บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1...

64
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การบริหารนโยบายสาธารณะกับผลกระทบตอธุรกิจ กรณีการ ปรับขึ้นคาแรงขั้นต่ํากับธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมนั้น ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวของ จากเอกสาร ตํารา วารสาร หนังสือพิมพ และเว็บไซตตางๆ เพื่อนํามากําหนด กรอบแนวคิด โดยมีเนื้อหาดังตอไปนี2.1 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการกําหนดนโยบายสาธารณะ 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบของนโยบายสาธารณะ 2.3 บทบาทของรัฐบาลตอนโยบายคาแรงขั้นต่ําในปจจุบัน 2.4 แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมกับการพัฒนาสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม 2.5 แนวคิดการบริหารจัดการสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมในปจจุบัน 2.6 แนวคิดทฤษฎีคาจาง 2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการกําหนดนโยบายสาธารณะ 2.1.1 ความหมายของการบริหารนโยบาย การบริหารนโยบายของรัฐ (Policy Execution) สามารถอธิบายความไดวา การบริหารหรือ Execution คือ การดําเนินการหรือการปฏิบัติงานใหเกิดผล (Sally Wehmeier, 2005) สวน นโยบายมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายไวในมุมมองที่หลากหลาย บาง ทานกลาววา นโยบาย หมายถึง ขอบเขต แนวทาง หรือหลักการในการตัดสินใจหรือในการ ดําเนินงาน (Charles E. Jacop, 1966 ; George R.Terry, 1977 ; Theo Haimann and William G. Scott, 1974) บางทานก็เห็นวา นโยบาย หมายถึง การตัดสินใจอยางมีขั้นตอน โดยอาศัยขอมูลที่มีอยู เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ (William T. Greenwood, 1965 ; John M. Piffner, 1960) บางทานก็อธิบายวา นโยบาย หมายถึง แผนงานประจํา ที่มาจากการตอรอง (Negotiation) การประนีประนอม (Compromise) ซึ่งตองมีการกําหนดขอตกลง รวมกัน (Consensus) มีการตรวจสอบทางเลือก และการกําหนดวิธีการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมาย ที่กําหนดไว (Alfred J. Kahn, 1969) สําหรับพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน .. 2542 ได อธิบายวา นโยบาย มาจาก นย + อุปาย ซึ่งเมื่อรวมกันแลว หมายถึง หลักและวิธีปฏิบัติซึ่งถือเปน แนวดําเนินการอาจกลาวโดยสรุปไดวา นโยบายสาธารณะ (Public Policy) หมายถึง สิ่งที่รัฐบาลเลือก

Upload: others

Post on 12-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ในการศึกษาวิจัย เร่ือง “การบริหารนโยบายสาธารณะกับผลกระทบตอธุรกิจ กรณีการปรับข้ึนคาแรงขั้นตํ่ากับธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม” นั้น ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ จากเอกสาร ตํารา วารสาร หนังสือพิมพ และเว็บไซตตางๆ เพื่อนํามากําหนดกรอบแนวคิด โดยมีเนื้อหาดังตอไปนี้ 2.1 แนวคิดเกีย่วกับนโยบายสาธารณะและการกําหนดนโยบายสาธารณะ 2.2 แนวคิดเกีย่วกับผลกระทบของนโยบายสาธารณะ 2.3 บทบาทของรัฐบาลตอนโยบายคาแรงข้ันตํ่าในปจจบัุน 2.4 แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมกับการพัฒนาสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม 2.5 แนวคิดการบริหารจัดการสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมในปจจุบัน 2.6 แนวคิดทฤษฎีคาจาง 2.7 งานวิจยัท่ีเกี่ยวของ 2.1 แนวคิดเก่ียวกับนโยบายสาธารณะและการกําหนดนโยบายสาธารณะ

2.1.1 ความหมายของการบริหารนโยบาย การบริหารนโยบายของรัฐ (Policy Execution) สามารถอธิบายความไดวา “การบริหาร” หรือ Execution คือ การดําเนินการหรือการปฏิบัติงานใหเกิดผล (Sally Wehmeier, 2005) สวน “นโยบาย” มีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายไวในมุมมองท่ีหลากหลาย บางทานกลาววา นโยบาย หมายถึง ขอบเขต แนวทาง หรือหลักการในการตัดสินใจหรือในการดําเนินงาน (Charles E. Jacop, 1966 ; George R.Terry, 1977 ; Theo Haimann and William G. Scott, 1974) บางทานก็เห็นวา นโยบาย หมายถึง การตัดสินใจอยางมีข้ันตอน โดยอาศัยขอมูลท่ีมีอยู เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ (William T. Greenwood, 1965 ; John M. Piffner, 1960) บางทานก็อธิบายวา นโยบาย หมายถึง แผนงานประจํา ท่ีมาจากการตอรอง (Negotiation) การประนีประนอม (Compromise) ซ่ึงตองมีการกําหนดขอตกลงรวมกัน (Consensus) มีการตรวจสอบทางเลือก และการกําหนดวิธีการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว (Alfred J. Kahn, 1969) สําหรับพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดอธิบายวา นโยบาย มาจาก นย + อุปาย ซ่ึงเม่ือรวมกันแลว หมายถึง “หลักและวิธีปฏิบัติซ่ึงถือเปนแนวดําเนินการ” อาจกลาวโดยสรุปไดวา นโยบายสาธารณะ (Public Policy) หมายถึง ส่ิงท่ีรัฐบาลเลือก

Page 2: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

15

กระทําหรือจะไมกระทํา (Whatever the government chooses to do or not to do) และนโยบายเกิดจากกระบวนการทางการเมือง (Politically collective actions) ดังนั้น นโยบายจึงเปนเคร่ืองมือทางการเมืองและเปนตัวแสดง “ขนาด” ของบทบาทรัฐดวย ในปจจุบันนโยบายมีความสําคัญในฐานะท่ีเปนเครื่องมือแสดงทิศทางการดําเนินการของรัฐบาลใหนานาประเทศรับทราบและยอมรับดวย (หควณ ชูเพ็ญ, 2550) ดังนั้น สําหรับการวิจัยเร่ืองนี้จะใชความหมายของการบริหารนโยบาย คือ การนํานโยบายไปปฏิบัติ โดยดําเนินการตามขอบเขต แนวทาง หรือหลักการท่ีมีการตัดสินใจอยางมีข้ันตอนและมีมาตรฐาน โดยอาศัยขอมูลจากแหลงตางๆ อยางรอบดาน เพื่อใหการดําเนินการประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่ีวางไวอยางมีประสิทธิผล สําหรับการบริหารนโยบายใหประสบความสําเร็จนั้น ตองประกอบดวยข้ันตอนท่ีสําคัญหลายประการ และรูปแบบท่ีแตกตางกันออกไป โดยสามารถพิจารณาไดจากเนื้อหาในสวนตอไป 2.1.2 ตัวแบบของนโยบาย การกําหนดนโยบายแตละนโยบายหรือแตละดาน ผูท่ีมีสวนในการตัดสินใจตองอาศัยหลักการตางๆ ตามลักษณะของนโยบายท่ี กําหนด โดยพิจารณาเลือกจากตัวแบบในการบริหารหรือกําหนดนโยบาย (Thomas R. Dye, 1995, pp.11 - 28) ดังตอไปนี้

2.1.2.1 ตัวแบบกลุม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นวา นโยบายสาธารณะ คือส่ิงท่ีสะทอนใหเห็นถึงดุลยภาพระหวางกลุมในสังคมมีกลุมตางๆ ท่ีมีความตองการหลากหลาย ซ่ึงในการกําหนดนโยบาย ผูกําหนดนโยบายตองพยายามจัดสรรผลประโยชนใหกลุมตางๆ ท่ีมีอยูในสังคมใหมากท่ีสุด แตการจัดสรรผลประโยชนดวยการกําหนดนโยบายจะเอนเอียงไปหากลุมผลประโยชนบางกลุม เชน กลุมท่ีมีคนจํานวนมาก กลุมท่ีรํ่ารวย กลุมท่ีมีความเขมแข็ง กลุมผูนําท่ีสามารถเขาถึงการตัดสินใจนโยบายและมีเครือขายภายในระบบการเมือง เปนตน ท้ังนี้ การใชตัวแบบนี้สามารถใชไดท้ังในการดําเนินนโยบายท่ีดีและไมดีก็ได ข้ึนอยูกับผูท่ีมีบทบาทในการกําหนดนโยบายนั้นวาจะสามารถสรางสมดุลระหวางกลุมในลักษณะใด การจัดสรรผลประโยชนท่ีดีนั้น ผูท่ีมีบทบาทในการกําหนดนโยบายตองสามารถจัดสรรผลประโยชนใหฝายตางๆ อยางเปนธรรม หรือประสานประโยชนใหกลุมตางๆ อยางสมเหตุสมผล หรือทําใหเกิดความสมดุลระหวางกลุม (Group Equilibrium) นั่นเอง

2.1.2.2 ตัวแบบผูนํา (Elite Model) Thomas R. Dye (1995, pp.21 - 24) กลาววา นโยบายสาธารณะสะทอนใหเห็นถึงความตองการของผูนํา ไมใชความตองการของประชาชน ถึงแมวา นโยบายสาธารณะจะถูกอางวาเปนผลสะทอนตอความตองการของประชาชนก็ตาม ท้ังนี้ กลุมผูนํา (Elite) เปนคนกลุมเล็กๆ ในสังคมท่ีมีอํานาจทางการเมือง แตประชาชน แมเปนคนสวนใหญ แตไมมีอํานาจทางการเมือง ประชาชนเปนกลุมคนท่ีนาสงสารและเปนเหมือนผูปวยในทางนโยบายสาธารณะ ซ่ึงกลุมผูนํามักครอบงําประชาชนดวยความตองการของพวกเขา ไมใหนําความ

Page 3: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

16

ตองการของประชาชนมากําหนดความตองการของกลุมผูนํา ดังนั้น กลุมผูนําจะกําหนดนโยบายท่ีตอบสนองความตองการของกลุมตน แลวนํามาบังคับใช โดยส่ังใหขาราชการทําหนาท่ีนํานโยบายไปปฏิบัติใหบรรลุผล ซ่ึงผลกระทบจากการดําเนินนโยบายจะตกอยูกับประชาชน โดยการส่ังการในลักษณะ คือ Top Down ประชาชนก็ไมสามารถเขาไปมีสวนรวมได ซ่ึงนโยบายท่ีเกิดข้ึนจากตัวแบบผูนํานี้ มักถูกตอตานจากประชาชนเปนระยะๆ

ท้ังนี้ ลักษณะตัวแบบผูนําสามารถสรุปได ดังนี้ 1) สังคมถูกแบงออกเปนฝายตามกลุมผูมีอิทธิพล คนจํานวนนอยจะมี

อิทธิพลในการกําหนดนโยบายสูสังคม คนสวนใหญไมมีสิทธิในการตัดสินใจในนโยบายสาธารณะ 2) การกําหนดนโยบายไมไดสัดสวนท่ีเหมาะสมตอความตองการของสังคม 3) การเคล่ือนไหวของกลุมคนท่ีไมใชกลุมชนช้ันนําจะเปนไปอยางเช่ืองชา

เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเมืองและทําใหไมเกิดการรัฐประหาร คนท่ียอมรับในมติของกลุมผูนําเทานั้นท่ีจะไดรับการยอมรับจากระบบการบริหาร

4) กลุมผูนําจะทําใหมติของกลุมกลายเปนความตองการพื้นฐานของสังคม มีความศักดิ์สิทธ์ิ เปนการบริหารที่เอ้ือประโยชนเฉพาะกลุม และเปนอิสรภาพของบางคน

5) นโยบายสาธารณะไมไดมาจากความตองการของประชาชน แตเปนความมีชัยชนะของกลุมผูนํา และการเปล่ียนแปลงตอตัวนโยบายสาธารณะจะเปนเพียงการนํานโยบายเดิมมาเพ่ิมเติม (Incremental) มากกวาการปฏิรูปหรือกําหนดใหม (Revolutionary)

6) คนในกลุมผูนําบางคนเทานั้นท่ีสนใจในความตองการของมวลชนผูนาสงสาร ซ่ึงอาจกลาวไดวา กลุมผูนํามีอิทธิตอมวลชนมากกวามวลชนมีอิทธิพลตอกลุมผูนํา จากการมีอิทธิพลของกลุมผูนําและการกําหนดนโยบายท่ีสนองตอบตอความตองการของผูนําเพียงฝายเดียว โดยไมใสใจตอความตองการของมหาชนหรือประชาชนเปนหลัก ยอมสงผลใหประชาชนไมไดรับประโยชนจากการบริหารนโยบายของรัฐบาล การแกไขปญหาในสังคมยอมไมมีประสิทธิผล กอใหเกิดความวุนวายข้ึนในสังคม ท้ังจากการเรียกรองของประชาชนและการทวีความรุนแรงของปญหาเดิมท่ีสะสมมาเร่ือยๆ และไมไดรับการแกไขอยางถูกตอง

2.1.2.3 ตัวแบบระบบ (Systems Model) Thomas R. Dye (1995, pp.24 - 25) อธิบายวา นโยบายสาธารณะเปนผลผลิตของระบบการเมืองและการบริหาร ซ่ึงสามารถพิจารณาไดจากแผนภาพตอไปนี้

Page 4: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

17

ภาพประกอบท่ี 2.1 แสดงการกําหนดนโยบายตามตัวแบบระบบ ท่ีมา : ดัดแปลงจาก Thomas R. Dye, 1995, p. 25

จากภาพประกอบท่ี 2.1 จะเห็นไดวา การกําหนดนโยบายเกิดข้ึนจากการมีปจจัยนําเขา (Inputs) ซ่ึงอาจเปนขอเรียกรอง ความตองการ (Demands) หรือการสนับสนุนจากประชาชน (Supports) รวมถึงการพิจารณาถึงบริบทแวดลอม (Environment) แลวนําเขาสูระบบการเมือง และกล่ันกรอง จนไดรับการตัดสินใจใหออกมาเปนนโยบายสาธารณะ นําไปสูการนําไปปฏิบัติ และกลายเปนผลลัพธ (Output) ท่ีเกิดจากนโยบาย ซ่ึงอาจกลาวไดวา นโยบายสาธารณะเปนผลผลิตของระบบการเมืองหรือการบริหาร โดยผลกระทบทั้งดานดีและดานเสียจากนโยบายจะตกอยูกับประชาชน และการประเมินวานโยบายดังกลาวตอบสนองความตองการของประชาชนไดมากนอยเพียงใด จะสามารถพิจารณาไดจากผลสะทอนกลับ (Feedback) ของประชาชน ซ่ึงถาผลสะทอนกลับออกมาไมดี รัฐบาลก็ตองหาทางแกไขหรือกําหนดนโยบายใหมออกมา ท้ังนี้ ตัวแบบระบบสามารถนําไปวิเคราะหนโยบายไดหลากหลาย ท้ังนี้การกําหนดนโยบายจะโคจรเปนวัฏจักร กลาวคือ เม่ือรัฐบาลนําความตองการของประชาชน ปญหาทางสังคม ปญหาทางการเมือง ปญหาความเปนอยูของประชาชน หรือการสนับสนุนของประชาชนเขาสูกระบวนการทางการเมืองหรือการบริหาร ก็จะนําไปสูการตัดสินใจ การนํานโยบายไปปฏิบัติ และเกิดผลกระทบตอประชาชนท้ังในทางดีและไมดี ซ่ึงข้ึนอยูกับตัวนโยบายนั้น และผลของนโยบายจะสะทอนกลับเขาสูกระบวนการทางการเมืองอีกคร้ังวาจะยังคงดําเนินนโยบายนั้นๆ ตอไปหรือไม หรือจะปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปในทิศทางใด เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของทุกฝายมากท่ีสุด จากตัวแบบในการบริหารหรือกําหนดนโยบายดังขางตนนั้น ผูศึกษาจะใชตัวแบบผูนํา

ผลสะทอนกลับ (Feedback)

Page 5: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

18

(Elite Model) ตัวแบบกลุม (Group Model) และตัวแบบระบบ (Systems Model) เพื่อวิเคราะหความเหมาะสมของนโยบายคาแรงข้ันตํ่าของรัฐบาล ท้ังนี้ เพราะตัวแบบท้ัง 3 แบบ สามารถใชวิเคราะหนโยบายดังกลาวไดในมุมมองของที่มาของนโยบายซึ่งมาจากความตองการของผูนําเปนหลัก โดยไมคํานึงถึงปญหาท่ีแทจริง และกลุมผูนําดังกลาวก็กําหนดนโยบายเอนเอียงไปยังกลุมประชาชนท่ีเปนฐานเสียงของตน โดยไมคํานึงถึงความเหมาะสมตามหลักการกําหนดนโยบายท่ีสมเหตุสมผลอยางตัวแบบระบบ 2.1.3 การนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) โดยหลักแลว นโยบายสาธารณะจะเกิดประโยชนตอองคกรใดไมไดถาปราศจากการนําไปปฏิบัติ เพราะเปาหมายสําคัญของการกําหนดการนํานโยบาย และการวิเคราะหนโยบายเปนเพียงข้ันตอนหน่ึงของเร่ืองหรือสาระทางวิชาการเกี่ยวกับนโยบายแตสวนสําคัญท่ีสุดท่ีจะพิจารณาไดวานโยบายมีไวเพื่อจุดประสงคใดจะอยูท่ีการนําไปปฏิบัติเปนหลัก ในทางทฤษฎีนั้นการนํานโยบายไปปฏิบัติเปนการแปลสาระของนโยบายไปสูการเปล่ียนแปลงซ่ึงก็คือใหเกิดผล (Michael Hill, 2009, p. 60) กลาวอีกนัยหนึ่งเปนการบริหารนโยบายนักวิชาการที่มีช่ือเสียง คือ Sabatier และ Mazmanian (1979) ผูซ่ึงไดเขียนหนังสือเกี่ยวกับนโยบายตามข้ันตอนตางๆไวมากมายและไดสรุปวาการนํานโยบายมากปฏิบัติตองดําเนินการสัมพันธกับเง่ือนไขทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมาก (Sabatier, 1986, 39) ซ่ึงในการดําเนินการตองมีการดําเนินการในลักษณะท้ัง Top - down และ Bottom - up ดวย เหตุนี้ในกระบวนการทางการเมืองการนํานโยบายไปปฏิบัติจึงเกิดข้ึนจากเง่ือนไขของรูปแบบ (Model) ของนโยบายดวย ท้ังนี้เพราะในแตละโมเดลของนโยบายจะมีเง่ือนไขใหนําไปปฏิบัติเกิดผลตอสังคมมากนอยตางกัน ใน Elite Model นั้น นโยบายซ่ึงเปนผลิตผลของขอตกลงหรืออิทธิพลชนช้ันผูนําทางอํานาจสวน Group Model ซ่ึงถือวานโยบายเปนผลิตผลหรือขอตกลงของกลุมท่ีเกี่ยวของเปนหลัก และใน System Model เปนรูปแบบท่ียึดถือวานโยนบายสาธารณะเกิดข้ึนจากกระบวนทางการเมืองท่ีเปนระบบเปนหลัก รูปแบบ (Model) ของนโยบายมีอิทธิพลตอกานําของนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

แตหลักสําคัญท่ีสุดของกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติก็คือตองมีเคร่ืองมือหรือองคกรและการจัดการ (Organization and Management) หรือในความหมายท่ีกวางยิ่งข้ึนคือการปกครองและการบริหาร (Governance) โดยในกระบวนการนี้ตองมีการกําหนดงบประมาณและบุคลากรไวดวย ซ่ึงความสําคัญกระบวนการประยุกตใชกลไกตางๆ ไดอธิบายดังตอไปนี้ หลังจากท่ีฝายบริหารไดกําหนดนโยบายและมีมติท่ีจะบังคับใชนโยบายหน่ึงๆ ข้ันตอนตอมาคือการนํานโยบายไปปฏิบัติ ซ่ึงระหวางการนําไปปฏิบัตินั้นจําเปนตองพิจารณาถึงบริบทของนโยบายและผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึน โดยตองมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลง รวมถึงยกเลิกนโยบายนั้นๆ ตามความเหมาะสม การตัดสินใจกําหนดนโยบายบางนโยบายมีความสําคัญตอการบริหารนโยบายในตัวของมันเอง เชน นโยบายท่ีมีความชัดเจน สามารถกระทําไดเพียงคร้ังเดียว อยางการ

Page 6: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

19

กําหนดองคประกอบของธงประจําชาติ ซ่ึงเปนการกระทําคร้ังเดียวท่ีจะคงอยูตอไปอีกยาวนานหรือตลอดไป โดยนโยบายท่ีสงผลกระทบในระยะยาวเชนนี้ การตัดสินใจตองวิเคราะหนโยบายเปนอยางดี ถึงการนําไปปฏิบัติและกระบวนการตางๆ แตนโยบายประเภทนี้อาจพบไมบอย อยางไรก็ตามการกําหนดนโยบายในลักษณะตางๆ ควรประกอบดวยกระบวนการตางๆ ไดแก กระบวนการดานงบประมาณ ผูท่ีมีสวนเกี่ยวของในนโยบาย กระบวนการดานการบริหาร และความสอดคลองของนโยบาย (James E. Anderson, 1984, pp.78 - 108)

