บทที่ 5 -...

12
111 บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

Upload: hoangkhanh

Post on 06-Feb-2018

225 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

111บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

112แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554

113บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตาม ประเมินผล

5.1 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ

แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 จะสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนฯ ตามตัวชี้วัดและเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จำเป็นที่จะต้องมีกระบวนการประสานเพื่อการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ โดยเฉพาะการปฏิบัติการในระดับท้องถิ่น ซึ่งเป็นการป้องกันและแก้ไขปญัหาทีแ่หลง่กำเนดิ อยา่งไรกต็าม มาตรการและแนวทางการปฏบิตัทิีก่ำหนดไวใ้นแผนยทุธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ฉบับนี้ หน่วยงานในระดับพื้นที่สามารถนำไปพิจารณาปรับใช้ตามความเหมาะสมของสภาพปัญหาและพื้นที่ โดยจะต้องมีการวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาแต่ละพื้นที่ก่อน

กระบวนการและกลไกในการแปลงแผนสู่การปฏิบัติในระดบัพืน้ที ่มดีงันี้ 5.1.1 สรา้งความเขา้ใจในแผนยทุธศาสตรอ์นามยัสิง่แวดลอ้มแหง่ชาติ ฉบบัที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ในระดับต่างๆ โดยคณะกรรมการอนามัยสิ่งแวดล้อม มีบทบาทหน้าที่ กำหนดนโยบาย ทิศทาง ยุทธศาสตร์ สนับสนุน ส่งเสริมการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศทีเ่ชือ่มโยงกบัแผนงานขององคก์รระหวา่งประเทศ และประสานความรว่มมอืในการดำเนนิงาน กำกับดูแลติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ โดยถือเป็นกลไกระดับประเทศ

5.1.2 เสริมสร้างศักยภาพให้หน่วยงานในพื้นที่โดย 1) เผยแพร่ความรู้ให้กับหน่วยงานในพื้นที่ และพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ที่มีหน้าที่ในการดำเนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในระดับภาค ได้แก่ศูนย์อนามัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการแปลงแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติ และมีความพร้อมในการจัดเตรียมและวิเคราะห์โครงการได้ ทั้งนี้ โดยกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นผู้รับผิดชอบหลัก 2) จดัตัง้คณะทำงานระดบัจงัหวดั เพื่อให้มีหน้าที่จัดทำและติดตามประเมินผล การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฯ หรือปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของ

114แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554

คณะทำงานระดับจังหวัดที่มีอยู่เดิม ให้สามารถดำเนินงานครอบคลุมการจัดทำแผนปฏิบัติการ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด รวมทั้ง การจัดทำแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน เพื่อเตรียมพร้อมสำหรบัภยัพบิตั ิ และ ผนวกแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าวไว้ภายใต้แผนปฏิบัติการคุณภาพสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัดที่ต้องนำเสนอขอจัดสรรงบประมาณประจำปีอยู่แล้ว ทั้งนี้ จังหวัดต้องสนับสนุนให ้ ศูนย์อนามัย สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค และสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด เขา้ไปมสีว่นรว่มในการจดัทำแผนงาน/โครงการดา้นอนามยัและสิง่แวดลอ้มดว้ย 3) จงัหวดัและทอ้งถิน่มกีารจดัทำรายงานตวัชีว้ดัสถานการณอ์นามยัสิง่แวดลอ้มของจงัหวดัและทอ้งถิน่ โดยเสนอรายงานผ่านความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อรายงานตอ่รฐับาล และใชป้ระกอบการขอรบัการสนบัสนนุดา้นงบประมาณของจงัหวดั และทอ้งถิน่ ในแตล่ะปตีอ่ไป 5.1.3 ผลกัดนัใหก้ารจดัการอนามยัสิง่แวดลอ้มเปน็วาระแหง่ชาต ิ โดยความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนในประเทศตระหนักถึงความสำคัญที่เชื่อมโยงกันของสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และเป็น การตอบสนองการดำเนนิการตามเปา้หมายการพฒันาแหง่สหสัวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) และทั้งสองกระทรวงร่วมกันเป็นหน่วยงานหลัก มีบทบาทในการขับเคลื่อน การดำเนินงาน การติดตาม และประเมินผล เพื่อให้กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1) สนบัสนนุทกุภาคสว่น ให้มีการดำเนินงานที่ตอบสนองต่อเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 โดย

