารสเทศเปนกลไกหลักในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศ และความรูที่จะใชพัฒนาประเทศ ปจจัยของปญหา

เหลานี้มีดวยกันหลายมิติ ทั้งในดานโครงสรางพื้นฐานที่จําเปน และการพัฒนาทักษะการใชคอมพิวเตอรเทคโนโลยี

สารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ การแกปญหาจําเปนอยางยิ่งที่ตองมาจากความรวมมือทั้งภาครัฐ เอกชน องคกรอิสระ

(NGO)  และสถาบันการศึกษา ที่จะรวมมือกันในการลดความเหลื่อมล้ําใหหมดไป งานวิจัยนี้นําเสนอโมเดลของปญหาและ

สาเหตุของ Digital Divide รวมทั้งนําเสนอแนวทางแกไขปญหาดังกลาว หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําผลของการศึกษา

นี้ไปปรับใชเพื่อลดชองวางในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศตอไป

   

บรรณานุกรม 

1.  Davis, F., Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology. MIS Quarterly, 1989. 13(3): p. 319‐340. 

2.  NECTEC, Thailand ICT Indicators 2005. 2005. 

3.  Rangan, V.K. and M. Bell, Microsoft's Unlimited Potential. Harvard Business School, 2008. 

4.  Rogers, E.M., Diffusion of innovations. 5th ed. 2003, New York: Free Press. xxi, 551 p. 

5.  คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ, รายงานแนวทางกํากับดูแลนโยบายอินเตอรเน็ตเพื่อแกไขปญหา

ความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศทางอินเตอรเน็ต. 2550, สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม

แหงชาติ. 

6.  สํานักงานสถิติแหงชาติ, สรุปผลสํารวจ ผูทํางานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการศื่อสาร. 2550. 

7.  สํานักงานสถิติแหงชาติ, การสํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) พ.ศ. 2550. 2550. 

8.  สํานักงานสถิติแหงชาติ, เครื่องช้ีภาวะเศรษฐกิจไทยที่สําคัญ พ.ศ. 2551. 2551. 

9.  สํานักงานสถิติแหงชาติ, รายงานสถิติรายป 2551 ประเทศไทย. 2551.