2.1.3.1 กระบวนการดานงบประมาณ (Budgetary Process) การกําหนดนโยบายตางๆ เกือบทุกนโยบายจําเปนตองมีงบประมาณรองรับ เพื่อนําไปขับเคล่ือนการดําเนินการในข้ันตอนตางๆ เชน การสรางความม่ันคงดานมนุษย การใหความชวยเหลือแกครอบครัวตางๆ การจายคาชดเชยแกผูวางงาน เปนตน ซ่ึงท้ังหมดนี้ลวนตองใชงบประมาณทั้งส้ิน หลายโครงการไดรับผลกระทบอยางมากจากงบประมาณท่ีไดรับการจัดสรร เม่ือไมมีงบประมาณ ก็ไมสามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือเปนการดําเนินการท่ีสูญเปลา โดยในแตละโครงการเม่ือไดรับการจัดสรรงบประมาณแลว ตองมีการวางแผนและจัดสัดสวนการใชงบประมาณในแตละข้ันตอนอยางละเอียด เพื่อใหการใชงบประมาณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจแบงในภาพรวมเปนการใชจายแบบรายไตรมาส 4 ไตรมาส และจัดสรรใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของกับการนํานโยบายหนึ่งๆ ไปปฏิบัติ

2.1.3.2 ผูท่ีมีสวนเกี่ยวของในนโยบาย (Participations in Policy Implementation) โดยท่ัวไปของการนํานโยบายไปปฏิบัติจะเกี่ยวของกับระบบราชการท่ีคอนขางซับซอน เกี่ยวของกับหนวยงานราชการหลายหนวย ซ่ึงหนวยงานเหลานี้ปฏิบัติงานภายใตการดูแลของรัฐบาล และผลการปฏิบัติก็สงผลตอพลเมืองโดยตรง ซ่ึงหนวยงานผูปฏิบัติเหลานี้ นับวามีการตัดสินใจในการจัดการนโยบายท่ีดีกวาฝายบริหาร โดยจัดการภายใตขอบเขตอํานาจตามกฎหมาย ดังนั้น หนวยงานราชการจึงมีความเกี่ยวของในกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติโดยตรง โดยมีความสําคัญตอการบริหารนโยบายใหเกิดผลอยางยิ่ง นอกจากนี้ ยังมีหนวยงานดานตุลาการ ศาล เขามาเกี่ยวของในเชิงกฎหมาย การบังคับใชกฎหมายหรือการตีความกฎหมายตางๆ และยังมีกลุมผลประโยชน รวมถึงหนวยงานภาคเอกชนตางๆ ซ่ึงอาจเขามาเกี่ยวของโดยตรงในการนํานโยบายมาปฏิบัติ หรืออาจกดดันหรือมีอิทธิพลตอหนวยงานราชการผูปฎิบัติ หรืออาจเขามาเกี่ยวของท้ังในสองลักษณะควบคูกันไป

2.1.3.3 กระบวนการดานการบริหาร (Adminstrative Process) เปนตัวกําหนดการเคล่ือนไหวหรือการดําเนินงานของระบบราชการ ซ่ึงสงผลกระทบตอการนํานโยบายไปปฏิบัติ ท้ังในบริบทของนโยบายและผลท่ีเกิดจากการบังคับใชนโยบาย ซ่ึงกระบวนการนี้เกี่ยวของกับหนวยงานตางๆ ดังนี้

1) หนวยงานราชการ (Adminstrative Organization) เปนสวนท่ีเกี่ยวของใน

Page 7: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

20

รูปแบบการปฏิบัติงาน การสนับสนุนทางการเมือง ความเช่ียวชาญ และเปนฝายท่ีมีความสําคัญตอการบริหารนโยบายเปนหลัก ซ่ึงในการดําเนินนโยบายหนึ่งๆ หนวยงานราชการเหลานี้จะไดรับมอบหมายจากรัฐบาล หรือรัฐบาลอาจจัดต้ังหนวยงานข้ึนมาใหมเพื่อการนํานโยบายนั้นไปปฏิบัติเปนการเฉพาะ

2) หนวยการเมือง (Political Organizations) พระราชบัญญัติไดรับรองอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายใหแกหนวยงานบางหนวย ใหมีสิทธิในการดําเนินงานในเร่ืองหน่ึงๆ เทานั้น ซ่ึงการปฏิบัติงานของแตละหนวยงานจะข้ึนอยูกับบริบททางการเมืองและการสนับสนุนทางการเมืองจากหนวยทางการเมืองอ่ืนๆ ดวย ท้ังนี้ การเมืองมีอิทธิพลตอการตัดสินใจและการบริหารนโยบายของของหนวยราชการผูปฏิบัติ โดยหนวยราชการอาจตกอยูภายใตแรงกดดันหรือแรงบีบบังคับจากหนวยทางการเมืองหรือสถานการณทางการเมือง ซ่ึงจะสงผลตอแนวทางการนํานโยบายไปปฏิบัติ ซ่ึงหนวยทางการเมืองเหลานี้ อาจไดแก หัวหนาหนวยราชการ ศาล หนวยราชการอ่ืนๆ รัฐบาลอ่ืน กลุมผลประโยชนตางๆ พรรคการเมือง และส่ือมวลชน

3) หนวยงานท่ีเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบาย (Administrative Policy - Making) หนวยราชการจะมีสวนเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบายตามกฎหมาย โดยเกี่ยวของในกระบวนการตัดสินใจกําหนดนโยบายและการพัฒนานโยบาย แตในการคัดสินใจกําหนดนโยบายของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของก็ไดรับแรงกดดันจากภายนอก เชน จากกลุมผลประโยชนตางๆ และผูเช่ียวชาญตามสายการบังคับบัญชาในระดับตางๆ ซ่ึงสายการบังคับบัญชาหรืออํานาจนี้อาจคุกคามหรือทําลายความมีเหตุมีผลท่ีเหมาะสมในการตัดสินใจกําหนดนโยบาย รวมถึงขัดขวางการแสดงความเห็นของผูใตบังคับชาได

2.1.3.4 ความสอดคลองของนโยบาย (Compliance) นโยบายสาธารณะท้ังหมดมุงไปสูการมีอิทธิพลเหนือหรือควบคุมพฤติกรรมมนุษยในทางใดทางหน่ึง เพื่อใหประชาชนปฏิบัติใหสอดคลองกับกฎหรือเปาหมายของรัฐบาล ถานโยบายไมประสบความสําเร็จหรือประชาชนยังปฏิบัติในดานท่ีไมพึงปรารถนา นโยบายนั้นก็จําเปนตองยุติไป ท้ังนี้ ความสอดคลองของนโยบายข้ึนอยูกับปจจัยดังตอไปนี้

1) นโยบายดังกลาวสมเหตุสมผลและมีความเปนธรรม ซ่ึงจะทําใหประชาชนยอมรับในหลักเหตุและผล ถึงแมวาผลประโยชนท่ีตองการอาจไมตรงกับนโยบาย แตถามีหลักเหตุและผลก็สามารถโนมนาวใหคลอยตามได เชน การเก็บภาษี ประชาชนสวนใหญอาจไมตองการจายภาษี แตถาประชาชนเช่ือวากฎหมายภาษีสมเหตุสมผลและมีความยุติธรรม หรือเช่ือวาภาษีท่ีเก็บไปนั้นมีความจําเปนตอการจัดบริการของภาครัฐ ประชาชนก็ยอมยินยอมปฏิบัติใหสอดคลองกับนโยบาย

2) นโยบายของรัฐบาลถูกตองชอบธรรมตามหลักกฎหมาย ซ่ึงเปนส่ิงท่ีทําใหประชาชนเช่ือฟงรัฐบาล เนื่องจากกฎหมายหรือรัฐธรรมนูญถูกเช่ือวาไดกําหนดอํานาจท่ีถูกตอง

Page 8: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

21

ไวแลวโดยผูท่ีเกี่ยวของตางๆ ซ่ึงการกําหนดนโยบายท่ีชอบธรรมตามหลักกฎหมายจะทําใหกระบวนการตางๆ มีความถูกตองตามมา ประชาชนจึงยอมรับในความชอบธรรมนี้ไดและยินยอมปฏิบัติตามนโยบายน้ันๆ ดวย

3) ผลประโยชนสวนตัว การกําหนดนโยบายแตละนโยบายของรัฐบาลอาจตรงกับความตองการหรือผลประโยชนของคนแตละกลุมโดยตรง ซ่ึงจะทําใหพวกเขายอมคลอยตามหรือปฏิบัติตาม เพราะเม่ือนโยบายไดเอ้ือผลประโยชนใหกับตนหรือกลุมของตน ก็ไมมีความจําเปนท่ีตองขัดขวางหรือไมปฏิบัติตาม

4) การลงโทษโดยการปรับ เปนอีกวิธีการที่จะทําใหประชาชนคลอยตามนโยบายของรัฐบาล เชน การปรับเม่ือท้ิงขยะลงในท่ีสาธารณะ ซ่ึงอาจใชไดผลตามบริบทพื้นท่ีและหนวยงานผูดูแล ซ่ึงประสิทธิผลข้ึนอยูกับความเขมงวดและความจริงจังในปฏิบัติ แตอยางไรก็ตาม ก็ยังมีบางกลุมท่ีตอตานนโยบายท่ีมีการลงโทษในลักษณะน้ี ซ่ึงพวกเขาถือวามันเปนการคุกคามหรือความรุนแรงแบบหนึ่ง

5) ความตอเนื่องของนโยบาย การยอมรับในนโยบายของประชาชนตอนโยบายท้ังหมดข้ึนอยูกับระยะเวลาในการปฏิบัติ ซ่ึงในชวงระยะเวลาดังกลาวนั้น การบังคับใชนโยบายจะแสดงใหเห็นถึงผลท่ีประชาชนไดรับในเชิงประจักษ จึงทําใหประชาชนยอมรับและปฏิบัติใหสอดคลองกับนโยบายมากข้ึน 2.1.4 การบริหารนโยบายดวยหลัก POSDCoRB แนวคิดเร่ือง POSDCoRB นี้ มาจากนักทฤษฎีทางรัฐศาสตรและการบริหารชื่อ ดร. Luther Halsey Gulick (1937, pp.13 - 15) ซ่ึงมีชีวิตอยูในชวงปลายศตวรรษท่ี 19 (ค.ศ. 1892) - ตนศตวรรษท่ี 20 โดยอธิบายวาหนาท่ีสําคัญของผูบริหารนั้น ตองมีภาวะผูนํา (Leadership) โดยมีความรูและความสามารถในการทํางานท่ีจําเปนอยางนอย 7 ประการ ซ่ึงประกอบดวย

2.1.4.1 P - Planning (การวางแผน) เปนการคาดคะเนเหตุการณตางๆ ท่ีจะเกิดข้ึน ซ่ึงตองคํานึงถึงทรัพยากรภายในองคการ และสภาพแวดลอมภายนอก เพื่อใหแผนท่ีกําหนดข้ึนมีความรอบคอบและสามารถนําไปปฏิบัติได

2.1.4.2 O - Organizing (การจัดองคการ) เปนการจัดองคการโดยจัดแบงงานตามความชํานาญเฉพาะอยาง ออกเปนฝายหรือแผนก โดยจะพิจารณาปริมาณงาน คุณภาพงาน ขนาดของการควบคุม รวมถึงพิจารณาแบงสายงานหลักและสายงานท่ีปรึกษา การแบงงานออกเปนฝายนี้มีพื้นฐานอยูบนอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบควบคูกันไป

2.1.4.3 S - Staffing (การจัดหาบุคคลเขาทํางาน) หมายถึง การคัดเลือกบุคคลใหเขามาดํารงตําแหนงภายในองคการ โดยพิจารณาจากบุคคลที่มีความรูความสามารถที่เหมาะสมใหไดในปริมาณท่ีเพียงพอจะทําใหงานสําเร็จได

2.1.4.4 D - Directing (การส่ังการหรือการอํานวยการ) คือ การกํากับดูแล ส่ังงานผู

Page 9: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

22

ใตบังคับ บัญชาอาศัยลักษณะความเปนผูนํา การจูงใจ ศิลปะการปกครองคน และการสรางมนุษยสัมพันธของผูบังคับบัญชา

2.1.4.5 Co - Coordinating (การประสานงาน) เปนการเช่ือมความสัมพันธท่ีดีกับบุคคลท่ีมีสวนเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานทุกฝาย ท้ังในระดับสูงกวา ตํ่ากวา รวมถึงเปนการสรางมนุษยสัมพันธท่ีดีกับผูบังคับบัญชา

2.1.4.6 R - Reporting (การรายงานผลการปฏิบัติงาน) เปนการนําเสนอผลสัมฤทธ์ิของการปฏิบัติงานจากผูใตบังคับบัญชา หรือผูบริหารระดับตางๆ โดยติดตอส่ือสารหรือรายงานแบบเปนลายลักษณอักษร

2.1.4.7 B - Budgeting (การงบประมาณ) เปนเคร่ืองมือท่ีนํามาใชในการควบคุมการปฏิบัติงาน โดยใชวงจรงบประมาณ ซ่ึงมีข้ันตอน คือ (1) การเตรียมขออนุมัติงบประมาณ (2) การเสนอใหผูบังคับบัญชาใหความเห็นชอบ (3) การดําเนินงานตามงบประมาณ (4) การตรวจสอบการใชจายงบประมาณตามแผนท่ีเสนอขอไว แมวาหลัก POSDCoRB เปนหลักการท่ีเสนอมายาวนานแลว แตในปจจุบันก็ยังสามารถนํามาใชในกระบวนการบริหารนโยบายหรือการนํานโยบายมาปฏิบัติไดเปนอยางดี เนื่องจากเปนหลักการที่สามารถประยุกตใชไดในกระบวนการทํางานหลากหลายรูปแบบ 2.1.5 นโยบายประชานิยม

2.1.5.1 ความหมายของประชานิยม “ประชานิยม” เปนคําแปลมาจากคําวา Populismในภาษาอังกฤษ และคําวา “Populism” มาจากรากศัพทภาษาละตินวา Populus ซ่ึงแปลไดวา ประชาชน ซ่ึงแรกเร่ิมเดิมทีนั้นคํานี้เปนศัพทเฉพาะท่ีหมายถึงขบวนการเคล่ือนไหวของพรรคการเมืองท่ี 3 ของสหรัฐอเมริกาในทศวรรษที่ 1890 ในชวงนั้นมีการรวมตัวกันของเกษตรกรรายยอยซ่ึงไมพอใจแนวทางการพัฒนาประเทศ ท่ีเต็มไปดวยอิทธิพลของบริษัทใหญๆ พวกเขารวมตัวกันกอต้ังพรรคการเมืองข้ึนมาในช่ือวา "พรรคประชาชน" (People's Party) (ชาติชาย มุกสง. 2547)

ในประเทศไทยแตเดิมนักวิชาการมักจะใชทับศัพทวา “ปอปปูลิสตหรือ พ็อพพิวลิสม” (populism) กอนจะเปล่ียนมาใชคําศัพท “ประชานิยม” โดยปรากฏคําวา “ประชานิยม” เปนภาษาเขียนคร้ังแรกในบทความท่ีเขียนโดย เกษียร เตชะพีระ ท่ีลงในหนังสือพิมพมติชนรายวัน ฉบับวันท่ี 3 กุมภาพันธ 2544 และ “ประชานิยม” ก็ใชกันอยางกวางขวางใชกันอยางแพรหลายในเชิงการวิพากษ วิจารณนโยบายทางการเมืองของรัฐบาลทักษิณเปนหลัก (ชาติชาย มุกสง. 2547)

แนวคิดทางการเมืองของ “ประชานิยม” ยังคงมีการโตแยงและไมมีขอสรุปในนิยามหลักเพื่อใชอางอิงในการศึกษาท่ัวไป แตท้ังนี้ประชานิยมมักแสดงในรูปแบบของความสัมพันธระหวางประชาชน (The people) กับผูนํา (The leader) (Sir Bernard Crick, 2005)

ปรากฏการณทางการเมืองในความสัมพันธระหวาง ประชาชน (The people) กับผูนํา (The leader) นั้น เปนปรากฏการณท่ีผูนําจะใหความสําคัญตอความตองการของประชาชน

Page 10: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

23

โดยเฉพาะในการปกครองแบบประชาธิปไตย ผูท่ีจะเปนตัวแทนประชาชนในการปกครอง หากใหความสําคัญตอความตองการดังกลาว จะไดรับการสนับสนุนใหเปน “ผูนําทางการปกครอง” ท้ังนี้รูปแบบดังกลาวจะไมใหความสําคัญตอกระบวนการทางนิติบัญญัติเทากับการที่ตัวแทนประชาชน ท่ีเปนผูนําทางการปกครองสามารถสนองตอความตองการของประชาชน (Kamdao Boonyarataphan, 2008)

ความหมายขางตนนั้นสอดคลองกับความหมายที่ เอนก เหลาธรรมทัศน (2549, หนา 23 - 49) ไดศึกษาความหมายของประชานิยม โดยสรุปความหมายของ “ประชานิยม” ไว 2 แบบ คือ ความหมายแบบกวาง หมายถึง การทําอะไรที่ใหน้ําหนักใหความสําคัญหรือใหความสนใจกับประชาชน ซ่ึงมักจะหมายถึงคนช้ันลาง หรือ สามัญชน ท่ีไมใชชนช้ันนําหรือชนชั้นปกครอง ท้ังนี้มีจุดมุงหมายเพื่อใหไดรับความนิยมและการสนับสนุนจากคนยากจนหรือกลุมคนธรรมดา และบางคร้ังมีการวิพากษวิจารณคนชนช้ันปกครอง ช้ันสูง คนรํ่ารวย และรวมถึงคนช้ันกลาง

สวนแบบที่สอง คือ ความหมายแบบเครงครัด ซ่ึงมีรายละเอียดท่ีเจาะจงตามลักษณะท่ีปรากฏขึ้นจริงในภูมิภาคตางๆ ของโลก ดังนี้

1) ความหมายแบบรัสเซียและอเมริกา (ชวง ค.ศ.1860s - 1880s) คือ ขบวนการเปล่ียนแปลงสังคมจากลางข้ึนบน ซ่ึงมีผูนําการเปล่ียนแปลงคือพรรคการเมือง ปญญาชน หรือมวลชนท่ีมุงเปล่ียนแปลงสังคมและการเมืองเพ่ือใหความสําคัญและใหประโยชนแกเกษตรกร คนยากจนในชนบทเปนสําคัญ ซ่ึงประชาชนในท่ีนี้ คือเกษตรกรและคนช้ันลางในชนบท โดยในรัสเซีย ปญญาชนและนักศึกษาไดเขาสูชนบทเพ่ือพัฒนาภาคชนบทดวยการรื้อฟนและพัฒนาสหกรณ สวนในอเมริกาเปนการกําหนดนโยบายของพรรคประชาชนท่ีใหความสําคัญกับประชาชนในภาคเกษตรกรรมมากเปนพิเศษ

2) ความหมายแบบละตินอเมริกา (ต้ังแตชวง ค.ศ. 1920s - ปจจุบัน) เปนการเปล่ียนแปลงจากบนลงลาง โดยอาศัยความโดดเดนของผูนําและแนวนโยบายของพรรค ซ่ึงเปาหมายของการสนับสนุน มาจากการลงคะแนนเสียงของกรรมกร ผูใชแรงงาน และคนยากจนในเมืองเปนสําคัญ ซ่ึงไมใชเฉพาะประชาชนในชนบทเพียงกลุมเดียว โดยงานวิจัยนี้ยังกลาววา พวกท่ีมีนโยบายประชานิยมในละตินอเมริกานี้พอใจในการใหมีคนยากจนหรือคนระดับรากหญาอยูตอไปในสังคมตราบนานเทานาน เพราะคนเหลานี้เปนฐานเสียงท่ีสําคัญในการเลือกต้ัง การชวยเหลือจึงเปนประโยชนท่ีเกิดในระยะส้ัน และประชาชนเหลานั้นยังคงตองพึ่งพารัฐหรือพรรคนั้นตอไป เชน การใหเงินกูจํานวนไมมาก การใหมีคาโดยสารราคาตํ่า การสรางงานงายๆ ใหทํา การตั้งงบปรับปรุงชุมชน การจัดการศึกษาและการจัดสวัสดิการในยามเจ็บปวยใหแกคนท่ัวไปโดยไมคิดคาใชจาย เปนตน

3) ความหมายแบบยุโรปตะวันตกในปจจุบัน คือ ขบวนการที่ผูนําและพรรคนําพาคนชั้นกลาง ธรรมดาสามัญชน ท่ีเคยเปน “เสียงเงียบ” ไปออกเสียงสนับสนุนนโยบายท่ีเนนการดูดกลืนผูอพยพตางเช้ือชาติ ตางวัฒนธรรม และตางศาสนาใหเขามาเปนสวนหนึ่งของชาติและอารยธรรมแบบตะวันตกเปนสําคัญ เพื่อสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายในชาติ คําวา

Page 11: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

24

ประชาชนในท่ีนี้ไมไดหมายถึงคนช้ันลาง และคนยากจน หากแตหมายถึงคนสวนใหญ ซ่ึงก็คือคนช้ันกลางน่ันเอง ท่ีเคยเงียบเสียงจํายอมตอนโยบายของพรรคเสียงขางมาก แตตอไปนี้ตองกลาออกมาเรียกรองรัฐบาลใหเอาจริงเอาจังเร่ืองการสรางชาติใหเปนปกแผนใหมากข้ึน

4) ความหมายในโลกแหงการพัฒนา หมายถึง แนวการพัฒนาในโลกท่ีสามท่ีเนนการใหประชาชน ซ่ึงหมายถึง เกษตรกรและคนยากจนในภาคเกษตรในโลกท่ีสามสามารถพึ่งพิงตนเองได ดวยการเนนการทําเกษตรแบบครอบครัวและชุมชน หัตถกรรมในครัวเรือน รวมถึงอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ซ่ึงถือเปนการใหความสนใจในภาคเกษตรและเกษตรกรใหมากข้ึน ใหมีความเช่ือม่ันตอภูมิปญญาเดิมของสังคมดวย ไมใชสนใจเพียงแคปรัชญาและศาสตรแบบตะวันตกแตเพียงอยางเดียว ในอีกดานหนึ่งนั้น การพึ่งพิงตนเองนี้ถือเปนการปลดแอกประเทศตนจากกระแสทุนนิยมและโลกาภิวัตน