(1) ให้มีการทบทวนและปรับปรุง เป้าหมาย และแผนยุทธศาสตร์อนามัย สิง่แวดลอ้มแหง่ชาต ิ ฉบบัที ่ 1 พ.ศ. 2552-2554 แผนปฏบิตักิารดา้นอนามยั สิ่งแวดล้อมประจำปี และแผนปฏิบัติการฉุกเฉินเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติในทุกระดับ ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ และเทคโนโลยีเป็นประจำทุกปี

(2) ใหม้กีารนำยทุธศาสตรบ์รรจไุวใ้นแผนแมบ่ท (Master Plan) ของหนว่ยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดกรอบยุทธศาสตร์ในส่วนที่เกี่ยวข้องของระดับ ภาคส่วนต่างๆ เช่น แผนแม่บทระดับกระทรวง กรม ภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด และระดับท้องถิ่น

(3) กำหนดให้การดำเนินงานที่ตอบสนองแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 เป็นตัวชี้วัดของหน่วยงาน

(4) จดัทำคูม่อืการแปลงแผนยทุธศาสตรอ์นามยัสิง่แวดลอ้มแหง่ชาต ิ ฉบบัที ่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ไปสู่การปฏิบัติ

(5) เสริมสร้างศักยภาพผู้ที่มีบทบาทเกี่ยวข้อง 2) เผยแพรข่อ้มลูและสถานการณด์า้นอนามยัสิง่แวดลอ้ม ให้ประชาชนรับทราบและสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และผลกระทบ ต่อสุขภาพ โดย

115บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

(1) เปิดช่องทางให้ความรู้และข่าวสารด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่ประชาชน (2) สนับสนุนทุกภาคส่วนให้ร่วมเป็นเครือข่ายการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม

ของชมุชน รวมทัง้ เปดิชอ่งทางรบัฟงัขอ้คดิเหน็และขา่วสารจากประชาชน (3) กำหนดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทำ เสนอข้อคิดเห็น ร่วมปฏิบัติ

ตลอดจนให้มีการวัดระดับความพึงพอใจของประชาชนในแผนปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติผ่านกลไกคำรับรองปฏิบัติราชการ เรื่องการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมการปฏิบัติราชการ

3) ศกึษาและประเมนิผลทีค่าดวา่จะไดร้บัดา้นสิง่แวดลอ้ม และการสาธารณสขุของแผนพฒันาเศรษฐกจิและสงัคมแหง่ชาต ิ ฉบบัที ่ 10 พ.ศ. 2550-2554 และนโยบายรฐับาล เพือ่นำมาเปน็แนวทางการจดัทำ และการดำเนนิการแปลงแผนไปสูก่ารปฏบิตั ิ ทีส่อดคลอ้งรองรบักบัการดำเนนิงาน การพฒันาคณุภาพการบรหิารจดัการภาครฐั (PMQA) ตลอดจนใชเ้ปน็ฐานขอ้มลูในการอา้งองิ และการปรบักระบวนการในการแปลงแผนไปสูก่ารปฏบิตัติอ่ไป 5.1.4 สนบัสนนุใหห้นว่ยงานตา่งๆ ดำเนนิการตามบทบาทหนา้ที ่ โดยมีแนวทางสำหรับการดำเนินงานระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด ระดับส่วนกลาง และระดับภาค ดังนี้ 1)ระดบัทอ้งถิน่ ไดแ้ก ่องคก์ารบรหิารสว่นจงัหวดั เทศบาล องคก์ารบรหิารสว่นตำบล ชุมชน และเอกชน

(1) จัดทำฐานข้อมูลระดับท้องถิ่น เกี่ยวกับฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดมลพิษ และฐานข้อมูลการสืบค้นอุบัติการณ์ของการเจ็บป่วยที่คาดว่าจะมีสาเหตุจากมลพิษ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี และแผนปฏิบัติการฉุกเฉินเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติ

(2) จัดตั้งคณะทำงานระดับท้องถิ่นที่มีหน้าที่ในการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านอนามยัสิง่แวดลอ้ม และตดิตามผลการดำเนนิงาน โดยคณะทำงานชดุดงักลา่ว มผีูแ้ทนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทรพัยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดล้อมจังหวัด และผู้แทนหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงาน

(3) จดัทำแผนปฏบิตักิารอนามยัสิง่แวดลอ้มระดบัทอ้งถิน่ (Local Environmental health Action Plan: LEHAP) ที่บูรณาการปฏิบัติการคุณภาพ สิง่แวดลอ้มระดบัจงัหวดั และแผนจดัทำแผนปฏบิตักิารดา้นการสาธารณสขุ ให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาในพื้นที่ โดยผ่านกลไกคณะทำงานระดับ ท้องถิ่นที่มีหน้าที่ในการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและตดิตามผลการดำเนนิงาน

(4) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ ทสม. อสม. องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม องค์กรเอกชนด้านสาธารณสุข ชุมชน องค์กรชุมชน รวมทั้ง ภาคธุรกิจเอกชน มีส่วนร่วมในการดำเนินงานเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอนามัย สิง่แวดลอ้มในพืน้ที่

116แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554

2) ระดบัจงัหวดั ได้แก่ ผู้บริหารของจังหวัด ตั้งแต่ระดับรองผู้ว่าราชการจังหวัด ขึ้นไป โดยเฉพาะจังหวัดที่มีการประกาศเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติฉุกเฉิน เขตควบคุมมลพิษ และพื้นที่วิกฤตด้านมลพิษ เป็นต้น โดยให้

(1) นำแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ไปจัดทำแผนปฏิบัติการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด โดยผ่านกลไกการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด และจังหวัด

(2) จัดทำฐานข้อมูลระดับจังหวัดเกี่ยวกับฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดมลพิษ และฐานขอ้มลูการสบืคน้อบุตักิารของการเจบ็ปว่ยทีค่าดวา่จะมสีาเหตจุากมลพษิ เพือ่ใชเ้ปน็ขอ้มลูสำหรบัการจดัทำแผนปฏบิตักิารประจำป ีและแผนปฏบิตักิารฉุกเฉินเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติ

3)ระดบัสว่นกลาง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีบทบาท ดังนี้ (1)กระทรวงทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้ม

• ดำเนนิการจดัทำมาตรฐานคณุภาพสิง่แวดลอ้ม มาตรฐานการระบายมลพษิ จากแหล่งกำเนิด และดชันชีีว้ดัคณุภาพสิง่แวดลอ้ม

• การควบคุมการระบายมลพิษจากแหล่งกำเนิด • จัดทำฐานข้อมูล และรวบรวมข้อมูลด้านมลพิษ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม • ประสานกับหน่วยงานส่วนกลางในการจัดทำเครือข่ายฐานข้อมูลด้าน

สิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข เพื่อใช้ในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 และแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องร่วมกัน

• ศึกษาวิจัยด้านภาวะมลพิษที่มีผลต่อสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม พัฒนา การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการมลพิษ ประสานความรว่มมอืดา้นนโยบาย กำหนดมาตรฐาน มาตรการ แนวทางการดำเนนิงาน และการศึกษาวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผ่านกลไก ความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ส่งเสริมให้องค์กรปกครองท้องถิ่นดำเนินการด้านการควบคุมมลพิษและส่งเสริมคุณภาพ สิง่แวดลอ้ม และดำเนนิการเพือ่การคุม้ครองสขุภาพประชาชนในพืน้ทีท่ีอ่าจไดร้บัผลกระทบจากมลพษิทางสิง่แวดลอ้ม

(2)กระทรวงสาธารณสุข • กำหนดนโยบาย และหลักเกณฑ์ด้านการสาธารณสุขพื้นฐาน • รวบรวมข้อมูล และจัดทำรูปแบบฐานข้อมูลการสืบค้นอุบัติการณ์ของ

การเจบ็ปว่ยทีค่าดวา่จะมสีาเหตจุากมลพษิ • ศึกษาวิจัยอุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากมลพิษ • จดัทำดชันชีีว้ดัดา้นสขุภาพและมาตรฐานคณุภาพชวีติดา้นสาธารณสขุ • ประสานความร่วมมือด้านนโยบาย การกำหนดมาตรการ แนวทาง

117บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

การดำเนนิงาน และการศกึษาวจิยัดา้นสขุภาพ และผลกระทบตอ่สขุภาพจากปญัหาสิง่แวดลอ้มรว่มกบัหนว่ยงานทีเ่กีย่วขอ้ง ผา่นกลไกความเหน็ชอบของคณะกรรมการสาธารณสขุ และคณะกรรมการอนามยัสิง่แวดลอ้ม

• ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการด้านการพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง

(3) กระทรวงการคลัง • สำนกังบประมาณ จดัใหก้ารดำเนนิงานดา้นอนามยัสิง่แวดลอ้มภายใตแ้ผน