5) ความหมายในการถกเถียงเร่ืองประชาชน นักการเมืองลวงประชาชน และประชาธิปไตย ท่ีมีมาตลอดในตะวันตก นับแตยุคกรีกและโรมันโบราณ จนถึงปจจุบัน ประชาชนในความหมายนี้ ก็คือ คนช้ันลาง คนธรรมดา คนสวนใหญ คนยากไร คนท่ีออนดอยความรู และการถกเถียงก็มีประเด็นสําคัญท่ีวาประชาชนพรอมหรือยัง หรือพรอมแคไหน ในการปกครองตนเองประชาชนมีความสามารถและความรับผิดชอบพอหรือไม ท่ีจะเขามามีสวนในกิจการของบานเมือง

นอกจากนี้ ธีรยุทธ บุญมี (2554, หนา 22 - 23) ยังไดใหความหมายของประชานิยมวา เปนระบบอุปถัมภชนิดหนึ่ง เพียงแตเปล่ียนจากการอุปถัมภของชนช้ันสูงมาเปน รัฐบาลอุปถัมภ หรือการอุปถัมภดวยนโยบาย ซ่ึงหมายถึงการใชนโยบายท่ีอุปถัมภหรืออุมชูประชาชนในกลุมท่ีตนตองการ

จากการรวบรวมความหมายคําวา “ประชานิยม” ของนักวิชาการหลายทาน อาจกลาวไดวา ประชานิยม หมายถึง การเอาใจหรือใหความสําคัญกับประชาชนคนธรรมดาสามัญ และคนยากจน ไมใหความสําคัญกับคนช้ันสูงหรือคนรวย โดยการใหความสําคัญกับคนระดับลางนี้เปนการสรางฐานเสียง ดังนั้นการกําหนดหรือดําเนินนโยบาย รวมถึงการแกปญหาจึงเปนเหมือนการเล้ียงไขหรือการแกปญหาในระยะส้ัน กลาวคือ เปนการสรางการอุปถัมภท่ีใหประชาชนไมสามารถยืนหยัดไดดวยตนเอง เพราะการมีคนระดับรากหญาตอไปเปนการคงระดับฐานเสียงหรือคะแนนนิยมใหกับพรรค

2.1.5.2 คุณคาหลักและลักษณะเดนของแนวคิดประชานิยม รูปแบบหรือแนวคิด “ประชานิยม” มีคุณคาหลัก (Core Value) และลักษณะเดนรวมกันหลายประการ ซ่ึงรวมถึงการเคล่ือนไหวของประชานิยม (Populist Movement) ระบอบประชานิยม (Populist Regimes) และความเปนผูนําท่ีเปนประชานิยม ไดแก

1) การหลอกหลวงทางสติปญญา (Wisdom lie) ท่ีมีในประชาชนท่ัวไปซ่ึงเปนสวนสําคัญในการตัดสินใจทางการเมือง ประชาชนได รับสติปญญานี้ เพื่อการทํางานท่ีมี

Page 12: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

25

ประสิทธิภาพ ไมใชเพื่อการคิดวิเคราะห สติปญญาดังกลาวมีลักษณะเดนท่ีตอตานความเฉลียวฉลาด และความรูทางการเมืองท่ีเปนสวนสําคัญตอการปกครองแบบประชาธิปไตย

2) การไมมีความขัดแยงในประชาชน (There is no conflict among the people) การปราศจากซ่ึงชนช้ัน และการกลมเกลียวกันเปนหนึ่งของสังคม

3) การที่ชนช้ันนําทางปกครองมีความเห็นแกตัวและปราศจากศีลธรรม (The Ruling elite are selfish and morally corrupted) ความขัดแยงระหวางชนช้ันนํากับประชาชนท่ีไมเปนเพียงความขัดแยงทางดานผลประโยชน แตรวมไปถึงทางดานคุณธรรม

4) สังคมอุดมคติจะเปนจริงเม่ือประชาชนรวมกันขับไลศัตรู (Once the people eject their enemies, an ideal society will be realized.) ดังนั้นจึงไมตองการการเมืองซ่ึงเปนอุปสรรคท่ีสําคัญตอการสรางภาพลักษณใหมในสังคม นอกจากนี้ประชานิยมจะปฏิเสธความสําคัญของสถาบันทางการเมือง และใหความสําคัญตอผูนําท่ีเขมแข็ง (Kosuke Mizuno and Pasuk Phongpaichit, 2009)

2.1.5.3 ประชานิยมในประเทศไทย การศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดประชานิยมในประเทศนั้น นักวิชาการใหความเห็นวาเร่ิมตนข้ึนในสมัยรัฐบาลนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทย รวมมาถึงพรรคเพ่ือไทยในสมัยรัฐบาลของนองสาว รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร ซ่ึงสืบทอดนโยบายบางสวนมาจากพ่ีชาย และกําหนดนโยบายใหมบนฐานแนวคิดเดียวกัน โดยจัดวานโยบายสวนใหญเปนนโยบายประชานิยมแบบละตินอเมริกา ซ่ีงประชานิยมแบบดังกลาวมีลักษณะ 6 ประการ (อเนก เหลาธรรมทัศน, 2549, หนา 23 - 49; Kosuke Mizuno and Pasuk Phongpaichit, 2009) ดังนี้

1) มีผูนําท่ีโดดเดน เปนการบริหารนโยบายโดยอาศัยผูนําท่ีโดดเดนเปนขวญัใจประชาชน เขาถึงซ่ึงอารมณความรูสึก และหยั่งรูไดถึงความตองการอันแทจริงของคนจนหรือคนช้ันลางในภาคชนบทได

2) มุงเนนนโยบายเพื่อการหาเสียงสนับสนุน กลาวคือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หรือพรรคไทยรักไทย และพรรคเพื่อไทยใชนโยบายท่ีใหความสําคัญกับฐานเสียงจากคนบางกลุมหรือจากกลุมระดับรากหญา เพื่อใหไดรับการสนับสนุนอยางมาก ซ่ึงไมใชเพียงเงินหรือการอุปถัมภดวยผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนรายบุคคลเทานั้น นโยบายเหลานี้ ไดแก 30 บาทรักษาทุกโรค พักชําระหนี้ กองทุนหมูบานละหนึ่งลาน โคลานตัว โครงการ SML โครงการบานเอ้ืออาทร ฯลฯ ตอมาในสมัยรัฐบาลปจจุบันสมัยของนายกย่ิงลักษณ ก็ยังคงมีนโยบายประชานิยม เชน พักชําระหนี้ กองทุนหมูบานละสองลาน บัตรเครดิตเกษตรกร โครงการจํานําขาว คาแรงข้ันตํ่า 300 บาท เปนตน

3) มีลักษณะเปนการสงเคราะหคนช้ันลางหรือคนยากจน โดยเฉพาะในชนบท แตก็รวมท้ังคนจนในเมืองดวย ซ่ึงนักวิจารณ ปญญาชน คนช้ันกลาง จํานวนมากเห็นวาไมถูกตองตาม

Page 13: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

26

หลักวิชาการ ซ่ึงการสงเคราะหในลักษณะดังกลาวอาจมีความเส่ียงและกระทบตอเสถียรภาพและความม่ันคงทางเศรษฐกิจ รวมท้ังสงใหคนช้ันลางมีหนี้มากข้ึน อยางไมเคยมีมากอน แตก็เปนท่ีนาสังเกตวานโยบายประชานิยมในสมัยนายกทักษิณไมไดมุงเนนไปท่ีการหาเสียงจากกรรมกร สหภาพแรงงาน และคนจนในเมือง อยางท่ีทํากันอยูแพรหลายในทวีปอเมริกาใต แตในปจจุบันในสมัยนายกยิ่งลักษณไดพัฒนานโยบายประชานิยมใหครอบคลุมมากข้ึนถึงกลุมคนขับแท็กซ่ีและกลุมแรงงานท่ีทํางานในบริษัทตางๆ ซ่ึงสวนใหญเปนกลุมแรงงานในเมือง

4) มุงเนนปฏิสัมพันธระหวางผูนําและรัฐกับประชาชนโดยตรง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และนางสาวย่ิงลักษณ ชินวัตร ตัดทอน หรือลดการใหความสําคัญแกตัวแทนหรือตัวเช่ือม แตมุงติดตอสัมพันธและส่ือสารกับประชาชนโดยตรง ซ่ึงพิจารณาไดจากการพูดกับประชาชนทุกวันเสารผานวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย

5) เนนคุณคาประชาชน โดยจะเห็นไดจากคําขวัญ คําพูด คําปราศรัย หนังสือ เอกสารของ พ.ต.ท.ทักษณิ ชินวัตร และสมัยนางสาวยิง่ลักษณ ชินวัตร ท่ีใหความสําคัญและคุณคาของประชาชนมากกวานายกรัฐมนตรี และพรรคใดๆ ท่ีผานมา โดยนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ยังเคยใหคําม่ันสัญญาอยางนาเช่ือม่ัน วา “ผมจะทําใหคนจนหมดไปภายในเวลา 6 ป” การพูดในลักษณะนี้เปนการชวนใหประชาชนเช่ือวาผูนําใหคุณคาแกประชาชน ซ่ึงประชาชนก็จะใหคะแนนสนับสนุนดวยความช่ืนชม

6) เปนนโยบายท่ีไมใชทุนนิยมและสังคมนิยม นโยบาย พ.ต.ท.ทักษณิ ชินวัตร และนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร มีลักษณะผสมผสานระหวางทุนนิยม และสังคมนิยม และไมถือวาการสนับสนุนงบประมาณตางๆ ใหแกคนจนนั้น เปนการตองขูดรีดจากคนรวย ในสวนท่ีเปนทุนนิยม คือ การมีนโยบายท่ีมุงเปล่ียนเศรษฐกิจไปเปนระบบตลาดใหไดมากข้ึน แตรัฐบาลมีความเปนสังคมนิยม คือ การเขาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจอยางไมเคยมีมากอน รวมถึงการใชเงินนอกงบประมาณของรัฐ เพื่อสงเคราะหและชวยเหลือคนชั้นกลาง และโดยเฉพาะคนชั้นลางไปจํานวนมาก ดังเชน กรณีการเพิ่มคาแรง 300 บาท บัตรเครดิตสําหรับเกษตรกร กองทุนหมูบาน เปนตน (อเนก เหลาธรรมทัศน, 2549, หนา 23 - 49)

2.1.5.4 เปรียบเทียบนโยบายประชานิยม เสรีนิยม และรัฐสวัสดิการ ตามการศึกษาแนวนโยบายทางดานเศรษฐกิจของ สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย (2552) ไดมีการแบงแยกลักษณะสําคัญของแนวนโยบายแบบประชานิยม เสรีนิยม และรัฐสวัสดิการ ซ่ึงมีความแตกตางกันตามประเด็น เชน ปรัชญาพ้ืนฐาน ความชัดเจนของนโยบาย กลุมเปาหมาย บทบาทของรัฐ และบทบาทของภาคประชาสังคม ท้ังนี้สามารถสรุปลักษณะนโยบายประชานิยม เปรียบเทียบแนวนโยบายเสรีนิยม และรัฐสวัสดิการ ที่สําคัญตามตารางขางลาง ดังนี้

Page 14: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

27

ตารางท่ี 2.1 เปรียบเทียบเสรีนิยม ประชานิยม และ รัฐสวัสดิการ

ประเด็น เสรีนิยม ประชานิยม รัฐสวัสดิการ

ปรัชญาพื้นฐาน ใหเศรษฐกิจสังคมปรับตัวดวยตนเอง

สรางคะแนนนิยมทางการเมืองเปนหลัก

รับรองสิทธิขั้นพ้ืนฐานและสิทธิในการพัฒนาศักยภาพของประชาชนตลอดจนดูแลในยามตกยาก

ระบบเศรษฐกิจ กลไกตลาดแทรกแซงเฉพาะเมื่อตลาดไมทํางาน

แทรกแซงเกือบทกุนโยบาย

กลไกตลาด

ความชัดเจนของนโยบาย ไมชัดเจน ประกาศชัดเจน ไมชัดเจน กลุมเปาหมายของนโยบาย (กรณีนโยบายความยากจน)

โดยทั่วไปไมมีกลุมเปาหมาย แตอาจมีมาตรการสําหรับคนจนในบางเรื่อง

กลุมเปาหมายที่แทจริงกวางกวาคนจน โดยเฉพาะในประเทศท่ีคนจนมีสัดสวนนอย เพราะหวังคะแนนนิยมทางการเมือง

ไมเนนคนจน แตการครอบคลุมทุกคนและการชวยเหลือในยามตกยากทําใหคนจนทุกคนไดรับประโยชนเต็มที่

บทบาทของภาครัฐ มีบทบาทสําคัญในระดับ มหภาค แตมีบทบาทนอยในระดับจุลภาค

มีบทบาทมากเปนเรื่อง ๆไป โดยเฉพาะในนโยบายที่ใชหาเสียง

มีบทบาทในทุกเรือ่งที่เก่ียวกับสวัสดิการของประชาชน โดยเฉพาะในดานนโยบาย แตอาจรวมมือกับภาคประชาสังคมในการบริการ

บทบาทของภาคประชาสังคม ไมชัดเจน ไมชัดเจน ขึ้นอยูกับความสัมพันธกับรัฐบาลของแตละภาคสวน

มักมีสวนในการจัดการดานสวัสดิการ

บทบาทของภาคธุรกิจ มีบทบาทมากผานการสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ไมปรากฏบทบาทในการแกปญหา

มีบทบาทปานกลาง โดยอาจรวมกับภาครฐั ในการใหบริการ สวัสดิการแกประชาชนดวย

ภาระตองบประมาณ มีภาระนอย มีภาระมาก และมักมีภาระการคลังผูกพันตอเน่ือง บางครั้งไมโปรงใส

มีภาระมากเพราะใชการจายเงินโดยตรงเปนหลัก

ความย่ังยืน ขึ้นอยูกับความรอบคอบในการดําเนินนโยบาย มหภาค

ขึ้นลงและเปล่ียนแปลงตามกระแสการเมอืงและขีดจํากัดของงบประมาณ

มีกรอบการบริหารที่ทําใหระบบสวัสดิการถาวร แตในระยะยาวถาไมรอบคอบอาจพอกพูนจนประเทศลมละลายได

Page 15: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

28

2.1.6 นโยบายการแขงขันทางเศรษฐกิจ ยุคกระแสโลกาภิวัตนดังเชนในปจจุบันนี้ ประเทศตางๆ ท่ัวโลกไมสามารถหลีกเล่ียงผลกระทบท่ีสงตอกันเปนลูกโซได กระแสโลกาภิวัตนไดทําใหโลกกลายเปนเหมือนหมูบานเล็กๆ ท่ีประเทศตางๆ สามารถรับรูขอมูลของประเทศอ่ืนๆ ไดอยางรวดเร็ว ท้ังนี้เปนผลมาจากเทคโนโลยีดานการส่ือสารท้ังระบบโทรศัพท ระบบอินเทอรเน็ต ซ่ึงมีท้ังการสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส และการพูดคุยผานโปรแกรมตางๆ นอกจากนี้ระบบการคมนาคมก็ยังมีความสะดวกรวดเร็ว เชน การเดินทางโดยเคร่ืองบิน เปนตน ดวยความลํ้าหนาของเทคโนโลยีตางๆ เหลานี้ สงผลใหประเทศตางๆ มีความใกลชิดกันมากข้ึน ประชาชนสามารถติดตอส่ือสารและสามารถเดินทางถึงกันไดอยางสะดวกรวดเร็ว ซ่ึงรวมไปถึงการดําเนินธุรกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรม ตลอดจนการกําหนดนโยบายในดานตางๆ ของรัฐก็ตองมีความสอดคลองหรือทัดเทียมกับนานาประเทศ จนกลายเปนการแขงขันเชิงนโยบาย โดยเฉพาะนโยบายดานเศรษฐกิจ

2.1.6.1 ความหมายของนโยบายการแขงขันทางเศรษฐกิจ ในท่ีนี้ หมายถึง การท่ีประเทศตางๆ เรงพัฒนาประเทศใหกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมและสรางความเจริญเติบโตใหกับประเทศของตนในทุกๆ ดาน เพื่อใหกาวทันประเทศอ่ืนๆ หรือใหทันประเทศในภูมิภาคของตน โดยการเปดประเทศรับการคาการลงทุนจากตางประเทศ ตอบสนองตอการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระดับโลก วางระบบการลงทุนใหมีความเสรีเพื่อแขงขันกับกับการลงทุนตางชาติโดยตรง ลดกําแพงภาษีท่ีสอดคลองกับการรวมกลุมการคาเสรีของอาเซียน และการวางกลยุทธทางเศรษฐกิจท่ีเอ้ืออํานวยตอการแขงขันทางเศรษฐกิจ รวมถึงการแปรรูปรัฐวิสาหกิจและการกําหนดหนวยงานข้ึนมาดูแลใหตลาดมีความยั่งยืน (G. Sivalingam, 2005, pp.2 - 3)

ท้ังนี้ การดําเนินการแขงขันดังกลาว ในทางเศรษฐกิจถือเปนบทบาทหนึ่งของรัฐบาลท่ีสามารถเขามาแทรกแซงได แตการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจของรัฐบาลควรอยูในขอบเขตท่ีเหมาะสม ดังรายละเอียดเกี่ยวกับบทบาทและหนาท่ีของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ ดังนี้ (สุรจิต ลักษณะสุต และ นพดล บูรณะธนัง, 2542, หนา 128 - 131 ; Ewan J. Michael, 2006, pp.146 - 152)

1) รัฐบาลตองดูแลใหเกิดการแขงในตลาดอยางเสรี และดูแลใหการซ้ือขายในตลาดมีความเปนธรรมตอทุกฝาย

2) รัฐบาลตองแกไขปญหาความลมเหลวของตลาด (Market Failure) เชน การบริการสินคาสาธารณะ (Public Goods) ซ่ึงเปนสินคาท่ีจําเปนตอประชาชน แตระบบตลาดไมสามารถจัดบริการได เชน การรักษาความปลอดภัยใหแกประชาชน การแกปญหามลภาวะ การแกปญหาจากภัยธรรมชาติตางๆ ปญหาท่ีเกิดจากโรงงานผลิตสินคา ซ่ึงตองเขามาแทรกแซงโดยใชเคร่ืองมือทางการคลัง เชน การกําหนดอัตราภาษีพิเศษสําหรับโรงานท่ีกอใหเกิดผลกระทบตอสังคม รวมถึงการสนับสนุนเงินทุนแกกิจการท่ีสรางประโยชนแกสังคม

3) รัฐบาลควรกระจายความมั่งค่ังไปสูประชาชนอยางเทาเทียมกัน เชน การ

Page 16: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

29

เก็บภาษีแบบอัตรากาวหนา เก็บจากผูท่ีมีรายไดมากข้ึนตามอัตรารายได เพื่อนํามาจัดทําโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตใหกับประชาชนท่ีมีรายไดนอยกวา หรือนํามาจัดระบบการศึกษาแบบใหเปลา ซ่ึงระบบตลาดเสรีเองไมสามารถจัดทําโครงการลักษณะนี้ได

4) รัฐบาลควรจัดสรรการบริโภคและการออมของประชาชนใหอยูในระดับท่ีเหมาะสม เชน การรักษาระดับราคาสินคาใหมีเสถียรภาพ การเก็บภาษีและสะสมในรูปแบบของการประกันสังคม เพื่อสรางดุลภาพในการผลิตของประชาชนและลดภาระแกรัฐบาลในชวงเศรษฐกิจตกตํ่า

5) รัฐบาลตองรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจใหการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีความราบร่ืน เชน การลงทุน การผลิต การจาง การลดปญหาการวางงานและการรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ซ่ึงเคร่ืองมือท่ีนํามาใชในการแกปญหา คือ นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง

2.1.6.2 การพัฒนาอุตสาหกรรมเพ่ือทดแทนการนําเขา (Import Substitution) และเพื่อสงออก (Export Orientation) ในประเทศไทย

บทบาทของรัฐบาลท่ีสําคัญตอระบบเศรษฐกิจประการหนึ่ง คือ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจและความม่ังค่ังของประเทศ ซ่ึงเปนกระแสท่ีไมสามารถหลีกเล่ียงไมได โดยการพัฒนาประเทศไดเปล่ียนแปลงสังคม จากการเปนสังคมการเกษตรเปนสังคมท่ีมุงการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางเห็นไดชัด โดยในชวงป 1960 GDP ของไทย 40% มาจากภาคการเกษตร แตใน 40 ป ตอมา ภาคการเกษตรมี GDP ไมถึง 10% ซ่ึงมันถูกแทนท่ีดวยภาคการอุตสาหกรรม โดยมี GDP เพิ่มข้ึนจาก 13% กลายเปน 40% ในป 2001 การพัฒนาเศรษฐกิจไปสูสังคมอุตสาหกรรมดังกลาว ไดทําใหภาคการเกษตรหดตัวลงไปต้ังแตชวงทศวรรษ 1970 (G. Sivalingam, 2005, pp.2 - 5)

จากการพัฒนาเศรษฐกิจดังกลาว ประเทศไทยตองประสบปญหาเศรษฐกิจหลายคร้ัง ชวงแรกในชวงปลายทศวรรษท่ี 1970 ถึงชวงตนทศวรรษที่ 1980 อันเปนผลมาจากการตกตํ่าของราคาสินคาอุปโภคบริโภค คร้ังท่ีสองในชวงป 1979 เนื่องจากราคาน้ํามันโลกสูงข้ึนอยางเฉียบพลัน การพัฒนาดังกลาวไดนําประเทศไปสูความถดถอยทางการคาอยางมาก การสงออกขาดดุลเพิ่มข้ึนกวา 7% ของ GDP การขาดดุลดังกลาวยังทําใหอัตราการเติบทางเศรษฐกิจของไทยลดลงไปถึง 4.5% ในระหวางป 1980 - 1985

ในป 1981 รัฐบาลเปล่ียนกลยุทธจากการเปนอุตสาหกรรมนําเขามาเปนอุตสาหกรรมสงออก เนื่องจากแรงงานเปนท่ีดึงดูดตอการลงทุนและอัตราแลกเปล่ียนตางประเทศมีศักยภาพท่ีดี แตสวนสําคัญคือการเปล่ียนนโยบายจากการสนับสนุนการนําเขา มาเปนสนับสนุนการสงออกดวยการจางแรงงานท่ีนาดึงดูดตอการลงทุน ซ่ึงหมายถึงการมีคาแรงที่ไมแพง ทําใหอุตสาหกรรมการสงออกมีความนาสนใจมากข้ึน แตในขณะเดียวกันแรงงานก็เกิดความเสียเปรียบตอการจางของนายจางท่ีไดรับคาแรงท่ีถูก

Page 17: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

30

2.1.6.3 การสนับสนุนเชิงนโยบายเศรษฐกิจตออุตสาหกรรมการสงออก การสนับสนุนเชิงนโยบายดานแรงงานของรัฐบาลท่ีมีคาแรงท่ีนาดึงดูดตอการลงทุนจากท้ังคนไทยและตางชาติ (โดยเฉพาะญ่ีปุน) ไดสงผลใหภาคอุตสาหกรรมเติบโตอยางรวดเร็ว เศรษฐกิจของไทยเติบโตข้ึนอยางมากโดยเฉพาะในชวง 1987 - 1993 ซ่ึงเปนผลสืบเนื่องมาจากการมีแรงงานราคาตํ่า ทําใหตนทุนการผลิตสินคาตํ่า และสงออกไดในราคาสูง มาตรการนี้ดึงดูดการลงทุนจากตางไดเปนอยางมาก (G. Sivalingam, 2005, pp.199 - 209)

การพัฒนาดังกลาวสงผลใหประเทศไทยกลายเปนประเทศหนึ่งท่ีมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงสุด โดยมี GDP จากป 1987 - 1996 เติบโตข้ึนถึง 11.5% ทําใหไทยกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม และไดรับการสนับสนุนใหเปนตัวแบบในการพัฒนาอุตสาหกรรมตอประเทศกําลังพัฒนาอ่ืนๆ โดยเฉพาะการพัฒนาใหเศรษฐกิจเติบโตไปพรอมกับการลดปญหาความยากจน รวมถึงเปนตัวแบบในการวางนโยบายแกประเทศกําลังพัฒนาในการแขงขันการสงออกดวยการพัฒนาและเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี การยกระดับทรัพยากรมนุษย การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค และการกําหนดอัตราแลกเปล่ียนใหคงท่ี การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสงผลใหรัฐบาลลงทุนในการพัฒนาระบบคมนาคมขนสง ระบบการส่ือสาร การผลิตพลังงาน และการสรางทางดวนในเขตเมือง โดยการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกลายเปนกลยุทธหนึ่งในการยกระดับการสรางระบบสาธารณูปโภคภายในประเทศ

เม่ือภาคอุตสาหกรรมเติบโตข้ึน ในป 1990 รัฐบาลไทยเร่ิมดําเนินการเปดเสรีทางการเงินและการทําขอตกลงกับกองทุนการเงินระหวางประเทศ หรือ IMF ซ่ึงทําใหระบบการเงินอยูในการควบคุมของระบบการแลกเปล่ียนระหวางประเทศ และคอยๆ กลายเปนระบบเปดตอเงินทุน ในป 1993 มีการกําหนดระบบการอํานวยความสะดวกดานการเงินแกระบบการเงินระหวางประเทศ ซ่ึงทําใหมีธนาคารตางชาติถึง 32 แหงเกิดข้ึนเพื่ออํานวยความสะดวกดานการเงิน แตอยางไรก็ตามการเปดเสรีดานการเงินดังกลาวทําใหนโยบายดานการเงินลมเหลว มีการไหลของเงินทุนเกิดข้ึนอยางมาก จนกระท่ังในป 1997 ประเทศมีความออนแอในระบบการเงินและเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในชวงนั้น

เศรษฐกิจไทยเร่ิมฟนตัวอีกคร้ังในป 2001 และฟนตัวมาเร่ือยมาจนกระท่ังปจจุบัน แตการดําเนินนโยบายดานเศรษฐกิจของประเทศไทยยังคงข้ึนอยูกับการเปล่ียนแปลงของกระแสโลก ดังเชนในปจจุบันนี้ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจเปนกระแสท่ีท่ัวโลกใหความสําคัญ โดยมีตนแบบความสําเร็จมาจากการรวมกลุมของสหภาพยุโรป และในภูมิภาคเอเชียเอง ก็มีการรวมกลุมท่ีสําคัญ คือ อาเซียน และในป 2015 จะมีการรวมกลุมท่ีสําคัญทางเศรษฐกิจเกิดข้ึน นั่นคือ การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community ; AEC) และการยกระดับการรวมกลุมนี้เปนกระแสสําคัญท่ีกําลังผลักดันประเทศใหสามารถแขงขันในระดับกลุมประเทศอาเซียนได

Page 18: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

31

2.1.6.4 สถานการณปจจุบัน เศรษฐกิจในปจจุบันของไทยยังคงไดรับผลกระทบจากเศรษฐกิจโลก จากการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติในป 2552 พบวาแมวา GDP ของไทยจะหดตัว แตเศรษฐกิจก็เร่ิมฟนตัว เนื่องจากการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก และอุปสงคภายในประเทศทําใหภาคอุตสาหกรรมขยายตัว การวางงานลดลง ประชาชนมีรายได รายจายและหนี้สินเพิ่มข้ึน แตรัฐก็มีมาตรการแกไขปญหาหนี้นอกระบบและสงเสริมการลงทุนตางๆ มากข้ึน (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2552) สําหรับเศรษฐกิจในชวงป 2553 - 2556 มีแนวโนมดีข้ึน แมจะชะลอตัวจากภาวะเศรษฐกิจและอุทกภัยในป 2554 ก็ตาม ซ่ึงในป 2555 GDP ขยายตัวอยูท่ีรอยละ 3 เศรษฐกิจขยายตัวอยูท่ีรอยละ 5.5 อันเปนผลมาจากการเรงแกปญหาและฟนฟูอุตสาหกรรมท่ีประสบอุทกภัย ป 2556 เศรษฐกิจไทยขยายตัวอยางตอเนื่อง 5.2 % สถานการณเศรษฐกิจโลกท่ีคอยๆ ฟนตัวข้ึนชวยสงเสริมใหไทยสามารถขยายการสงออกอยูท่ี 7.3% นอกจากนี้ อัตราการวางงานอยูในระดับตํ่า คือ 0.6% ของจํานวนแรงงานรวม (สมชัย สัจจพงษ, 2555)

การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยไดรับอิทธิพลจากเศรษฐกิจโลกอยางหลีกเล่ียงไมได เนื่องจากเศรษฐกิจของไทยตองพึ่งพาท้ังการนําเขาและสงออกเชนกัน ซ่ึงคิดเปนมากกวา 50% ของ GDP ดังตารางท่ี 2.2 โดยประเทศไทยมีประเทศคูคาท่ีสําคัญแบงตามมูลคาการคา ดังตารางท่ี 2.3 และประเทศไทยมีสินคาท่ีสําคัญ ดังตารางท่ี 2.4 ตารางท่ี 2.2 มูลคาสงออก มูลคานําเขา และดุลการคาของไทย ป 2543 - 2556 (พ.ศ. 2000 - 2009)

ป มูลคาสงออก (Export Value) มูลคานาํเขา (Import Value) ดุลการคา (Trade Balance)

พันลานบาท รอยละของ

GDP พันลานบาท

รอยละของ GDP

พันลานบาท รอยละของ

GDP 2000 2,768.1 56.2 2,494.1 50.7 273.9 5.6 2001 2,884.7 56.2 2,748.9 53.5 135.7 2.6 2002 2,923.9 53.6 2,774.8 50.9 149.1 2.7 2003 3,325.6 56.2 3,138.8 53.0 186.9 3.2 2004 3,873.7 59.7 3,801.1 58.6 72.6 1.1 2005 4,438.7 62.6 4,754.0 67.0 -315.3 -4.4 2006 4,937.4 62.9 4,942.9 63.0 -5.5 -0.1 2007 5,302.1 62.2 4,870.2 57.1 431.9 5.1 2008 5,851.4 64.5 5,962.5 65.7 -111.1 -1.2 2009 5,197.1 57.4 4,605.2 50.9 592.0 6.5 2010 6,176.3 57.7 5,839.9 54.5 +336.4 3.1

Page 19: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

32

ตารางท่ี 2.2 (ตอ)

ป มูลคาสงออก (Export Value) มูลคานาํเขา (Import Value) ดุลการคา (Trade Balance)

พันลานบาท รอยละของ

GDP พันลานบาท

รอยละของ GDP

พันลานบาท รอยละของ

GDP 2011 6,707.9 60.3 6,982.7 62.8 -274.8 -2.5 2012 7,091.3 62.4 7,738.6 68.1 -647.3 -5.7

ท่ีมา: ดัดแปลงจากสํานักงานสถิติแหงชาติ, 2556 ก ตารางท่ี 2.3 มูลคาสงออก มูลคานําเขา และดุลการคา จําแนกตามประเทศคูคาสําคัญ

ประเทศ ป 2009 (พ.ศ. 2552) ป 2012 (พ.ศ. 2555)

มูลคาสงออก (Export Value)

มูลคานําเขา (Import Value)

ดุลการคา (Trade Balance)

มูลคาสงออก (Export Value)

มูลคานําเขา (Import Value)

ดุลการคา (Trade Balance)

ญ่ีปุน 536.2 860.1 -324.0 725.0 1,550.4 -825.4 จีน 548.9 586.1 -37.2 829.8 1,160.5 -330.7 สหรัฐอเมริกา 567.7 288.6 279.1 703.9 391.4 312.5 มาเลเซีย 260.9 295.3 -34.5 383.7 409.6 -25.9 สิงคโปร 258.0 197.3 60.6 334.6 244.9 89.7 ออสเตรเลีย 292.0 130.4 161.6 301.8 170.2 313.6 ฮองกง 323.2 59.7 263.6 404.9 59.3 345.6 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส

83.9 229.2 -145.4 88.7 489.7 -401.0

อินโดนีเซีย 158.9 130.9 28.0 346.3 252.9 93.4 เกาหลีใต 96.1 186.8 -90.7 147.6 281.5 -133.9 ท่ีมา : ดัดแปลงจากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง, ออนไลน, 2553 ; สํานักงานสถิติแหงชาติ,2556 ข ตารางท่ี 2.4 มูลคาและอัตราการขยายตวัของสินคาสงออกอันดับตนๆป 2011 - 2013 (พ.ศ. 2554 - 2556)

สินคาสงออก มูลคาสงออก (พันลานบาท) อัตราการขยาย (รอยละ)

ป 2011 ป 2012 ป 2013 ป 2011 ป 2012 ป 2013 เคร่ืองคอมพิวเตอร อุปกรณ และสวนประกอบ

513.7 588.4 537.2 -13.9 14.5 -8,7

Page 20: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

33

ตารางท่ี 2.4 (ตอ)

สินคาสงออก มูลคาสงออก (พันลานบาท) อัตราการขยาย (รอยละ)

ป 2011 ป 2012 ป 2013 ป 2011 ป 2012 ป 2013 รถยนต อุปกรณ และสวนประกอบแผงวงจรไฟฟา

511.5 707.7 738.1 -8.8 38.4 4.3

น้ํามันสําเร็จรูป 303.8 397.9 386.0 23.5 31.0 -3.0 อัญมณีและเคร่ืองประดับ 371.2 408.0 305.9 1.2 9.9 -25.0 ผลิตภัณฑยาง 253.1 259.8 257.2 24.4 2.6 -1.0 เคมีภัณฑ 250.1 263.0 274.9 34.0 5.2 4.5 เม็ดพลาสติก 265.4 263.6 270.8 32.5 -0.7 2.7 ยางพารา 382.9 270.2 249.3 53.6 -29.4 -7.7 แผงวงจรไฟฟา 238.2 206.5 218.5 -6.7 -13.3 5.8 ท่ีมา: รวบรวมจากกรมศุลกากร, ออนไลน, 2557

ระดับการขยายตัวเศรษฐกิจในชวงหลายปท่ีผานไดรับการสนับสนุนเชิงนโยบายจากรัฐบาลแตละชุดอยางตอเนื่อง โดยรัฐบาลชุดใหมท่ีเพิ่งไดรับการเลือกต้ังเขามาบริหารประเทศในชวงกลางป 2554 ก็วางนโยบายท่ีสนับสนุนการเติบทางเศรษฐกิจเปนอยางดี โดยรัฐบาลไดประกาศนโยบายท่ีกระตุนการลงทุน เพิ่มการเติบโตทางเศรษฐกิจ และกระตุนการบริโภคภายในประเทศหลายประการ เชน รถยนตคันแรก บานหลังแรก กองทุนหมูบานสองลานบาท การสรางระบบคมนาคมขนสงท่ีสะดวกและรวดเร็วมากข้ึน อยางการสรางรถไฟฟาใหครอบคลุมหลายเสนทางมากข้ึน การลดภาษีนิติบุคคล เปนตน ซ่ึงนโยบายการปรับลดภาษีเงินไดนิติบุคคล จะปรับลดจาก 30% เปน 23% ในป 2555 และเหลือ 20% ในป 2556 เปนนโยบายท่ีเอ้ือใหนักลงทุนสนใจมาลงทุนในไทยมากข้ึนเนื่องจากเม่ือเปรียบเทียบภาษีนิติบุคคลระหวางไทยกับกลุมประเทศเพื่อนบานแลว นับวาประเทศไทยดึงดูดการลงทุนอยางมาก ซ่ึงสามารถทําใหไทยสามารถแขงขันไดกับประเทศเพ่ือนบาน ดังจะเห็นไดจากตารางท่ี 2.2 ตารางท่ี 2.5 อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลของประเทศตางๆ ในอาเซียน ป 2543 - 2555

ประเทศ ป 2543 ป 2548 ป 2553 ป 2554 ป 2555 อัตราเฉล่ียของโลก 29 27.4 25 23 n/a สิงคโปร 26 20 17 17 17 กัมพูชา n/a 20 20 20 20

Page 21: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

34

ตารางท่ี 2.5 (ตอ)

ประเทศ ป 2543 ป 2548 ป 2553 ป 2554 ป 2555 อัตราเฉล่ียของโลก 29 27.4 25 23 n/a บรูไน n/a n/a 23.5 22 22 ไทย 30 30 30 30 23 มาเลเซีย 28 28 25 25 25 อินโดนีเซีย 30 30 25 25 25 เวียดนาม (ในประเทศ/นอกประเทศ)

45/25 28 25 25 25

ลาว (ในประเทศ/นอกประเทศ) n/a 35/30 35/20 35/20 28 ฟลิปปนส 32 32 30 30 30 พมา n/a n/a n/a 30 30 ท่ีมา : Kaisri Nuengsigkapian, 2012

นโยบายการสนับสนุนการลงทุนหรือกระตุนการบริโภคขางตน มีความสอดคลองกับแนวโนมของการเตรียมตัวเขาสู AEC ท่ีตองเตรียมความพรอมเพ่ือใหผูประกอบการตางๆ มีความพรอมสําหรับการแขงขันท่ีเขมขนยิ่งข้ึน เพราะไมใชแคเพียงคูแขงขันภายในประเทศเทานั้น แตพบกับคูแขงท่ีมีศักยภาพอยางสิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส เปนตน จึงทําใหไทยตองเตรียมความพรอมหลายดาน ท้ังดานระบบการบริหารงานภายในองคกร การเตรียมความพรอมใหแกพนักงานในดานภาษาและทักษะความสามารถ รวมถึงการปรับตัวเขากับสังคมท่ีจะเต็มไปดวยความหลากหลายของแรงงาน และนโยบายดังท่ีกลาวมาขางตน ก็ลวนสนับสนุนการเตรียมความพรอมดานการลงทุนของตางประเทศ การสนับสนุนการบริโภค และการคมนาคม ตอการรวมกลุมดังกลาว แตนโยบายของรัฐบาลก็ยังมีสวนท่ีไมสอดคลองกับนโยบายอ่ืน นั่นคือ นโยบายการข้ึนคาแรงเปน 300 บาทตอวัน นโยบายการข้ึนคาแรงดังกลาวสงผลกระทบตอผูประกอบการ ทําใหผูประกอบการตองแบกรับภาระตนทุนการผลิตท่ีสูงข้ึน อีกท้ังผูประกอบการจํานวนมาก โดยเฉพาะผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมท่ีไดรับผลกระทบมากท่ีสุด โดยเฉพาะดานเงินทุน เนื่องจากในการปรับตัวเขาสู AEC ตองปรับในเรื่องของกระบวนการดําเนินการ การผลิตสินคาท่ีมีคุณภาพ และการพัฒนาฝมือแรงงานแลว ผูประกอบการตองแบกรับภาระในการจายคาจางแรงงานเพ่ิมข้ึนอีกดวย นโยบายการข้ึนคาแรงยังลดความนาสนใจจากการลงทุนของตางประเทศอีกดวย (G.Sivalingam, 2005) เนื่องจากเม่ือเปรียบเทียบคาแรงข้ันตํ่าของกลุมประเทศอาเซียนจะพบวาคาแรงของไทยมีอัตราคอนขางสูงมาก (ดังตารางท่ี 2.6)

Page 22: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

35

ตารางท่ี 2.6 เปรียบเทียบคาแรงขัน้ตํ่าของกลุมประเทศอาเซียน ในป 2555

ประเทศ คาแรง (USD) คาแรง (บาท) สิงคโปร 61.7 1,944.78 ฟลิปปนส 9.7 305.74 ไทย 9.52 300 มาเลเซีย 8.4 264.77 อินโดนีเซีย 5.0 157.6 ลาว 3.0 94.56 พมา 2.5 78.8 เวียดนาม 2.5 78.8 กัมพูชา 2.0 63.04

ท่ีมา: ดัดแปลงจาก เกียรติอนันต ลวนแกว, 2555 หมายเหตุ : 1) มาเลเซียและสิงคโปรไมมีคาแรงข้ันตํ่า แตเปนการคํานวณจากเงินเดือนของแรงงานไรฝมือ

2) อัตราแลกเปล่ียนของธนาคารกรุงเทพ ณ วันท่ี 1 สิงหาคม 2556

เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบจากคาแรงของประเทศตางๆ ในอาเซียนแลว จะพบวา ประเทศไทยมีคาแรงท่ีสูงเปนอันดับ 3 ในภูมิภาค ซ่ึงแสดงใหเห็นวานโยบายการข้ึนคาแรงของรัฐบาลไมสอดคลองกับนโยบายการกระตุนการลงทุนจากตางประเทศ แตจะยิ่งทําใหนักลงทุนหันไปลงทุนในประเทศเพ่ือนบานของเรามากข้ึน ยิ่งเม่ือประเทศเพื่อนบานเราพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและระบบเศรษฐกิจใหเทาเทียมกับประเทศในกลุมแลว ความไดเปรียบท่ีวาไทยมีระบบการคมขนสงท่ีดี และมีส่ิงอํานวยความสะดวกตอการลงทุนในไทย ก็ยอมไมมีอีกตอไป 2.1.7 ลักษณะนโยบายท่ีดี การกําหนดนโยบายของพรรคการเมืองหรือรัฐบาลตางๆ ไมอาจกลาวไดวา เปนนโยบายท่ีดีเสมอไป หากแตเราสามารถพิจารณาไดจากมุมของนักวิชาการตอไปนี้

2.1.7.1 Joseph L. Massie และ John Douglas (1985) กลาววา นโยบายท่ีดีควรมีลักษณะดังตอไปนี้

1) เปนนโยบายท่ีใหแนวทางการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไวได และสามารถสรางความเขาใจกับประชาชนหรือทุกคนท่ีเกี่ยวของได ใหทุกคนทราบถึงแนวทางในการดําเนินหรือการนํานโยบายดังกลาวไปปฏิบัติ

2) เปนนโยบายท่ีเขาใจงาย และตองเปนลายลักษณอักษร 3) เปนนโยบายท่ีช้ีใหเห็นถึงขอกําหนดตางๆ และแนวทางการปฏิบัติงานใน

อนาคต

Page 23: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

36

4) เปนนโยบายท่ีมีความยืดหยุน สามารถเปล่ียนแปลงได ถาหากมีความจําเปน และมีเหตุผลท่ีเหมาะสม

5) เปนนโยบายท่ีเปนเหตุเปนผล และสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง 6) เปนนโยบายท่ีเปดโอกาสใหผูนําไปปฏิบัติ สามารถแปลความ และ

ตัดสินใจดําเนินการดวยตนเองได 7) เปนนโยบายท่ีไดรับการตรวจสอบและทบทวนผลการดําเนินการเปน

ระยะๆ และนํามาปรับปรุงนโยบายเสมอ 2.1.7.2 Wayne R. Mondy and et.al. (1986, pp. 95 - 96) เห็นวา นโยบายท่ีดีตองมีลักษณะ

ดังตอไปนี้ 1) ตองอยูบนพื้นฐานของความจริง 2) เปนนโยบายท่ีทําใหผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชามีความเห็นพอง

กัน หรือไมขัดแยงกัน 3) ควรเปนนโยบายท่ีสอดคลองกับนโยบายอ่ืนๆ ของรัฐบาล 4) เปนนโยบายท่ีมีความหมาย สามารถเขาใจไดงาย และสรางความมี

เสถียรภาพใหกับสังคมหรือผูท่ีเกี่ยวของกับนโยบายน้ัน 5) ควรเปนนโยบายท่ีมีความยืดหยุน แตมีความม่ันคงและชัดเจนในหลักการ 6) ควรเปนนโยบายท่ีมีขอบเขต และสามารถอธิบายไดดวยเหตุผล