ยทุธศาสตรอ์นามยัสิง่แวดลอ้มแหง่ชาต ิฉบบัที ่1 พ.ศ. 2552-2554 อยูใ่นระบบงบประมาณของประเทศ สนบัสนนุงบประมาณ ทัง้ในรปูแบบสหสาขาการจดัการสิง่แวดลอ้มและการสาธารณสขุ และเฉพาะสาขา

• นำเครื่องมือการเงินและการคลังมาประยุกต์ใช้ในการจัดการด้านอนามัย สิง่แวดลอ้ม เชน่ การจดัเกบ็ภาษสีิง่แวดลอ้ม การประกนัคณุภาพสิง่แวดลอ้ม (สำหรับการลงทุนอุตสาหกรรมและบริการที่จะมีการระบายมลพิษออกสู ่ สิง่แวดลอ้ม) การสนบัสนนุเงนิทนุ และกองทนุ เพือ่ลดมลพษิทีเ่ปน็อนัตราย ตอ่สขุภาพ การใหส้นิเชือ่ดอกเบีย้ตำ่ ตลอดจนรบัประกนัสนิคา้จากการทำเกษตรอนิทรยี ์ และเกษตรปลอดการเผา เปน็ตน้

(4)กระทรวงมหาดไทย • สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้มี

การดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมตามภารกิจที่กำหนดตามกฎหมายและกลไกการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

• ประสานและถ่ายทอดนโยบาย มาตรการ และแนวทางการดำเนินงานที่กำหนดโดยหน่วยงานภาคีด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมลงสู่ระดับจังหวัด ผ่านกลไกแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด และจังหวัด

• สนับสนุนดำเนินการบังคับใช้กฎหมายต่อผู้ฝ่าฝืนกฎ ระเบียบ ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด

• ส่งเสริมกลุ่มจังหวัด และจังหวัด ให้ดำเนินการยกระดับคุณภาพชีวิตด้านกายภาพ เพื่อเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี และเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของประชาชน

(5) กระทรวงอุตสาหกรรม • ประสานความร่วมมือในการสนับสนุน และส่งเสริมการดำเนินการด้าน

นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อม และสุขาภิบาลในสถานประกอบการตาม พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 รวมทั้งส่งเสริมหลักการรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ในชุมชนรอบสถาน-ประกอบการ ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นที่พักของลูกจ้างของสถานประกอบการในบรเิวณนัน้ ผา่นกลไกแผนพฒันาอตุสาหกรรม ผา่นกลไกความเหน็ชอบ

118แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554

ของคณะอนุกรรมการประสานการจัดการสิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม และคณะกรรมการสิง่แวดลอ้มแหง่ชาติ

• ดำเนินการบังคับใช้กฎหมาย ผ่านกลไกการบังคับใช้กฎหมายภายใต้ พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. กำหนดแผนและขัน้ตอนการกระจายอำนาจใหแ้กอ่งคก์รปกครองสว่นทอ้งถิน่ พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

(6) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ประสานความร่วมมือในการสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินการด้าน

นโยบาย มาตรการ และแนวทางการจัดการมลพิษ การใช้สารเคมีรวมทั้งสารเคมีเร่งผลผลิตและการเจริญเติบโต และสารเคมีตกค้างจากการทำเกษตรกรรม การปศุสัตว์ และการเพาะเลี้ยงสัตว์ รวมทั้ง ส่งเสริม หลักการรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ของผู้ประกอบการและกลุ่มสหกรณ์การเกษตรกรรม การปศสุตัว ์และการเพาะเลีย้งสตัว ์ตลอดจนสตัวท์ีใ่ชบ้รโิภคอืน่ๆ

• ดำเนินการบังคับใช้กฎหมาย ผ่านกลไกการบังคับใช้กฎหมาย ภายใต้ พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. 2490 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

• จัดตั้งคณะอนุกรรมการประสานการจัดการสิ่งแวดล้อม และเกษตรกรรม ภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อดำเนินการพิจารณาให้ความเห็นการจัดมลพิษจากกิจกรรมการเกษตร ปศุสัตว์ และการเพาะเลีย้งสตัวน์ำ้ กอ่นนำเสนอคณะกรรมการสิง่แวดลอ้มแหง่ชาตใิหค้วามเหน็ชอบเพื่อบังคับใช้ตามกฎหมายต่อไป

(7)กระทรวงพลังงาน • จัดทำแผนพัฒนาพลังงานอย่างมีส่วนร่วม โดยให้ความสำคัญกับประเด็น

สิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข เพื่อให้มีการบรรจุผลกระทบด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมไว้เป็นประเด็นหรือส่วนหนึ่งของเป้าหมายของการพัฒนา

• ประสานความร่วมมือในการสนับสนุน และส่งเสริมการดำเนินการด้านนโยบายมาตรการ และแนวทางการจดัการสิง่แวดลอ้ม และความปลอดภยั ในการพัฒนาพลังงาน รวมทั้ง ส่งเสริมหลักการรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพลังงาน

• ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัยด้านมลพิษที่มีผลกระทบต่อสุขอนามัย และ สิง่แวดลอ้ม เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการพัฒนาพลังงาน

119บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

8)กระทรวงคมนาคม • จัดทำแผนพัฒนาขนส่ง โดยมีการรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานด้าน

สิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข เพื่อให้มีการบรรจุผลกระทบด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมไว้เป็นประเด็น หรือส่วนหนึ่งของเป้าหมายของการพัฒนา

• ประสานความร่วมมือ ในการสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินนโยบายมาตรการและหรือแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ด้านการขนส่งสาธารณะทุกประเภท รวมทั้ง ส่งเสริมหลักการรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ของผู้ดำเนินการขนส่งทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ และราง

9)กระทรวงศึกษาธิการ • จัดทำหลักสูตรสิ่งแวดล้อมและมลพิษ และผลกระทบต่อสุขภาพเป็น

หลักสูตรภาคบังคับทุกชั้นปีการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา ตลอดจนให้มีการทัศนศึกษาด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยคำนึงถึงคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

• ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี และปริญญาโทด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี องค์ความรู้ และพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับกับงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและเหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันอนาคต

• ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพและการสุขาภิบาลในชุมชน

10)กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • วางแผน ส่งเสริม พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการผลิตสินค้า และ

บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสะอาดในกระบวนการผลิต

• สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาระบบเทคโนโลยีและนวัตกรรม เฝ้าระวังติดตาม ตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และ การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉิน

• พัฒนาข้อมูล ระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศต่อการเกิดโรคระบาด/โรคติดเชื้อ และรูปแบบการจัดการ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น

11)สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต ิ• ส่งเสริม สนับสนุน ประสานความร่วมมือและเชื่อมโยงเครือข่ายการวิจัย

ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

120แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554

• เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ สนับสนุนข้อมูลการวิจัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค

12)หน่วยงานราชการในสังกัดอื่นๆ เช่น สำนักงานสนับสนุนการวิจัย สำนักงานส่งเสริมการลงทุน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคารพาณิชย์ต่างๆ

• สนับสนุนและให้การส่งเสริมการลงทุนแก่งานวิจัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • สนับสนุนและให้การส่งเสริมการลงทุนและการกู้ยืมแก่ธุรกิจที่ช่วยรักษา

สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขอนามัยของประชาชน เช่น อุตสาหกรรมที่มีแผนปฏิบัติการจัดการสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลที่ดี การทำเกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดการเผา การทำอสงัหารมิทรพัยท์ีม่กีารจดัการสิง่แวดลอ้มทีด่ ี ตลอดจนอุตสาหกรรมผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

13)องค์กรพัฒนาต่างๆ • ประสานความร่วมมือในการสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานด้าน

นโยบาย มาตรการและแนวทางการจัดการด้านสุขาภิบาล อนามัย สิ่งแวดล้อม และมลพิษที่มีผลกระทบต่อสุขอนามัยของประชาชนและสัตว์ที่ใช้สำหรับบริโภค

• ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การระบายมลพิษ การใช้สารเคมี สารเร่งผลผลิตและการเจริญ ให้อยู่ในระดับที่กฎหมายกำหนดหรือต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด

• สนับสนุนและดำเนินการตามหลักการการรับผิดชอบต่อสังคมเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของผู้บริโภค (Corporate Social Responsibility: CSR) ของผู้ประกอบการในทุกระดับ

• ส่งเสริมและสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อมของประชาชน เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชนและสิ่งแวดล้อม

14)องค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการ เช่น สำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

• ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาขบวนการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่ สุขภาวะยั่งยืนของประชาชนและสังคมไทย

• รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานการบริการสาธารณสุข • กำกับดูแลหน่วยบริการและเครือข่ายบริการในการให้บริการสาธารณสุขให้

เป็นไปตามมาตรฐานที่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน กำหนด และอำนวยความสะดวกในการเสนอเรื่องร้องเรียน

• การบริหารจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ โดยการ

121บทที่ 5 การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

ประสานและการทำงานรว่มกนัของเครอืขา่ยนกัวจิยักบัภาคทีีเ่กีย่วขอ้งรวมถงึภาคประชาชนอย่างใกล้ชิด

15)องค์กรธุรกิจเอกชน • ให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่างๆ 16)ภาคประชาชน • ร่วมแสดงความคิดเห็นและสนับสนุนการดำเนินการในโครงการกิจกรรม

ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ

• ติดตาม ตรวจสอบ และสะท้อนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนฯ

• แสวงหาความรู้ใหม่ๆ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากสื่อช่องทางต่างๆ เพื่อเท่าทันการเปลี่ยนแปลง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการมีสุขภาพและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี

17)หน่วยงานด้านสื่อ • เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และการดำเนินงานภายใต้แผน

ยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ให้กับประชาชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

• สะท้อนข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากประชาชน และชุมชนแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ

4) ระดบัภาค ไดแ้ก ่ศนูยอ์นามยั (ศอ.) 1-12 สำนกังานสิง่แวดลอ้มภาค (สสภ.) 1-16 • นำแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-

2554 ไปใช้ในการจัดทำแผนกลยุทธ์อนามัยสิ่งแวดล้อมระดับภาค โดยให้ความสำคัญใน 6 ประเด็น ได้แก่ 1) คุณภาพอากาศ 2) น้ำ สุขอนามัย และการสขุาภบิาล 3) ขยะมลูฝอยและของเสยีอนัตราย 4) สารเคมเีปน็พษิและสารอนัตราย 5) การเปลีย่นแปลงสภาพภมูอิากาศ และ 6) การวางแผนรองรับภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่ครอบคลุมอยู่ในแผนยทุธศาสตรอ์นามยัสิง่แวดลอ้มแหง่ชาต ิ ฉบบัที ่ 1 พ.ศ. 2552-2554 โดยดำเนินการผ่านกลไกแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด และคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็นต้น

122แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554

• จัดทำฐานข้อมูลระดับภาคเกี่ยวกับฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดมลพิษและฐานข้อมูลการสืบค้นอุบัติการณ์ของการเจ็บป่วยที่คาดว่าจะมีสาเหตุจากมลพิษ เพือ่ใชเ้ปน็ขอ้มลูสำหรบัการจดัทำแผนปฏบิตักิารประจำป ีและแผนปฏบิตักิารฉุกเฉินเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติ

5.2การติดตามประเมินผล

เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 กำหนดใหท้ำการตดิตามและประเมนิผล โดยมกีารดำเนนิงานในเรือ่งตา่งๆ ดงันี ้

5.2.1 ใหจ้ดัตัง้คณะกรรมการตดิตามประเมนิผล การดำเนนิงานตามแผนยทุธศาสตร์อนามัยสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการอนามยัสิง่แวดลอ้มโดยมอีงคป์ระกอบคณะกรรมการฯ เปน็ผูแ้ทนจากสถาบนัอดุมศกึษา ที่มีคณะที่เกี่ยวข้องกับด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากคณะกรรมการอนามัยสิ่งแวดล้อม และคณะทำงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ผู้แทนองค์กรเอกชนอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาคมและองค์กรพัฒนาเอกชน เพื่อให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 โดยกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการ ทัง้นี ้ ใหม้หีนา้ทีใ่นการกำหนดนโยบาย แนวทางและกระบวนการตดิตามและประเมนิผล การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ รวมถึง การให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ฯ ในระยะต่อไป 5.2.2 ให้มีการติดตาม และประเมินผล ตัวชี้วัดตามมาตรการและเป้าหมายรายสาขา ภายใตแ้ผนยทุธศาสตรอ์นามยัสิง่แวดลอ้มแหง่ชาต ิ ฉบบัที ่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ทกุ 1 ปี และประเมินผลตามเป้าหมายของแผนฯ ในระยะครึ่งแผนฯ 5.2.3 ใหม้กีารพฒันาระบบฐานขอ้มลูอยา่งบรูณาการระหวา่งดา้นสิง่แวดลอ้ม และสาธารณสขุ โดยแสดงผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 ที่ประชาชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้ง่าย รวดเร็วและทันเหตุการณ์ 5.2.4 ใหม้กีารรายงานผลการดำเนนิงาน ตามแผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552-2554 และปัญหาอุปสรรค รวมทั้ง ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงานต่อคณะกรรมการอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และเสนอคณะรัฐมนตรีรับทราบ