2.1.7.3 ปยะพงษ บุษบงก (2552) กลาวลักษณะนโยบายที่ดีตองเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม ซ่ึงการเขามามีสวนรวม แบงงออกเปน 4 รูปแบบ ไดแก

1) การเขาไปมีสวนรวมในกลุมผลประโยชน (Interest Group) เปนการรวมกลุมของบุคคลที่มีผลประโยชนเหมือนกันหรือคลายคลึงกัน รวมตัวกันจัดต้ังกลุมอยางเปนระบบ และเรียกรองใหรัฐบาลแกปญหาตางๆ ซ่ึงกลุมนี้แบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุมอาชีพและกลุมอิทธิพล [เชน กลุมปญญาชน กลุมส่ือมวลชน และ กลุมองคกรพัฒนาภาคเอกชน (Non - governmental organisations - NGOs)]

2) การเขามามีสวนรวมในพรรคการเมือง เปนการมีสวนรวมในกลุมบุคคลท่ีมีอุดมการณทางการเมืองคลายคลึงกัน และรวมตัวกันเพื่อเขาไปมีบทบาททางการเมือง

3) การเขามามีสวนรวมในการเลือกต้ัง เปนการมีสวนรวมของกระบวนการประชาชน โดยการเลือกตัวแทนเพื่อเขาไปทําหนาท่ีรักษาผลประโยชนแทนตน

4) การเขาไปมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น เปนการวิพากษวิจารณการทํางานของรัฐบาล รวมถึงการมีสวนรวมในการทําประชามติ การเสนอรางกฎหมาย และการลงช่ือถอดถอนตัวแทนของตน

อยางไรก็ตาม การมีสวนรวมดังกลาวไมไดมีเพียงผลดีเทานั้น แตก็ยังมีผล

Page 24: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

37

เสียดวย ซ่ึงอาจเปนผลมาจากระดับการมีสวนรวมหรือการมีอิทธิพลของผูมีสวนรวมแตกตางกัน จึงทําใหสามารถตอรองในการกําหนดนโยบายไดแตกตางกัน แตท้ังนี้ การมีสวนรวมของประชาชนก็ยังถือวามีความสําคัญตอการกําหนดนโยบายเปนอยางมาก

จากองคประกอบของการเปนนโยบายท่ีดีของนักวิชาการทั้งสามทาน อาจสรุปไดวา นโยบายที่ดีตองมีลักษณะดังนี้

1) ตองเปนนโยบายท่ีอยูบนพื้นฐานขอมูลท่ีเปนจริง สามารถแกปญหา หรือตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางแทจริง

2) เปนนโยบายท่ีมีเปาหมาย ขอบเขต และแนวทางการปฏิบัติงานท่ีชัดเจน เนื่องจาก เปาหมายเปนตัวท่ีบงช้ีถึงผลท่ีจะเกิดข้ึนจากการนํานโยบายไปปฏิบัติ จึงตองกําหนดใหชัดเจน รวมถึงขอบเขตของนโยบายน้ันดวย วาครอบคลุมถึงอะไรบาง ตลอดจนการกําหนดแนวทางในการปฏิบัติ ท้ังสองประการน้ีจะชวยใหทราบถึงผูท่ีเกี่ยวของ และหนาท่ีท่ีพวกเขาตองกระทําตอนโยบายหนึ่งๆ

3) เปนนโยบายท่ีมีความยืดหยุน สามารถเปล่ียนแปลงใหเหมาะสมกับสถานการณหรือส่ิงแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไปได

4) เปนนโยบายท่ีมีเหตุมีผล เกิดจากความตองการของประชาชนอยางแทจริง และสามารถนําไปปฏิบัติใหเกิดผลไดอยางแทจริง

5) เปนนโยบายท่ีเปดโอกาสใหประชาชนสามารถสะทอนผลตอบกลับ (Feedback) ได หรือเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นหรือรวมกําหนดนโยบายในรูปแบบตางๆ และรัฐนําผลสะทอนกลับเหลานั้นมาพิจารณา และปรับปรุงใหเหมาะสมกับสถานการณ ทรัพยากร และความตองการของประชาชนผูท่ีเกี่ยวของ

6) เปนนโยบายท่ีสอดคลองกับนโยบายอ่ืนของรัฐบาล เพราะจะชวยสงเสริมกันใหสามารถสนองตอบตอความตองการของผูท่ีเกี่ยวของไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.2 แนวคิดเก่ียวกับผลกระทบของนโยบายสาธารณะ

แนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบของนโยบายสาธารณะสามารถอธิบายไดในมุมมองท่ีหลากหลายดังตอไปนี้ การดําเนินดําเนินนโยบายสาธารณะสงผลกระทบอยางมากตอชีวิตและภาคสังคม ไมใชแคเพียงกลุมคนท่ีนโยบายนั้นๆ ออกแบบมาเพื่อเอ้ือประโยชนใหเขา หรือมุงใหเกิดผลตอกลุมหนึ่งๆ เทานั้น หากแตกลุมอ่ืนๆ ก็ไดรับผลกระทบดวยเชนกัน ซ่ึงนโยบายสาธารณะสามารถเปล่ียนแปลงบทบาทของผูท่ีมีสวนเกี่ยวของได สามารถเปล่ียนโครงสรางความสัมพันธ สามารถเปล่ียนแปลงทรัพยากรไปยังกลุมท่ีมีบทบาทสําคัญได รวมถึงสามารถเปล่ียนความตองการของกลุม

Page 25: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

38

หรือตัวแสดงได (César Cruz-Rubio and Roberto Castellanos - Cereceda, 2015, p.1) การดําเนินนโยบายเปนความพยายามท่ีจะควบคุมผลกระทบจากการนํานโยบายน้ันๆ ไปปฏิบัติ แตระหวางการดําเนินการของนโยบายหน่ึงๆ มักจะเกิดปญหาข้ึน ท้ังภายใตกระบวนการกําหนดนโยบายท่ีเปนธรรม ปญหาภายใน องคกรท่ีเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบาย รวมถึงการประสานงาน เม่ือถึงวาระการนํานโยบายไปปฏิบัติจริงจึงเกิดปญหาและผลกระทบขางเคียงข้ึน ซ่ึงไมใชผลท่ีกําหนดไวตามเปาหมายของนโยบายนั้นๆ (Phyllis Strong Green, 1980, pp.892 - 899) 2.3 บทบาทของรัฐบาลตอนโยบายคาแรงขั้นต่าํในปจจุบัน

2.3.1 แนวคิดเก่ียวกับบทบาทและหนาท่ีของรัฐบาลดานเศรษฐกิจ รัฐบาลพึงมีบทบาทในทางเศรษฐกิจ ดังนี้ (สุรจิต ลักษณะสุต และ นพดล บูรณะธนัง, 2542, หนา 128 - 131 ; Ewan J. Michael, 2006, pp.146 - 152)

2.3.1.1 รัฐบาลตองดูแลใหเกิดการแขงขันในตลาดอยางเสรี และดูแลใหการซ้ือขายในตลาดมีความเปนธรรมตอทุกฝาย

2.3.1.2 รัฐบาลตองแกไขปญหาความลมเหลวของตลาด (Market Failure) เชน การบริการสินคาสาธารณะ (Public Goods) ซ่ึงเปนสินคาท่ีจําเปนตอประชาชน แตระบบตลาดไมสามารถจัดบริการได เชน การรักษาความปลอดภัยใหแกประชาชน การแกปญหามลภาวะ การแกปญหาจากภัยธรรมชาติตางๆ ปญหาท่ีเกิดจากโรงงานผลิตสินคา ซ่ึงตองเขามาแทรกแซงโดยใชเคร่ืองมือทางการคลัง เชน การกําหนดอัตราภาษีพิเศษสําหรับโรงานท่ีกอใหเกิดผลกระทบตอสังคม รวมถึงการสนับสนุนเงินทุนแกกิจการท่ีสรางประโยชนแกสังคม

2.3.1.3 รัฐบาลควรกระจายความมั่งค่ังไปสูประชาชนอยางเทาเทียมกนั เชน การเก็บภาษีแบบอัตรากาวหนา เก็บจากผูท่ีมีรายไดมากข้ึนตามอัตรารายได เพื่อนํามาจัดทําโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตใหกับประชาชนท่ีมีรายไดนอยกวา หรือนํามาจัดระบบการศึกษาแบบใหเปลา ซ่ึงระบบตลาดเสรีเองไมสามารถจัดทําโครงการลักษณะนี้ได

2.3.1.4 รัฐบาลควรจัดสรรการบริโภคและการออมของประชาชนใหอยูในระดับท่ีเหมาะสม เชน การรักษาระดับราคาสินคาใหมีเสถียรภาพ การเก็บภาษีและสะสมในรูปแบบของการประกันสังคม เพื่อสรางดุลภาพในการผลิตของประชาชนและลดภาระแกรัฐบาลในชวงเศรษฐกิจตกตํ่า

2.3.1.5 รัฐบาลตองรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจใหการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีความราบร่ืน เชน การลงทุน การผลิต การจาง การลดปญหาการวางงานและการรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ซ่ึงเคร่ืองมือท่ีนํามาใชในการแกปญหา คือ นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง 2.3.2 บทบาทของรัฐบาลตอนโยบายคาแรงขั้นต่ําวันละ 300 บาท

Page 26: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

39

ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กําหนดใหคาแรงข้ันตํ่าสําหรับแรงงานมาจากคณะกรรมการคาจาง 3 ฝาย ซ่ึงประกอบดวยปลัดกระทรวงแรงงานเปนประธานกรรมการ ผูแทนฝายรัฐบาล 4 คน ผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางฝายละ 5 คน การกําหนดคาแรงท่ีผานมาจึงเปนการตกลงและยอมรับกันท้ัง 3 ฝาย ซ่ึงคณะกรรมการคาจางตองพิจารณาคาจางจากดัชนีคาครองชีพ อัตราเ งินเฟอ มาตรฐานการครองชีพ ตนทุนการผลิต ราคาของสินคา ความสามารถของธุรกิจ ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม (สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2541; สายงานเศรษฐกิจและโลจิสติกส สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, 2554) แตสําหรับนโยบายคาแรงข้ันตํ่าวันละ 300 บาท เปนเง่ือนไขท่ีรัฐบาลกําหนดข้ึนในสมัยการหาเสียงเลือกต้ังของพรรคเพ่ือไทยในป 2554 และเม่ือพรรคเพ่ือไทยชนะการเลือกต้ัง นโยบายน้ีไดนํามาสูการบังคับใช โดยเร่ิมจาก 7 จังหวัดนํารอง คือ กรุงเทพฯ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และภูเก็ต เม่ือวันท่ี 1 เมษายน 2555 สวนอีก 70 จังหวัด บังคับใชในวันท่ี 1 มกราคม 2556 ท้ังนี้ การดําเนินการตามนโยบายน้ีมีกระทรวงแรงงานเปนหนวยงานรับผิดชอบ (คณะทํางานพาณิชยเงา พรรคประชาธิปตย, 2556, หนา 2 ) การกําหนดนโยบายของรัฐบาลในเร่ืองคาแรงดังกลาวนี้ ถือเปนการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจโดยการใชนโยบายเปนเคร่ืองมือของรัฐบาล ซ่ึงการกําหนดคาแรงข้ันต่ําในอดีตท่ีผานมาและเปนท่ียอมรับ คือ คาแรงท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการคาแรง 3 ฝาย อันประกอบดวยตัวแทนรัฐบาล ตัวแทนนายจาง และตัวแทนลูกจางดังที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซ่ึงการกําหนดคาแรงโดยท้ัง 3 ฝาย จะชวยใหทราบถึงระดับคาจางท่ีลูกจางสามารถยอมรับได และจุดท่ีนายจางมีศักยภาพท่ีจะจายได นอกจากนี้ เง่ือนไขการพิจารณาคาจางก็ครอบคลุมหลายดานดังท่ีกลาวมาแลว ในชวงท่ีผานมาแมคาจางจะไมอยูในระดับท่ีเหมาะสมตอคายังชีพของแรงงาน แตการเพิ่มคาแรงแบบกาวกระโดดไดสงผลกระทบตอตนทุนการผลิตของธุรกิจเปนอยางมาก โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ยงยุทธ แฉลมวงษ และคณะ, 2012) ซ่ึงรัฐบาลตองออกมาตรการหลายประการเพื่อชวยเหลือธุรกิจท่ีไดรับผลกระทบอยางรุนแรง ซ่ึงบางธุรกิจตองกูยืมเพื่อมาหมุนในธุรกิจของตน เนื่องจากมีสายปานส้ัน การเพิ่มคาแรงทําใหเพิ่มตนทุนการผลิต บางแหงตองลดจํานวนพนักงาน และบางแหงตองปดกิจการลง 2.3.3 มาตรการชวยเหลือผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมของรัฐบาล หลังจากท่ีรัฐบาลประกาศใชนโยบายคาแรงข้ันตํ่าวันละ 300 บาท ต้ังแตวันท่ี 1 เมษายน 2551 เปนตนมา ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมจํานวนมากไดรับผลกระทบ แตเพื่อใหนโยบายนี้เดินหนาตอไปได รัฐบาลไดออกมาตรการออกมาชวยเหลือผูประกอบการ 19 มาตรการ โดยแบงออกเปนมาตรการดานแรงงาน มาตรการดานการลดตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ มาตรการดานภาษี มาตรการดานสินเช่ือ มาตรการดานการเงิน และมาตรการดานอ่ืนๆ ดังนี้ (สํานักงานคณะกรรม การพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ออนไลน, 2556)

Page 27: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

40

2.3.3.1 มาตรการดานแรงงาน 1)ใหกูยืมเงินกองทุนพัฒนา ฝมือแรงงานในอัตราดอกเบ้ีย รอยละ 0.1 เพื่อ

ใชในการฝกอบรมพัฒนาฝมือแรงงานในป 2556 ซ่ึงรับผิดชอบโดยกรมพัฒนาฝมือ แรงงาน ท้ังนี้ การใหความชวยเหลือในมาตรการนี้มีกลุมเปาหมาย คือ ผูรับการฝก (ลูกจาง หรือบุคคลท่ัวไป) ผูดําเนินการฝก หรือ ผูดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หรือผูประกอบกิจการ ซ่ึงกําหนดระยะเวลาดําเนินการ เร่ิมต้ังแต 1 มกราคม 2556 ถึง วันท่ี 31 ธันวาคม 2556 โดยมีเง่ือนไขในการรับความชวยเหลือดังนี้

1.1) กรณีผูรับการฝก (ลูกจาง หรือบุคคลท่ัวไป) ตองมีสัญชาติไทย มีอายุต้ังแต 15 ปบริบูรณ แตไมเกิน 55 ป ไมเปนบุคคลลมละลาย มีรายไดไมเกินเดือนละ 10,000 บาท ไมเปนลูกหนี้ของกองทุนพัฒนาฝมือแรงงาน

1.2) กรณีผูดําเนินการฝก หรือผูดําเนินการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน หรือ ผูประกอบกิจการ ตองเปนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลท่ีมีสัญชาติไทย ไมเปนบุคคลลมละลาย ไมเปนลูกหนี้ของกองทุนพัฒนาฝมือแรงงาน

2) จัดคลินิกพัฒนาฝมือแรงงานเคล่ือนท่ี โดยมีหนวยงานที่รับผิดชอบคือกรมพัฒนาฝมือแรงงาน มาตรการนี้เปนการจัดทําหลักสูตรอบรมพัฒนาฝมือแรงงานตามความตองการ และจัดทําเปนหนวยเคล่ือนท่ีไปยังสถานประกอบการ SMEs ซ่ึงมีกลุมเปาหมายในการพัฒนาฝมือเปน 242,400 คน ซ่ึงเปนแรงงานในระบบ 146,400 คน แรงงานนอกระบบ 96,000 คน โดยมีระยะเวลาดําเนินการส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2556 ท้ังนี้ การดําเนินการในมาตรการนี้มีงบประมาณ 486 ลานบาท

3) จัดต้ังศูนยชวยเหลือผูประกอบการในกรุงเทพฯ และภูมิภาคท่ัวประเทศ ซ่ึงรับผิดชอบโดยสํานักงาน ปลัดกระทรวงแรงงาน โดยมีหนาท่ีประชาสัมพันธ ช้ีแจง และแนะนําเกี่ยวกับการปรับอัตราคาแรงข้ันตํ่า รวมถึง รับลงทะเบียนผูประกอบการ ติดตามสถานการณ แกไขปญหา และรายงานผลการปฏิบัติงานตอศูนยฯ พรอมท้ังสนับสนุนผูประกอบการใหสามารถจายคาแรงข้ันตํ่าได ท้ังนี้ กลุมเปาหมายของมาตรการน้ี คือ นายจาง เจาของสถานประกอบกิจการ ลูกจาง พนักงาน และ ประชาชนท่ัวไปที่ไดรับผลกระทบจากการปรับอัตราคาแรงข้ันตํ่า

4) เตรียมจัดงาน ใหความชวยเหลือ SMEs โดยการจัดหนวยหรือสถานท่ียอยสําหรับลงทะเบียนใหบริการและคําปรึกษาแกกลุมเปาหมาย ซ่ึงรับผิดชอบโดยกรมพัฒนาฝมือแรงงาน และมีหนวยงานท่ีรวมดําเนินการ ไดแก คณะกรรมการรวมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย บรรษัทคํ้าประกันสินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) สํานักงานสงเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) และสํานักนายกรัฐมนตรี ซ่ึงการประชุมและการเสวนาจะจัดโดยผูทรงคุณวุฒิจากภาค รัฐและภาคเอกชนในหัวขอตางๆ เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกผูประกอบการ

Page 28: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

41

5) จัดประชุม SMEs เร่ือง “การลดการสูญเสียและเพิ่มผลผลิต 22 ก.พ. 56 ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิต์ิ โดยจัดใหแกกลุมเปาหมาย 800 คน ท้ังในกรุงเทพและปริมณฑล โดยมาตรการนี้รับผิดชอบโดยกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2.3.3.2 มาตรการดานการลดตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 1) การลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม มาตรการนี้รับผิดชอบโดย

สํานักงานประกันสังคม มาตรการนี้จะลดอัตราเงินสมทบฝายนายจาง ผูประกันตน ลงรอยละ 1 จากเดิมตองสมทบฝายละรอยละ 5 จะเหลือฝายละรอยละ 4 ในป 2556 โดยกลุมเปาหมาย คือ สถานประกอบการและผูประกันตนมาตรา 33 และมาตรา 39 ท่ีข้ึนทะเบียนและจายเงินสมทบเขากองทุนประกันสังคม โดยระยะเวลาดําเนินการ ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2556

2) การยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล กรณีการปรับเปล่ียนเคร่ืองจักร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มาตรการน้ีรับผิดชอบโดยกรมสรรพากร มาตรการน้ีเปนการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลท่ีไดจากการขายเคร่ืองจักรเกาเพื่อนํามาซ้ือเคร่ืองจักรใหมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซ่ึงมีกลุมเปาหมาย คือ บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลซ่ึงมีทุนท่ีชําระแลวไมเกิน 5 ลานบาทและมีรายไดไมเกิน 30 ลานบาทตอป ท้ังนี้ มีระยะเวลาดําเนินการ ต้ังแต วันท่ี 1 มกราคม 2555 - 31 ธันวาคม 2556 โดยมีเง่ือนไข ไดแก

2.1) ขายเคร่ืองจักรเกาตั้งแตวนัท่ี 1 มกราคม 2555 - 31 ธันวาคม 2556 และซ้ือ เคร่ืองจักรใหมทดแทนเคร่ืองจักรเกาท่ีขายไปภายในกําหนดเวลา ดังนี ้

- กรณีซ้ือเครื่องจักรใหมกอนขายเครื่องจักรเกา ตองซ้ือเคร่ืองจักรใหม ภายใน 1 ป กอนวันท่ีขายเคร่ืองจักรเกา

- กรณีซ้ือเคร่ืองจักรใหมภายหลังการขายเคร่ืองจักรเกาตองซ้ือเคร่ืองจักร ใหมภายใน 1 ป นับต้ังแตวันท่ีขายเคร่ืองจักรเกา

2.2) เคร่ืองจักรเกา ท่ีขาย ตองเปนเคร่ืองจักรท่ีไม เคยได รับสิทธิประโยชนทางภาษีมากอน

2.3) เคร่ืองจักรใหมท่ีซ้ือทดแทนจะตองไมเคยใชงานมากอนและเปนเคร่ืองจักรประเภทเดียวกับท่ีขายไป และมีประสิทธิภาพในการผลิตท่ีดีข้ึนเม่ือเทียบกับเคร่ืองจักรเกา

3) การหักคาเส่ือมราคาเคร่ืองจักรได รอยละ 100 ในปแรก โดยเปนประเภทเคร่ืองจักรท่ีใชในการผลิตหรือใหบริการรับจางผลิตสินคาท่ีไดซ้ือมาตั้งแต วันท่ี 1 มกราคม 2555 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2556 และอยูในสภาพพรอมใชงาน ซ่ึงจะใชแทนการทยอยหักคาเส่ือมภายใน 5 ป ท้ังนี้ กลุมเปาหมาย คือ บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลซ่ึงมีทุนท่ีชําระแลวไมเกิน 5 ลานบาทและมีรายไดไมเกิน 30 ลานบาทตอป มีระยะเวลาดําเนินการ ต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2555 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2556 การดําเนินการตามมาตรการนี้มีเง่ือนไข คือ ตองเปนทรัพยสินประเภทเคร่ืองจักรท่ีไดซ้ือมาต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2555 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2556 และไมเคยผานการใชงานมากอน และอยูในสภาพ

Page 29: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

42

พรอมใชงานได ท้ังนี้ หนวยงานท่ีรับผิดชอบดูแลการดําเนินการตามมาตรการนี้ คือ กรมสรรพากร 4) การนําสวนตางของคาแรงท่ีจายเพิ่มข้ึนใน ป 2555 - 2556 จากอัตราคาแรง

ข้ันตํ่าเดิมเปนอัตราคาแรงข้ันตํ่าวันละ 300 บาท มาหักเปนคาใชจายกอนชําระภาษีได 1.5 เทา โดยมาตรการนี้จะนํามาใชกับกลุมผูประกอบการที่เปนบุคคลธรรมดา ซ่ึงมีเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 (5) (6) (7) และ (8) แหงประมวลรัษฎากร รวมกันไมเกิน 30 ลานบาทตอปกอนหักคาใชจาย และคาลดหยอน ท่ีตองเสียภาษีเงินไดตามมาตรา 48 (1) แหงประมวลรัษฎากร

5) การลดคาธรรมเนียมหองพักท่ีเรียกเก็บจากผูประกอบการโรงแรม/ท่ีพักแรม เปนรอยละ 50 จากท่ีเก็บหองละ 80 บาทตอป เปนระยะเวลา 3 ป โดยใหสิทธ์ินี้กับผูไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ท้ังนี้ มาตรการน้ีดูแลรับผิดชอบโดยกระทรวงมหาดไทย

2.3.3.3 มาตรการดานภาษี 1) การลดภาษีเงินไดนิติบุคคล โดยเร่ิมดําเนินการในป 2556 และไมมีกําหนด

ระยะเวลาสิ้นสุดในการดําเนินการ ซ่ึงมาตรการนี้ดูแลรับผิดชอบโดยกรมสรรพากร ท้ังนี้ แนวทางในการดําเนินการคือการปรับฐานภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับ SMEs ท่ีมีเงินไดหลังหักคาใชจายเปนดังนี้

- จํานวนเงินไดหลังหักคาใชจายไมเกิน 300,000 บาทไดรับยกเวนภาษี - จํานวนเงินไดหลังหักคาใชจาย ระหวาง 300,000 - 1,000,000 บาท เก็บ

ภาษีรอยละ 15 - จํานวนเงินไดหลังหักคาใชจาย 1,000,001 บาทข้ึนไป เก็บภาษีรอยละ 20 สําหรับกลุมเปาหมายของมาตรการนี้ คือ บริษัทหรือหางหุนสวนนิติ

บุคคลท่ีมีทุนท่ีชําระแลวไมเกิน 5 ลานบาท และมีรายไดไมเกิน 30 ลานบาทตอป 2) การนําคาใชจายในการฝกอบรมพัฒนาฝมือแรงงานตามพระราชบัญญัติ

สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน พ.ศ. 2545 มาหักลดหยอนภาษีได 2 เทา โดยไมมีกําหนดระยะเวลาในการดําเนินการ ซ่ึงการอบรมแบงเปน 3 ประเภท

2.1) การฝกเตรียมเขาทํางาน โดยตองไดรับความเห็นชอบหลักสูตรจากนายทะเบียน สวนคาใชจายใหนําไปขอยกเวนภาษีกับกรมสรรพากรเอง

2.2) การฝกยกระดับฝมือแรงงาน แบงเปน 2 กรณี คือ - การฝกอบรมภายใน (In House Training) คือ สถานประกอบกิจการ

จัดอบรม เองหรือจางหนวยงานภายนอกมาจัดอบรม ซ่ึงสถานประกอบการตองยื่นขอรับรองหลักสูตรและรายการคาใชจายกับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน แลวจึงนําหนังสือรับรองไปขอยกเวนภาษีเงินไดกับกรมสรรพากร

- การฝกอบรมภายนอก (Public Training) ไมตองยื่นขอรับรองหลัก

Page 30: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

43

สูตรและรายการ คาใชจายจากกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ใหยกเวนภาษีเงินไดตอกรมสรรพากรไดเลย 2.3) การฝกเปล่ียนสาขาอาชีพ ใชขอกําหนดเกี่ยวกับการขอยกเวนภาษี

เชนเดียวกับการฝกยกระดับฝมือแรงงาน ท้ังนี้ มาตรการนี้มีกลุมเปาหมาย คือ บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลทุก

ประเภท 3) การลดอัตราภาษีเงินไดหัก ณ ท่ีจาย เปนการปรับลดอัตราภาษีเงินไดหัก

ณ ท่ีจายใหแกผูประกอบการ SMEs จากรอยละ 3 เปนรอยละ 2 สําหรับการจายเงินไดพึงประเมินซ่ึงเปนคาจางทําของตามมาตรา 40 (7) และ 40 (8) และคาบริการตามมาตรา 40 (8) ท้ังนี้ มาตรการนี้ดูแลรับผิดชอบโดยกรมสรรพากร

2.3.3.4 มาตรการดานสินเช่ือ 1) โครงการสินเช่ือเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement

Loan) มาตรการนี้ดูแลรับผิดชอบโดยธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) ท้ังนี้ สินเช่ือประกอบดวย 2 สวน คือ

1.1) สินเช่ือเพื่อพัฒนาเคร่ืองจักร เปนการชวยเหลือ SMEs ขนาดยอมในภาคการผลิตท่ีประกอบกิจการถูกตองตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เพื่อซ้ือและปรับปรุงเคร่ืองจักร โดยมีระยะเวลาการกูยืมสูงสุดไมเกิน 7 ป

1.2) สินเช่ือเพื่อพัฒนากระบวนการทํางาน เปนการชวยเหลือ SMEs ขนาดยอมในทุกภาคธุรกิจเพื่อการลงทุน ขยาย ปรับปรุง หรือพัฒนาองคการในดานตางๆ เชน บุคลากร/แรงงาน การขนสง (Logistics) การวางแผนงาน (Layout) และการสนับสนุนทางการเงินขององคการ (การบริหาร stock/ refinance) โดยมีระยะเวลาการกูยืมสูงสุดไมเกิน 5 ป

2) โครงการคํ้าประกันสินเช่ือใหแกบริษทั [Portfolio Guarantee Scheme (PGS)] ระยะท่ี 5 ดูแลรับผิดชอบโดยบรรษัทคํ้าประกันสินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) สําหรับโครงการนี้ บสย. จะคํ้าประกันสินเช่ือ SMEs ในกรณีท่ีหลักประกันไมเพียงพอ หรือไมมีหลักประกัน โดย

2.1) ชวยเหลือ SMEs ท่ีไดรับผลกระทบจากการปรับข้ึนอัตราคาแรงข้ันตํ่า ตามนโยบายของรัฐบาล

2.2) ชวยเหลือ SMEs ท่ีมีศักยภาพและตองการสินเช่ือแตขาดหลักประกันใหสามารถเขาถึงสินเช่ือจากสถาบันการเงิน โดยเปนโครงการท่ีตอเนื่องจาก PGS ระยะท่ี 4

2.3) สรางโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจใหแก SMEs โดยชวยให SMEs มีความคลองตัวและชวยเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน พรอมท้ังเตรียมความพรอมสําหรับตลาด AEC ในป 2015 ให SMEs ไทยสามารถไปลงทุนตางประเทศได

ท้ังนี้ กลุมเปาหมายของโครงการนี้ตอง เปน - SMEs ท่ีมีสินทรัพยถาวรไมรวมท่ีดินไมเกิน 200 ลานบาท

Page 31: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

44

- SMEs ประเภทบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลท่ีมีสัญชาติไทย - SMEs ท่ีประกอบกิจการโดยชอบดวยกฎหมาย และตองไมขัดตอ

ศีลธรรมอันดี - SMEs ท่ีไดรับสินเช่ือใหมและจะตองไมนําไปชําระหนี้เดิมกับ

สถาบันการเงินผูใหกู กลุมเปาหมายจะไดรับวงเงินคํ้าประกันรวม 24,000 ลานบาท โดย

จํานวนสูงสุดไมเกิน 40 ลานบาทตอรายตอสถาบัน ซ่ึงสถานประกอบการมีระยะเวลาสงคําขอ 3 ป ต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2556 - 31 ธันวาคม 2558 โดยมีเง่ือนไขการค้ําประกัน คือ

- ระยะเวลาโครงการในแตละ Portfolio มีระยะเวลาคํ้าประกันไมเกิน 7 ป โดยแตละปถือเปน 1 Portfolio

- คาธรรมเนียมการคํ้าประกันรอยละ 1.75 ตอป ของวงเงินคํ้าประกันสินเช่ือ ตลอดอายุคํ้าประกัน 7 ป

3) โครงการค้ําประกันสินเช่ือใหแกบริษัท (Portfolio Guarantee Scheme) สําหรับผูประกอบการใหม (PGS New/Start - up) ดูแลรับผิดชอบโดยบรรษัทคํ้าประกันสินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) โครงการนี้ บสย. จะคํ้าประกันสินเช่ือ SMEs ในกรณีท่ีเปนกิจการใหมไมเกิน 3 ป แตหลักประกันไมเพียงพอ หรือไมมีหลักประกัน โดยมีเปาหมายเพื่อให SMEs รายใหมมีโอกาสเขาถึงแหลงเงินกูจากระบบสถาบันการเงินมากข้ึน ซ่ึงโครงการนี้มีกลุมเปาหมายตองมีคุณสมบัติ คือ ตองเปน

- SMEs ท่ีมีสินทรัพยถาวรไมรวมท่ีดิน ไมเกิน 200 ลานบาท - SMEs ท่ีประกอบกิจการโดยชอบดวยกฎหมาย และตองไมขัดตอ

ศีลธรรมอันดี - SMEs ท่ีประกอบกิจการ และมีอายุกิจการไมเกิน 3 ป โดยใหพิจารณา

จากเอกสารการจดทะเบียนนิติบุคคล หรือการจดทะเบียนการคา หรือเอกสารทางราชการ หรือเอกสารรับรองจากธนาคาร

- SMEs ท่ีผานการฝกอบรมหรืออยูระหวางการฝกอบรมหลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ เชน การจัดการ การตลาด การบัญชี และการผลิต จากกรมสงเสริมอุตสาหกรรม หรือหนวยงานอ่ืนท่ี บสย. เห็นชอบ

ซ่ึงโครงการนี้มีวงเงินรวม 10,000 ลานบาท ซ่ึงวงเงินสูงสุดตอราย คือ 2 ลานบาท ผูประกอบการสามารถสงคําขอไดจนถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2558 โดยมีเง่ือนไขในการค้ําประกัน คือ

- SMEs ตองมีอายุกิจการไมเกิน 3 ป (พิจารณาจากการจดทะเบียนนิติบุคคล หรือการจดทะเบียนการคา หรือเอกสารราชการ หรือเอกสารอื่นใดท่ี บสย. เห็นชอบ)

Page 32: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

45

- ระยะเวลาคํ้าประกัน 7 ป - คาธรรมเนียมคํ้าประกันอยูท่ีรอยละ 2.5 ตอป (รัฐบาลชดเชยคาธรรมเนียม

ให รอยละ 2.5 ในปแรก) 4) สินเช่ือเพื่อสงเสริมการจางงาน เปนทุนหมุนเวียนในกิจการ เสริมสราง

สภาพคลองสถาน ประกอบการ และเพิ่มผลผลิตแรงงาน โครงการนี้รับผิดชอบโดยสํานักงานประกันสังคม โดยเปดโอกาสใหสถานประกอบการท่ีข้ึนทะเบียนกับสํานักงานประกันสังคม สามารถกูเงินกับธนาคารท่ีเขารวมโครงการนําไปเปนทุนหมุนเวียนในกิจการ เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงาน และทําใหผูประกอบการมีศักยภาพท่ีจะเพิ่มรายไดใหแกแรงงาน สําหรับสถานประกอบการท่ีมีปญหา ดานหลักทรัพยคํ้าประกัน บสย. ยินดีท่ีจะสนับสนุนในการคํ้าประกันหลักทรัพยตามหลักเกณฑของ บสย. โดยคิดคาธรรมเนียมจากผูกูตามวงเงินท่ีคํ้าประกัน (อัตราปจจุบันรอยละ 1.75 ตอป) ท้ังนี้ วงเงินกูสําหรับสถานประกอบการ มีรายละเอียด ดังนี้

- จํานวนลูกจาง ไมเกิน 50 คน มีวงเงินกูไมเกิน 2 ลานบาท - จํานวนลูกจาง 51 - 200 คน มีวงเงินกูไมเกิน 4 ลานบาท - จํานวนลูกจางเกินกวา 200 คนข้ึนไป มีวงเงินกูไมเกิน 8 ลานบาท กลุมเปาหมายของโครงการน้ี คือ สถานประกอบการท่ีข้ึนทะเบียน

ประกันสังคมและจายเงินสมทบเขากองทุนประกันสังคมมาแลวไมนอยกวา 3 เดือน และตองรักษาจํานวนผูประกันตนไมนอยกวารอยละ 80 ของจํานวนผูประกันตน ณ วันท่ีไดรับสินเช่ือ ตลอดอายุโครงการ 3 ป ซ่ึงโครงการสนับสนุนวงเงินสินเช่ือรวม 10,000 ลานบาท ผาน 5 ธนาคาร ไดแก ธนาคารอิสลาม แหงประเทศไทย ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารแลนด แอนด เฮาส จํากัด (มหาชน) ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) โดยผูประกอบการสามารถยื่นกูไดต้ังแต 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2556

2.3.3.5 มาตรการดานการเงิน 1) การปรับเพิ่มอัตราคาใชจายในการจัดประชุมสัมมนาของสวนราชการ

โครงการนี้รับผิดชอบโดยกรมบัญชีกลาง ซ่ึงมีกลุมเปาหมาย คือ ผูประกอบการธุรกิจโรงแรม/ทองเท่ียวท่ีจดทะเบียนอยางถูกตองตามกฎหมาย โดยระยะเวลาดําเนินการจะส้ินสุดในวันท่ี 31 ธันวาคม 2556

2.3.3.6 มาตรการดานอ่ืนๆ 1) การจัดคาราวานสินค าราคาถูกไปจํ าหน ายให ลูกจ างในสถาน

ประกอบการ โครงการนี้รับผิดชอบโดยกระทรวงพาณิชย เปนการขยายการดําเนินโครงการสินคาธงฟาใหครอบคลุมและท่ัวถึง โดยในชวงเดือนมกราคม ถึง มีนาคม 2556 จะจัดรถเคล่ือนท่ีนําสินคาราคาประหยัดเขาไปจําหนายในแหลงชุมชนและสถานประกอบการในพ้ืนท่ีกรุงเทพฯ ปริมณฑล และจังหวัด ใกลเคียง สําหรับสวนภูมิภาคไดมีการดําเนินโครงการธงฟาเพื่อบรรเทาความเดือดรอน

Page 33: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

46

ของประชาชนอยางท่ัวถึง และไดดําเนินการตามโครงการโชหวยชวยชาติ “รานถูกใจ” ท่ัวประเทศ ท้ังนี้ เพื่อเปนการเพิ่มทางเลือกในการซ้ือสินคาใหกับผูบริโภคและชวยเหลือ ผูประกอบการรายยอยในพื้นท่ีใหสามารถอยูรอดได โดยโครงการนี้มีระยะเวลาดําเนินการ ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2556 2.4 แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมกับการพัฒนาสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม

ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมเปนธุรกิจท่ีมีการลงทุนในการดําเนินงานไมสูงมากนัก แนวทางการดําเนินธุรกิจสวนมากอยูในรูปของการดําเนินการภายในครอบครัว ซ่ึงมีหัวหนาครอบครัวทําหนาท่ีเปนผูบริหารจัดการ และมีหนาท่ีในการตัดสินใจในการบริหารภายในองคกร ท้ังคน เงิน เคร่ืองจักร และวัสดุ ท้ังนี้ ผูดําเนินการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม โดยท่ัวไปใชหลักการบริหารจัดการเบ้ืองตน เพื่อขับเคลื่อนธุรกิจใหประสบผลสําเร็จ ซ่ึงเปนหลักในการบริหารธุรกิจท่ีนิยมใชกันท่ัวไป อันมีรายละเอียดดังนี้ (ศูนยสงเสริมอาชีวะ, 2555) 2.4.1 ความหมายของการจัดการธุรกิจ คําวา “การจัดการ” โดยท่ัวไปหมายถึง ลักษณะของการปฏิบัติงาน แตคําวา “การบริหาร” โดยท่ัวไปใชในการกําหนดเปาหมายใหพนักงานปฏิบัติตามรวมถึงการบริหารราชการและการบริหารธุรกิจ อยางไรก็ตาม คําท้ังสองไดถูกนํามาใชแทนกันอยูเสมอ โดยท่ีการบริหารจะเนนในเร่ืองการบริหารหรือการจัดการท่ีเกี่ยวกับนโยบายช้ันสูง หรือสวนราชการ สวน “การจัดการ” จะเนนในเร่ืองการจัดหรือดําเนินการตามนโยบายท่ีกําหนดไว หรือใชกับกิจกรรมท่ีประกอบธุรกิจ (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, 2551) ท้ังนี้ การจัดการ หมายถึง การจัดทรัพยากรการบริหารมาใชในการดําเนินการ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีวางไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันประกอบดวยกระบวนการวางแผน การควบคุม การอํานวยการและประสานการทํางานของฝายตางๆ ใหสําเร็จลุลวงไปไดอยางราบร่ืน เพื่อใหธุรกิจบรรลุผลสําเร็จตามแผนงานและโครงการท่ีวางไว (วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, 2551 ; ศูนยสงเสริมอาชีวะ, 2555) ดังนั้น การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม จึงหมายถึง กระบวนการวางแผนการจัดองคการ การบริหารทรัพยากร และการบริหารงานดานตางๆ ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม อันประกอบไปดวยข้ันตอนการนําวัตถุดิบเขาสูขบวนการผลิต จนถึงข้ันตอนสุดทาย กลายเปนผลิตผลจากกระบวนการผลิต และนํามอบแกลูกคา ซ่ึงอาจเปนท้ังในรูปของสินคาหรือบริการก็ได ซ่ึงตองเปนสินคาท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐาน สามารถสรางความประทับใจใหแกลูกคาได (ศูนยสงเสริมอาชีวะ, 2555) 2.4.2 องคประกอบของการจัดการธุรกิจ การจัดการธุรกิจท้ังขนาดยอม ขนาดกลาง และขนาดใหญ มีองคประกอบในการจัดการ

Page 34: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

47

ไมแตกตางกัน ซ่ึงมีดังรายละเอียดตอไปนี้ (ศูนยสงเสริมอาชีวะ, 2555) 2.3.2.1 วัตถุประสงคและเปาหมาย ธุรกิจอุตสาหกรรมแตละแหงไมวาจะเปนการ

ผลิตสินคาหรือบริการจะตองต้ังวัตถุประสงค และเปาหมายในการดําเนินกิจการไวเสมอ อาจเปนผลประกอบการที่คุมคา ความประทับใจของลูกคา เปนตน ไดแกคน เคร่ืองจักร เงินทุน และวัตถุดิบ

2.3.2.2 การจัดองคกร เปนกิจกรรมการจัดรูปแบบและกระบวนการทํางานของบุคลากรภายในองคกรใหมีประสิทธิภาพ ซ่ึงตองประกอบดวย การวางแผน การอํานวยการ และการควบคุมงาน รวมถึงการวางโครงสรางองคกรใหเหมาะสมตอการดําเนินงาน

2.3.2.3 กระบวนการผลิตและปฏิบัติการ เปนข้ันตอนการนําเอาวัตถุดิบเขาสูกระบวนการในการผลิตหรือเปล่ียนรูปเปนสินคาหรือบริการ

2.3.2.4 การตลาด หมายถึง กระบวนการเปล่ียนมือสินคาหรือบริการ จากผูผลิตไปสูผูบริโภค

2.3.2.5 การบัญชีและการเงิน เปนการเก็บบันทึกขอมูลการจัดทํางบประมาณ รายรับ รายจาย ซ่ึงตองลงทุนอยางมีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการเงินทุนใหสามารถหมุนเวียนไดอยางคลองตัว

2.3.2.6 การจัดการวัตถุดิบ เปนการจัดหาวัตถุดิบมาปอนโรงงาน หรือการจัดซ้ือ ตลอดจนควบคุมการจัดซ้ือวัตถุดิบ และการตรวจนับสินคาคงคลังใหสามารถปอนเขาสูกระบวนการผลิตไดอยางตอเนื่อง

2.3.2.7 การบริหารงานบุคคล ทรัพยากรบุคคลเปนทุนท่ีสําคัญขององคกร ธุรกิจทุกขนาดจึงตองจัดสรรหนาท่ีใหแกพนักงาน จัดการฝกอบรม สรางแรงจูงใจและจัดสวัสดิการตางๆ เพื่อทําใหประสิทธิภาพในการบริหารบุคคลสงผลท่ีดีตอความสําเร็จขององคกร

2.3.2.8 การจัดการระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอร ปจจุบันเทคโนโลยีท่ีนํามาใชในการบริหารธุรกิจมีมากมาย ซ่ึงสามารถเอ้ืออํานวยไดต้ังแตกระบวนการจัดซ้ือสินคา กระบวนการผลิต การเก็บขอมูลตางๆ ซ่ึงนับไดวาการนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใช ชวยใหการบริหารงานของธุรกิจมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานดานตางๆ ไดเปนอยางดี

2.3.2.9 การวิจัยและพัฒนา เปนกิจกรรมการเปล่ียนแปลงในทางสรางสรรค เปนการคนควานวัตกรรมใหมๆ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑท่ีมีคุณภาพ และสรางความพึงพอใจใหแกผูบริโภคอยางสรางสรรค 2.4.3 ทรัพยากรการจัดการธุรกิจ การจัดการธุรกิจโดยท่ัวไป เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายท่ีกําหนดไวยอมประกอบไปดวยทรัพยากรในการจัดการธุรกิจ ซ่ึงประกอบดวยทรัพยากร 4 M โดยมีรายละเอียดใน การจัดการดังตอไปนี้ (สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญ่ีปุน), 2551)

2.3.3.1 คน (Man) หรือทรัพยากรบุคคล ซ่ึงมีผลตอความสําเร็จของธุรกิจเปนอยาง

Page 35: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

48

มาก เพราะการดําเนินงานการบริหารหรือจัดการธุรกิจ การสรางสรรคคุณภาพงาน ตลอดจนการควบคุมเคร่ืองจักรในกระบวนการผลิตตางๆ ตองอาศัยคนเปนหลัก องคกรจึงตองใหความสําคัญ และดูแลเหมือนหนึ่งเปนทุนทรัพยท่ีมีคาขององคกร ซ่ึงตองดูแลท้ังดานกายภาพและจิตใจ รวมถึงดูแลคาตอบแทนท่ีเปนธรรมแกบุคลากร

2.3.3.2 วัตถุดิบ (Material) คือ ส่ิงตางๆ ท่ีนํามาใชในกระบวนการผลิต วัตถุดิบควรอยูใกลกับสถานประกอบการ เพื่อความประหยัดในการขนสง และเพ่ือใหม่ันใจวามีวัตถุดิบอยูในปริมาณท่ีเพียงพอสําหรับปอนใหโรงงานตลอดป

2.3.3.3 เงินทุน (Money) เปนปจจัยท่ีสําคัญท่ีชวยสนับสนุนใหไดมาซ่ึงทรัพยากรอ่ืนๆ และชวยใหธุรกิจดําเนินไปอยางราบร่ืน เพราะเปนปจจัยท่ีเกี่ยวของกับปจจัยอ่ืนๆ อยางหลีกเล่ียงไมได ท้ังการจัดซ้ือเคร่ืองจักร การจัดซ้ือเคร่ืองอํานวยความสะดวกในกระบวนการทํางาน อุปกรณสํานักงาน เทคโนโลยี วัตถุดิบในกระบวนการผลิต การจายคาตอบแทนบุคลากร เปนตน

2.3.3.4 การบริหารจัดการ (Management) เปนการบริหารจัดการโดยองครวมขององคกร ซ่ึงมองภาพใหญต้ังแตการวางเปาหมาย กลยุทธแผนงานขององคกร การสรางสมดุลในการบริหารของงานสวนตางๆ

กรณีของการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมนั้น ผูจัดการมักจะเปนเจาของธุรกิจเอง เงินทุนท่ีใชหมุนเวียนก็มีนอย ประกอบกับเปนธุรกิจขนาดเล็ก ฉะนั้นเคร่ืองจักรกลจึงใชไมมากนัก และส่ิงสําคัญท่ีขาดไมไดคือ วัตถุดิบท่ีปอนใหแกโรงงานนั้นจะตองเปนวัตถุดิบท่ีมีคุณภาพ และจัดหาไดงายในบริเวณท่ีประกอบธุรกิจนั้นๆ ของธุรกิจขนาดยอม

การประกอบธุรกิจใดๆ ยอมจะประกอบไปดวยทรัพยากรการจัดการท้ัง 4 ประการดังกลาว รวมถึงธุรกิจนขนาดกลางและขนาดยอมดวย นอกจากนี้ การดําเนินการธุรกิจจะประสบความสําเร็จไดดียิ่งข้ึน ถามีปจจัยเสริมอีก 4 ประการ ดังตอไปนี้

1) การตลาด หมายถึง การผลิตสินคาออกมาไดคุณภาพใกลเคียงกับบริษัทคูแขง ผูประกอบการธุรกิจตองศึกษาความตองการของผูบริโภความีความตองการอยางไร เชน ปริมาณความตองการตอราคาสินคาท่ีขาย การพัฒนาสินคาของบริษัทคูแขง ตลอดจนสวนลดของการซ้ือสินคาในปริมาณมาก เปนตน

2) ระบบการปฏิบัติงาน หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ และวิธีการปฏิบัติงานท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสําหรับการปฏิบัติงาน ซ่ึงผูบริหารและผูจัดการควรจัดรูปแบบ ข้ันตอน และระบบการปฏิบัติงานของงานแตละตําแหนงหนาท่ีอยางชัดเจน เพื่อใหพนักงานปฏิบัติตามกฎระเบียบอันจะกอใหเกิดความปลอดภัยและลดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน รวมถึงเปนการเพ่ิมผลผลิตใหแกองคกรอีกดวย

3) การบริหาร หมายถึง วิธีการจัดการทรัพยากรตางๆ ท้ังคน เคร่ืองจักร วัตถุดิบ ใหมีการประสานงานและความสัมพันธกันอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Page 36: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

49

4) การจูงใจ เปนเทคนิคหนึ่งในการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล เพื่อกระตุนการทํางานและเพ่ิมประสิทธิภาพของงานของบุคลากรใหมากข้ึน ท้ังนี้ การจูงใจมีอยูหลายอยาง เชน การใชตําแหนงเปนส่ิงจูงใจ เงินตอบแทน หรือการยกยองชมเชยตางๆ ซ่ึงการจูงใจจะไดผลมากนอยเพียงใดนั้น ข้ึนอยูกับเทคนิคและประสบการณของผูบริหาร ถาการจูงใจไดผลแลวจะทําใหพนักงานเกิดความมุมานะ และความจงรักภักดีตอองคกร 2.4.4 กระบวนการจัดการธุรกิจขนาดยอม กระบวนการจัดการธุรกิจ หมายถึง การดําเนินการธุรกิจตามข้ันตอนตางๆ ต้ังแตการวางแผนการทําธุรกิจ การจัดองคการ การบริหารพนักงาน การอํานวยการและควบคุม โดยนําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อใหธุรกิจบรรลุความสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายท่ีวางไว กระบวนการจัดการทางธุรกิจขนาดยอมก็ไมแตกตางจากกระบวนการในธุรกิจท่ัวไป ซ่ึงมี 5 ข้ันตอน ดังตอไปนี้

2.4.4.1 ฉัตรทอง ชูลิตรวงศ (2548) เห็นวา ความสําเร็จของธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมมีบันได 4 ข้ัน ไดแก

1) การสํารวจความพรอม การสรางธุรกิจนั้น ผูประกอบการจําเปนตองวิเคราะหตนเองใหชัดเจนในความตองการ ความเชี่ยวชาญและความถนัดของตนเอง ซ่ึงรวมถึงลักษณะของผูประกอบการเองท่ีตองมีความเปนผูนํา มีความอดทน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มีความเปนวินัย และมีความมุงมันตอความสําเร็จ ซ่ึงคุณลักษณะเหลานี้จะชวยใหผูประกอบการสามารถผลักดันตัวเองใหประสบความสําเร็จและแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดเปนอยางดี นอกจากนั้น ผูประกอบการเองยังตองมีความรับผิดชอบตองาน ตอพนักงาน ตอผูท่ีเกี่ยวของตางๆ รวมถึงมีทรัพยากรสําหรับการบริหารจัดการ นั่นคือ เงินทุน ถือเปนปจจัยท่ีสําคัญในการดําเนินการตางๆ

2) การมองหาความเหมาะสม การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมอาจมีความยุงยากในสวนท่ีมีขนาดเล็ก จึงมีความบอบบางและเส่ียงท่ีจะขาดทุนไดงาย ผูประกอบการจึงควรมองหาชองทางท่ีสามารถเพ่ิมโอกาสในการลงทุนใหตนเองมากข้ึน โดยพิจารณาจากความเช่ียวชาญของตนเองเปนหลัก

3) การกําหนดแนวคิดธุรกิจ เปนการทําความเขาใจในธุรกิจของตนใหชัดเจนถึงทิศทางการลงทุน และตองสามารถจัดองคประกอบตางๆ ของธุรกิจนั้นไดเปนอยางดีวาจะขายอะไร ขายใหลูกคาแบบไหน กลุมลูกคามีกี่กลุม แตละกลุมมีความตองการอะไรบาง มีทําเลที่ต้ังเปนอยางไร เหมาะกับการขายสินคาในลักษณะใด และควรเปดขายในเวลาใด เชน ชวงกลางวันหรือชวงเย็นจนถึงกลางคืน เปนตน

4) การเขียนแผนธุรกิจ เปนข้ันตอนการนําแผนการทั้งหมดมาทําใหเปนรูปเปนราง ซ่ึงแผนธุรกิจโดยท่ัวไปประกอบดวย

Page 37: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

50

- วัตถุประสงคในการจัดทํา - รายละเอียดกิจการ - วิเคราะหภาวะอุตสาหกรรม - วิเคราะหจุดแข็งจุดออนของกิจการ - รายละเอียดสินคาและบริการ - แผนการตลาด - แผนการดําเนินกิจการ - แผนงานดานการเงิน

2.4.4.2 ทีมงานไทยเอสเอ็มอีแฟรนไชส (2553) กลาววา กระบวนการการจัดการทางธุรกิจขนาดยอมประกอบดวยองคประกอบ ดังนี้

1) การวางแผน หมายถึง การประเมินสถานการณท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคตอยางมีหลักเกณฑ และดําเนินการตามแผนท่ีวางไว โดยการนําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด การวางแผนท่ีดีหลังจากดําเนินการเสร็จแลวจะตองมีการวัดผลและประเมินผล เพื่อหาปญหาและอุปสรรคตางๆ มาแกไขตอไป

2) การจัดองคกร หมายถึง การจัดวางบุคลากรในตําแหนงตางๆ เพื่อใหทุกคนชวยกันขับเคล่ือนองคกร สําหรับสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม อาจไมจําเปนตองจัดวางตําแหนงใหซับซอนมากนัก เนื่องจากเปนองคกรท่ีเล็กมีงบประมาณในการจัดจางบุคลากรไมมาก บุคลากรหนึ่งคนจึงอาจดูแลหนาท่ีหลายอยางพรอมกัน

3) การบริหารพนักงาน สําหรับการบริหารองคกรหรือธุรกิจทุกขนาด จําเปนอยางมากท่ีตองกําหนดกระบวนการจัดการพนักงานข้ึนมา เพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางเหมาะสม ซ่ึงมีต้ังแตกระบวนการคัดเลือกคนเขาทํางาน การวางสายงาน การวางแผนการเติบโตของพนักงาน การกําหนดคาตอบแทนและสวัสดิการตางๆ แกพนักงาน เปนตน ท้ังนี้ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมมักมีกระบวนการเหลานี้ไมซับซอนเทาธุรกิจขนาดใหญ เนื่องจากมีจํานวนคนนอยนั่นเอง

4) การอํานวยการ หมายถึง การดูแลบริหารจัดการองคกรของผูบริหาร ท่ีเอ้ืออํานวยตอการทํางานของบุคลากรในองคกร ซ่ึงสวนมากแลวผูประกอบการจะเปนผูดูแลงานในระดับบน และมีผูชวยดูแลพนักงานในระดับปฏิบัติการ แตสําหรับธุรกิจขนาดยอมและขนาดกลาง เจาของสถานประกอบการอาจเปนผูดูแลและอํานวยการในทุกกระบวนการของท้ังองคกร

5) การควบคุมงาน หมายถึง กระบวนการดูแลการปฏิบัติงานใหสําเร็จลุลวงตามเปาหมาย ท้ังนี้ สําหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมเปนธุรกิจท่ีไมมีความซับซอนมากนัก การควบคุมงานจึงไมมีข้ันตอนมากมาย ซ่ึงสวนมากเปนการควบคุมโดยใชสายตาและเปรียบเทียบกับปริมาณงานท่ีทําไดในแตละวัน โดยเปรียบเทียบกับพนักงานคนอ่ืนท่ีไดรับมอบงานเหมือนๆ กัน ไม

Page 38: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

51

ตองใชเทคนิคและวิธีการในการตรวจสอบมากนัก 2.4.4.3 ธนาคารกรุงเทพ (2553, หนา 16 - 17) ไดเสนอวาการจะทําธุรกิจใหประสบ

ความสําเร็จตองเปล่ียนแปลงวิธีคิดและวิธีกาทํางาน เพื่อใหเขากับส่ิงแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไป โดยส่ิงท่ีผูประกอบการตองเผชิญในกระบวนการการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีดังนี้

1) การแขงขัน เปนส่ิงท่ีผูประกอบการไมอาจหลีกเล่ียงไดเลย ไมวาจะเปนธุรกิจใดหรือขนาดใดลวนมีคูแขงเสมอ แตการแขงขันผูประกอบการจําเปนตองรูกติกาการแขงขัน เชน การไมละเมิดสิทธ์ิทางการคา เปนตน ซ่ึงจะทําใหผูประกอบการสามารถแขงขันอยูในตลาดไดอยางยาวนาน

2) การเปล่ียนแปลงของผูบริโภคหรือลูกคา ลูกคาเปนปจจัยท่ีสําคัญในการดําเนินธุรกิจใหประสบความสําเร็จ ความตองการของลูกคาจึงเปนส่ิงท่ีสําคัญอยางมากตอการดําเนินธุรกิจ ดังนั้น ผูประกอบการจําเปนตองรูความตองการของลูกคา ซ่ึงอาจเปล่ียนปลงไปในทิศทางตางๆ หลายทิศทาง ผูประกอบการตองสํารวจอยูเสมอๆ เพื่อนําไปปรับปรุงสินคาและบริการของตน

ท้ังนี้ เพื่อใหการดําเนินการสอดคลองกัน ผูประกอบการตองทําธุรกิจอยางโปรงใส มีความเปดเผยตรงไปตรงมากับลูกคา ไมปดบังขอมูลท่ีลูกคาควรทราบกอนตัดสินใจซ้ือสินคาหรือบริการ นอกจากนี้ ผูประกอบการตองหม่ันปรับปรุงคุณภาพสินคาอยูเสมอ รวมถึงเพิ่มมูลคาใหกับสินคาอยางตอเนื่อง รวมถึงหม่ันสังเกตความตองการลูกคาและตองรูใจลูกคาท่ีมารับบริการ อีกท้ังตองสรางนวัตกรรมใหมๆ ใหกับสินคาและบริการดวย 2.4.5 ประโยชนของการจัดการทางธุรกิจ การจัดการทางธุรกิจกอใหเกิดประโยชนตอองคกร ดังนี้ (ศูนยสงเสริมอาชีวะ, 2555 ; ทีมงานไทยเอสเอ็มอีแฟรนไชส, 2553)

2.3.5.1 ชวยใหผูประกอบการสามารถศึกษาวิเคราะห ตรวจสอบ และคาดคะเนเหตุการณตางๆ ในธุรกิจท่ีกําลังดําเนินการได

2.3.5.2 ชวยใหผูประกอบการสามารถพัฒนาสินคาหรือบริการท้ังดานคุณภาพ ปริมาณ และความทันสมัยไดโดยใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย

2.3.5.3 ชวยประสานการทํางานของฝายตางๆ ในองคการธุรกิจใหสามารถดําเนินการไดอยางราบร่ืน ประสบผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีกําหนดไว

การจัดการธุรกิจเปนส่ิงท่ีสําคัญตอผูประกอบการธุรกิจทุกขนาด ซ่ึงยิ่งธุรกิจมีขนาดใหญมากข้ึนเทาไหร ระบบการบริหารจัดการยิ่ ง ซับซอนมากข้ึน ผูบ ริหารหรือผูประกอบการจึงตองมีความรอบคอบในการบริหารจัดการ โดยอาศัยแนวคิดและเคร่ืองมือตางๆ ดังขางตนเขามาชวยขับเคล่ือนธุรกิจ ในขณะเดียวกันก็ตองอาศัยแนวคิดในการบริหารจัดการองคกรควบคูกันไปดวย ซ่ึงจะกลาวถึงในสวนตอไป

Page 39: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

52

2.5 แนวคิดการบริหารจัดการสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมในปจจุบัน

2.5.1 ความหมายของการบริหารจัดการ นักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของการบริหารจัดการไวดังนี้

2.5.1.1 Samuel C. Certo (2009, p.6) เห็นวาการบริหารจัดการ มีลักษณะสําคัญ 3 ประการ ไดแก

1) เปนกระบวนการหน่ึงหรือหลายกระบวนการของกิจกรรมในองคกรท่ีเกี่ยวของกันอยางตอเนื่อง

2) หมายรวมถึงการบรรลุเปาหมายขององคการ 3) การบริหารจัดการสามารถประสบความสําเร็จไดดวยการทํางานรวมกัน

ของบุคลากร และโดยการจัดการทรัพยากรอื่นๆ ขององคกร 2.5.1.2 Daniel D. Stuhlman (2008) ใหความหมายของการบริการจัดการ (Management)

ไววา เปนกระบวนการดานการจัดการขององคกร ซ่ึงรวมถึงการวางแผนเชิงยุทธศาสตร การต้ังเปาหมาย การจัดการทรัพยากร การบริหารทรัพยากรมนุษย และการบริหารเงินใหบรรลุเปาหมายท่ีต้ังไว ตลอดจนมีการประเมินผลการการจัดการนั้น นอกจากนี้ การบริหารจัดการยังรวมถึงการบันทึกและการจัดเก็บขอมูลไวใชในอนาคตดวย โดยหนาท่ีในการจัดการเหลานี้ไมไดจํากัดอยูเฉพาะระดับหัวหนางานหรือระดับผูบริหารเทานั้น แตยังรวมถึงสมาชิกทุกคนในองคกร ทุกคนลวนเปนสวนหนึ่งท่ีมีบทบาทในการบริหารจดัการองคกร

2.5.1.3 John Kotter (2013) ใหนิยามการบริหารจัดการไววา หมายถึง ชุดของกระบวนการท่ีเปนท่ีรูจักกันดี เชน การวางแผน การจัดการงบประมาณ การวางโครงสรางงาน การจัดสรรหนาท่ีแกพนักงาน การวัดผลงาน และการแกปญหาตางๆ ซ่ึงลวนชวยใหองคกรสามารถคาดการณเพื่อดําเนินการตางๆ ไดเปนอยางดี การบริหารจัดการยังชวยใหผูประกอบการสามารถผลิตสินคาและบริการไดตามที่ตกลงกับลูกคาไวในแตละวันหรือแตละสัปดาหได ท้ังตามปริมาณและงบประมาณ สําหรับองคกรท่ีมีขนาดแตกตางกันออกไป แมวาการบริหารจัดการเปนหนาท่ีท่ียุงยาก แตก็นับวามีความสําคัญ

2.5.1.4 ศิริวรรณ เสรีรัตนและคณะ (2542) ไดรวบรวม ความหมายของคําวา “การบริหารจัดการ” และ “การจัดการ” ไดดังนี้ คําวา “การบริหาร” จะใชในการบริหารระดับสูง โดยเนนท่ีการกําหนดนโยบายท่ีสําคัญและการกําหนดแผนของผูบริหารระดับสูง เปนคํานิยมใชในการบริหารรัฐกิจหรือใชในหนวยงานราชการ และคําวา “ผูบริหาร” จะหมายถึง ผูบริหารที่ทํางานอยูในองคกรของรัฐ หรือองคกรท่ีไมมุงหวังกําไร สวนการบริหาร คือกลุมของกิจกรรม ประกอบดวย การวางแผน การจัดองคกร การส่ังการ หรือการอํานวยการ และการควบคุม ซ่ึงจะมีความสัมพันธโดยตรงกับทรัพยากรขององคกร (6 M’s) เพื่อนําไปใชใหเกิดประโยชนและดวยจุดมุงหมายสําคัญ

Page 40: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

53

ในการบรรลุความสําเร็จตามเปาหมายขององคกรอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลครบถวน

2.5.1.5 วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2551) กลาววา การบริหารจัดการ การบริหารการพัฒนา แมกระท่ังการบริหารการบริการ แตละคํามีความหมายคลายคลึงหรือใกลเคียงกัน ท่ีเห็นไดอยางชัดเจนมีอยางนอย 3 สวน คือสวนท่ีหนึ่ง ลวนเปนแนวทางหรือวิธีการบริหารงานภาครัฐท่ีหนวยงานของรัฐและ /หรือเจาหนาท่ีของรัฐ นํามาใชในการปฏิบัติราชการ เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการ

2.5.1.6 ไพบูลย ชางเรียน (2532, หนา 17) ใหความหมายการบริหารจัดการวา หมายถึง ระบบท่ีประกอบไปดวยกระบวนการในการนําทรัพยากรทางการบริหาร ท้ังทางวัตถุ และคนมาดําเนินการ เพื่อบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สวนท่ีสอง มีกระบวนการบริหารงานท่ีประกอบดวย 3 ข้ันตอน คือ การคิด หรือการวางแผน การดําเนินงาน และการประเมินผล

สวนท่ีสาม มีจุดหมายปลายทาง คือ การพัฒนาประเทศไปในทิศทางท่ีทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน รวมทั้งประเทศชาติมีความเจริญกาวหนาและม่ันคงเพิ่มข้ึน สวนท่ีแตกตางกัน คือแตละคํามีจุดเนนตางกัน กลาวคือ การบริหารจัดการเนนเร่ืองการนําแนวคิดการจัดการของภาคเอกชนเขามาใชในการบริหารราชการ เชน การมุงหวังผลกําไร การแขงขัน ความรวดเร็ว การตลาด การประชาสัมพันธ การจูงใจดวยคาตอบแทน การลดข้ันตอน และการลดพิธีการ เปนตน ในขณะท่ีการบริหารการพัฒนาใหความสําคัญเร่ืองการบริหารรวมท้ังการพัฒนานโยบาย (policy) แผน (plan) แผนงาน (program) โครงการ (project) หรือกิจกรรมของหนวยงานของรัฐ สวนการบริหารการบริการเนนเร่ืองการอํานวยความสะดวกและการใหบริการแกประชาชน

2.5.1.7 สันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทย (ม.ป.ป.) ใหความหมายของการบริหารธุรกิจไววา หมายถึง ศิลปะในการจัดการใหบุคลากรในองคกรสามารถทํางานใหบรรลุเปาหมายท่ีไดต้ังไว

2.5.1.8 ติน ปรัชญพฤทธ์ิ (2535) กลาววา การบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการนําเอาการตัดสินใจ และนํานโยบายไปปฏิบัติ สวนการบริหารรัฐกิจนั้นหมายถึงเกี่ยวของกับการนําเอานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

จากการศึกษาความหมายในการบริหารจัดการของนักวิชาการหลายทานดังขางตน สามารถสรุปไดวา การบริหารจัดการ หมายถึง ระบบท่ีใชในการดําเนินการขององคกร ซ่ึงเปนการนําเอาท้ังทรัพยากร คนและวัตถุส่ิงของมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดและบรรลุตามเปาหมายขององคกร ซ่ึงการบริหารมีลักษณะเปนกระบวนการ ไดแก กระบวนการคิด การวางแผน การจัดองคกร การบริหารงานบุคคล การอํานวยการ การบังคับการ การรายงาน การงบประมาณ การประสานงาน การควบคุมงาน การตัดสินใจ และนโยบาย

สําหรับในธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมซ่ึงเปนธุรกิจท่ีมีการลงทุนนอย ยอดขาย

Page 41: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

54

นอย เปนกิจการสวนตัวหรือของครอบครัว ทําใหการบริหารจัดการมีความสะดวกและมีความคลองตัว ท้ังในกระบวนการคิด การวางแผน การจัดการองคกร การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ การควบคุมงาน การตัดสินใจ และนโยบาย ซ่ึงจะมีความซับซอนนอยกวาในธุรกิจขนาดใหญ สามารถส่ือสารถึงกันไดงายกวาในธุรกิจขนาดใหญ แตธุรกิจขนาดยอมมีขอจํากัดในเร่ืองงบประมาณในการลงทุน ถาหากตนทุนการผลิตสูงข้ึนยอมสงผลใหมีความเส่ียงในทางการบริหารจัดการเพิ่มข้ึน (ศูนยสงเสริมอาชีวะ, 2555 ; ทีมงานไทยเอสเอ็มอีแฟรนไชส, 2553) 2.5.2 แนวโนนของการบริหารจัดการของสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม การบริหารจัดการของสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมตองมีการพิจารณาบริบทท่ีเปล่ียนแปลงไป ท้ังบริบทภายในประเทศและบริบทตางประเทศ ซ่ึงสุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล (2557) ไดกลาววา การดําเนินธุรกิจ SMEs จําเปนตองพิจารณาปจจัยตางๆ ท่ีจะกระทบตอธุรกิจ SMEs ดังตอไปนี้

1) แนวโนมของการใชชีวิตแบบคนเมือง (Urbanization) บริบทท้ังในระดับนานาชาติและในไทยมีแนวโนมของการขยายชุมชนเมือง หรือมีแนวโนมท่ีคนจะอาศัยอยูในเมืองมากข้ึน หรือมีวิถีชีวิตท่ีเรงรีบแบบคนในเมือง มีการพัฒนาชนบทใหกลายเปนเมืองอุตสาหกรรม เปนศูนยกลางการคาและแหลงทองเท่ียว การบริหารจัดการของธุรกิจ SMEs จึงตองหาชองทางท่ีสามารถขยายธุรกิจของตนเองได โดยการประกอบธุรกิจดานท่ีพักอาศัย หรือประกอบธุรกิจท่ีอยูในศูนยกลางเศรษฐกิจของชุมชน หรือสถานท่ีท่ีกําลังพัฒนาเปนแหลงทองเท่ียว

2) แนวโนมเศรษฐกิจสีเขียว (Greening Economy) ดวยสภาวะท่ีท่ัวโลกตกอยูในภาวะโลกรอน ทรัพยากรพลังงานกําลังรอยหรอ ทําใหประขาชนและภาคสวนตางๆ ท่ัวโลกหันมาใสใจกับการใชวิถีชีวิตท่ีอนุรักษพลังงานและการลดภาวะโลกรอนมากขึ้น การบริหารจัดการของธุรกิจ SMEs จึงตองหันมาใหความสําคัญกับการบริหารจัดการธุรกิจท่ีใสใจส่ิงแวดลอมและอนุรักษพลังงานมากข้ึน หรือหันมาทําธุรกิจท่ีเกี่ยวกับพลังงานทางเลือก หรืออุปกรณเสริมเกี่ยวกับการใชพลังงานทางเลือกหรือการลดโลกรอน

3) แนวโนมการเขาสูสังคมอายุ (Aging Society) สังคมผูสูงอายุเปนสังคมท่ีมีวัยสูงอายุจํานวนมากข้ึน ทําใหคนในวัยทํางานรับภาระในการทํางานหรือการจายภาษีเพื่อดูแลผูสูงอายุมากข้ึน ดังนั้นการดําเนินกิจการของธุรกิจ SMEs จึงตองหันมาพิจารณาการดําเนินธุรกิจใหสอดคลองกับแนวโนมนี้ หรือธุรกิจท่ีเกี่ยวกับการดูแลผูสูงอายุ การประกันสุขภาพตางๆ เปนตน

4) แนวโนมพลังขับเคล่ือนเศรษฐกิจดวยผูหญิง (She - economy) ในปจจุบันผูหญิงมีบทบาทในการทํางานนอกบานมากข้ึน รวมถึงตําแหนงในระดับผูบริหารก็มีมากข้ึนดวย นอกจากนี้ ผูหญิงยังมีอํานาจในการควบคุมการใชจายในครอบครัว ดังนั้น การบริหารจัดการธุรกิจของ SMEs จึงตองคํานึงถึงการดําเนินธุรกิจท่ีจะดึงดูดใจสาววัยทํางาน เชน แฟช่ันเคร่ืองแตงกายของสาวทํางาน สินคาตกแตงบานหรือสุขภาพท่ีจูงใจแมบานท่ีจะเลือกสําหรับคนในครอบครัว เปนตน

Page 42: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

55

5) แนวโนมการเติบโตของธุรกิจขนสงความเร็วสูงและโลจิสติกส (Hi - speed & Coverage Logistics) ตามที่รัฐมีนโยบายขยายโครงขายระบบคมนาคมขนสง เพื่อเตรียมรับกับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซ่ึงมีการพัฒนาระบบตั้งแตตนน้ําถึงปลายนํ้า เจาของธุรกิจ SMEs จึงควรหาชองทางการดําเนินธุรกิจท่ีเขาเกี่ยวของกับหวงโซอุปทานดังกลาว รวมท้ังหาชองทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการกระจายสินคาของบริษัทตน

6) แนวโนมชีวิตในยุคดิจิตอล (Digital Lifestyle) ปจจุบันการส่ือสารผานระบบอินเทอรเน็ตหรือโชเช่ียวเน็ตเวิรคกําลังเปนท่ีนิยมอยางมาก โดยเฉพาะ Facebook และ Instagram โดยสถิติการลงทะเบียนใช Facebook มีมากถึง 24 ลานคน ซ่ึงวัยท่ีมีสถิติการใชมากท่ีสุด คือ คนท่ีมีชวงอายุ 18 - 24 ป รองลงมาเปนกลุมคนวัยทํางาน อายุ 25 - 34 ป และ 13 - 17 ป ดวยสถิติการใชจํานวนมากเชนนี้ เปนโอกาสดีสําหรับธุรกิจ SMEs ท่ีสามารถใชชองทางนี้ในการโฆษณาสินคาของตนเอง โดยคํานึงถึงกลุมเปาหมายดังกลาวดวย

กลาวโดยสรุป อาจกลาวไดวาการบริหารจัดการหรือการดําเนินกิจการของธุรกิจ SMEs ตองคํานึงถึงบริบทท่ีเปล่ียนแปลงไป ท้ังบริบทภายในและภายนอกประเทศ และใชบริบทเหลานี้ใหเปนโอกาสในการดําเนินธุรกิจ รวมทั้งปรับเปล่ียน ปรับปรุง และพัฒนาธุรกิจของตนเองใหสอดคลองกับกระแสดังกลาว 2.5.3 การบริหารจัดการสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมใหอยูรอด ธุรกิจ SMEs เปนธุรกิจท่ีมีขนาดเล็ก ทุนประกอบการไมมาก จํานวนพนักงานมีนอย การบริหารจัดการจึงตองระมัดระวังมากกวาธุรกิจขนาดใหญ โดยเฉพาะเร่ืองทุนประกอบการ ท้ังนี้ ทีมงานไทยเอสเอ็มอีแฟรนไชส (2556) ไดอธิบายถึงแนวทางในการบริหารจัดการธุรกิจ SMEs ใหอยูรอด ดังตอไปนี้

1) การลงมือทํา เม่ือเจาของธุรกิจ SMEs มีความรู ตองนํามาลงมือปฏิบัติใหเกิดข้ึนจริง ท้ังในการแกปญหาและการดําเนินกิจการ นอกจากนี้ เจาของธุรกิจตองรูจักแสวงหาหรือสรางสายสัมพันธกับคนท่ีมีความรู เพื่อนําความรูหรือชักจูงคนท่ีมีความรูนั้นมาพัฒนาธุรกิจของตนเอง ซ่ึงจะเห็นไดวาเจาของธุรกิจรานอาหารบางแหง อาจทําอาหารไมเปนเลย แตสามารถเปนเจาของรานอาหารได นั่นหมายถึงเขาสามารถเสาะหาหรือสรางสายสัมพันธกับคนท่ีมีความรูความสามารถดานการทําอาหารมาชวยสนับสนุนงานได

2) การมองการณไกล การเร่ิมตนธุรกิจ SMEs ถึงแมจะเร่ิมตนจากขนาดเล็ก แตเจาของธุรกิจตองมีวิสัยทัศนท่ีมองการณไกล มีเปาหมายท่ียิ่งใหญ คอยๆ พัฒนาและปรับสํานักงานใหธุรกิจเติบโต นาอยู นาทํางาน และดูดี เพื่อชวยสรางบรรยากาศการทํางาน และรักษาพนักงานใหอยูบริษัทและเติบโตไปพรอมกัน

3) การจางคนเกง การทําธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมอาจตองประหยัดในดานตางๆ แตส่ิงหนึ่งท่ีไมควรประหยัด คือ เร่ืองการจางคนเกง ซ่ึงถาหากตองการใหคุมคาตอบแทน

Page 43: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

56

ตองจางคนท่ีสามารถแนะนําเจาของกิจการในเร่ืองท่ีเขาไมรูได และใชความรูความสามารถของเขาใหเปนประโยชน ใหสามารถเพิ่มมูลคาใหแกองคกรได พรอมกับใหคําม่ันสัญญาในการเติบของพวกเขาไปพรอมๆ กับธุรกิจ ใหพวกเขาไดแสดงความสามารถในส่ิงท่ีพวกเขาถนัด และทําใหพวกเขารูสึกภูมิใจและรูสึกเปนสวนหนึ่งในความสําเร็จขององคกร

4) การประหยัด พยายามใชเงินหรืองบประมาณเทาท่ีจําเปนและเหมาะสม วัสดุส่ิงของอาจไมจําเปนตองดีท่ีสุด เอาแคดูดีและเหมาะสม แตสําหรับพนักงานและลูกคาไมควรประหยัดจนเกินไป ตองใหส่ิงตอบแทนท่ีคุมคาแกพวกเขา

5) การรักษาชื่อเสียง เปนส่ิงท่ีมีความสําคัญอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งกับธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม เพราะจะสามารถดึงลูกคาใหกลับมาใชบริการและดึงลูกคาใหมเขามาไดมากข้ึนเร่ือยๆ เปนการสรางฐานช่ือเสียงท่ีดี การรักษาชื่อเสียงสามารถทําไดดวยการใหบริการท่ีประทับใจลูกคา การมีบริการเสริมหรือบริการพิเศษ แตเปนบริการท่ีไมสรางภาระทบใหแกธุรกิจเกินไป เชน รานอาหาร อาจมีบริการน้ําชาหรือน้ําใบเตยบริการฟรี ซ่ึงจะสามารถดึงดูดลูกคาไดดีกวารานท่ีคิดบริการคาน้ําเปลา เปนตน

การบริหารจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมใหมีความม่ันคงเปนเร่ืองท่ีคอนขางยากกวาธุรกิจขนาดใหญ เนื่องจากมีขอจํากัดเร่ืองงบประมาณ แตถาหากผูประกอบการ SMEs ลงมือปฏิบัติตามวิสัยทัศนท่ีกวางไกล อีกท้ังมีพนักงานท่ีดีมีประสิทธิภาพ ดําเนินกิจการดวยความรอบคอบ ระมัดระวังเร่ืองคาใชจาย พรอมท้ังใหบริการท่ีประทับใจเพื่อรักษาลูกคา ก็ยอมทําใหสามารถดําเนินกิจการตอไปอยางม่ันคง และคอยๆ เติบโตข้ึนได 2.5.4 ความหมายของผูประกอบการ (Entrepreneur) นักวิชาการหลายทานท้ังไทยและตางประเทศไดใหความหมายของผูประกอบการ (Entrepreneur) ไวในมุมมองท่ีหลากหลาย ดังตอไปนี้

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542) ใหความหมายของผูประกอบการ วาหมายถึง บุคคลซ่ึงขายสินคาหรือใหบริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพไมวาการกระทําดังกลาวจะไดรับประโยชน หรือไดรับคาตอบแทนหรือไม และไมวาจะไดจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มแลวหรือไม

ผุสดี รุมาคม (2540) ไดกลาวถึงความหมายของผูประกอบการ (Entrepreneur) ในเชิงเศรษฐศาสตรวา เปนบุคคลท่ีมีความสําคัญในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เปนบุคคลที่คนพบความคิดและโอกาสทางธุรกิจใหมๆ เปนผูท่ีรวบรวมเงินทุนเพื่อจัดต้ังธุรกิจ จัดระเบียบภายในธุรกิจ และบริหารการดําเนินงานของธุรกิจเพื่อจัดสินคาและบริการใหแกสาธารณชน

พจนานุกรมภาษาอังกฤษของออกฟอรด (Oxford Dictionary, 1998) ไดใหความหมายของผูประกอบการ (Entrepreneur) วา คือผูซ่ึงพยายามสรางผลกําไรจากความรู และความคิดริเร่ิมดวยตนเอง

Page 44: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

57

Justin G. Longenecker and et.al (2006) ไดใหความหมายของคําวาผูประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง บุคคลท่ีคนพบความตองการทางการตลาด และเขาไปดําเนินธุรกิจเพื่อตอบสนองความตองการในดานตางๆ ดังกลาว เชน รายได ความมั่นคง ความทาทายและการไดรับการยอมรับจากสังคม โดยอาศัยการบริหารจัดการความเส่ียง ซ่ึงมีความเปล่ียนแปลงทางนวัตกรรม และความเปล่ียนแปลงดานเศรษฐกิจ

Klaus E. Meyer (2004) กลาววา ผูประกอบการเปนบุคคลท่ีบูรณาการพลังท้ังหลายเพื่อสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดวยการพัฒนาองคความรูใหมๆ โดยผสมผสานศักยภาพของตนเองกับความรูและประสบการณท่ีมีอยู เพื่อผลักดันใหธุรกิจประสบความสําเร็จจนกลายเปนผูนําทางการตลาดในท่ีสุด

Jerry Moorman and James Halloran (2006) กลาววา ผูประกอบการ คือ ผูท่ีมีวิสัยทัศนและแรงบันดาลใจท่ีหลากหลายในการดําเนินการใหบรรลุเปาหมาย โดยมีสัญชาติญาณในการคาดการณทางธุรกิจอยูในตนเอง

Philip A Wickham (2006) กลาววา ผูประกอบการหมายถึง ผูท่ีดําเนินชีวิตภายใตภาระหนาท่ีทางสังคม

จากนิยามตางๆ ขางตน อาจสามารถสรุปไดวา ผูประกอบการ หมายถึง ผู ท่ีมีวิสัยทัศน มีแรงบันดาลใจในการดําเนินธุรกิจ และคนพบความตองการทางการตลาด ตลอดจนเปนผูท่ีสามารถใชศักยภาพของตนเอง บูรณาการความรู และประสบการณในอดีต เพื่อผลักดันใหธุรกิจประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่ีวางไว โดยรวบรวมเงินทุนเพื่อจัดต้ังธุรกิจ จัดระเบียบธุรกิจ และบริหารจัดการหรือดําเนินธุรกิจเพื่อจัดสินคาและบริการใหแกตลาดหรือลูกคา 2.5.5 บุคลิกภาพและลักษณะของผูประกอบการ บุคลิกภาพและลักษณะเปนส่ิงจําเพาะของแตละคน เปนส่ิงท่ีทําใหสามารถอาน หรือ คาดคะเนการกระทํา ของแตละบุคคลในการท่ีจะกระทําพฤติกรรมหากตกอยูในสถานการณใดสถานการณหนึ่ง การเลือกประกอบอาชีพถือเปนการแสดงออกอยางหนึ่งของบุคลิกภาพเชนเดียวกัน นั่นคือการท่ีบุคคลไดประกอบอาชีพตามท่ีตนเองถนัดและสอดคลองกับบุคลิกภาพ ยอมทําใหบุคคลมีความสุขในการประกอบอาชีพอันจะสงผลใหเกิดความสําเร็จในการประกอบอาชีพนั้นๆ สําหรับบุคลิกภาพของผูประกอบการมีนักวิชาการกลาวดังนี้

2.4.5.1 Steve Parks (2006) กลาววาบุคลิกท่ีสงเสริมใหผูประกอบการประสบความสําเร็จประกอบดวยบุคลิก 6 ดาน ดังนี้

1) ทัศนคติ (Attitudes) ในท่ีนี้ไมไดหมายถึง การคิดบวก แตหมายถึง การมีชุดความคิดท่ีถูกตอง ท่ีสามารถช้ีนําใหผูประกอบการสามารถตัดสินใจในการดําเนินธุรกิจเปนอยางดี แมกระท่ังในชวงเวลาท่ียากลําบาก ซ่ึงทัศนคตินี้ชวยสรางความแตกตางระหวางคนท่ีลมเหลวกับคนท่ีประสบความสําเร็จ โดยทัศนคติท่ีทําใหผูประกอบการประสบความสําเร็จ คือ

Page 45: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

58

1.1) มีความรับผิดชอบ (Responsible) คือ ความรับผิดชอบตอส่ิงท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันและในธุรกิจของผูประกอบการ ผู ประกอบการตองลงมือทําอะไรสักอยางเกี่ยวกับเร่ืองหรือเหตุการณนั้นๆ หรือทําส่ิงท่ีไมมีให เกิดข้ึน และถาหากวิธีแรกไมไดผล ผูประกอบการนั้นยอมไมยอมแพและไมโยนความผิดใหคนอ่ืนหรือส่ิงอ่ืน เชน ถาผลกําไรตกตํ่า จะไมโทษวาเนื่องจากอากาศรอนเกินไป อากาศเย็นเกินไป แตตองยอมรับวาตนเองบริหารคนไมดีพอและจัดทรัพยากรใหพวกเขาไมเพียงพอ เปนตน

1.2) มีหลักการ (Principles) คือ การอุทิศตนเพ่ือทําในส่ิงท่ีเช่ือวาถูกตอง สามารถแยกแยะส่ิงท่ีถูกตองและไมถูกตอง เลือกทําในส่ิงท่ีถูกตอง และซ่ือสัตยตอพนักงานท่ีชวยผูประกอบการสรางธุรกิจจากท่ีไมมีอะไร

1.3) เปดกวาง (Open) ผูประกอบการที่ดีจะเปดรับคนและความคิดใหมๆ โดยการแลกเปล่ียนและการติดตอส่ือสาร ซ่ึงในองคกรใหญๆ ถาหากพนักงานหรือใครตองการเขาพบผูบริหารตองผานระบบมากมาย เชน ผานพนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานตอนรับ การรับบัตรนัด ผานเลขานุการ ระบบนี้ถือเปนการปดจากโลกภายนอกอยางมาก ซ่ึงจะทําใหผูบริหารไมทราบถึงส่ิงท่ีลูกคาตองการอยางแทจริง ไมทราบถึงปญหาท่ีเกิดจากการใชสินคาหรือบริการขององคกร ไมทราบถึงนวัตกรรมใหมๆ ท่ีเกิดข้ึน แตจะรูเพียงส่ิงท่ีเคยรู และรูเพียงความคิดของคนท่ีใกลชิดเทานั้น ซ่ึงความจริงแลวผูประกอบการที่ดีตองเปดตัวเองออกสูโลกภายนอก ทําตัวใหเขาถึงไดงายโดยทุกชองทาง เพื่อท่ีจะไดพบผูคนและแลกเปล่ียนแนวความคิดใหมๆ และพัฒนาตนเองใหดีท่ีสุดเทาท่ีทําได

1.4) มีความหลงใหล (Passionate) หมายถึง ความรูสึกม่ันใจท่ีสามารถทําใหขับเคล่ือนธุรกิจผานชวงเวลาท้ังดีและเลวรายไปได เปนส่ิงท่ีเปนผลดีตอทีมและลูกคา เปนความหลงใหลในส่ิงท่ีท่ีทํา หลงใหลในทิศทางท่ีกําลังดําเนินไป และความหลงใหลนี้จะทําใหผูประกอบการรุงเรืองในส่ิงท่ีคนอ่ืนลมเหลว จะทําใหคุณฮึดสูในชวงท่ีเลวราย

1.5) สามารถปรับตัวไดงาย (Versatile) เปนการทําใหตนเองพรอมสําหรับการเปล่ียน เม่ือการดําเนินการมีแผนหนึ่ง ตองมีการเตรียมแผนสํารองไวรองรับเสมอ เนื่องจากลูกคา คูคา หรือคูแขงอาจมีปฏิกิ ริยาตอการดํา เนินการหน่ึงๆ แตกตางกันออกไป ซ่ึงจะทําใหผูประกอบการสามารถประสบความสําเร็จตามเปาหมายดวยแนวทางที่แตกตางกันได

1.6) สามารถฟนตัวไดงาย (Resilient) หมายถึง เม่ือเกิดปญหาหรืออุปสรรคใดข้ึน ผูประกอบการจะสามารถยืนหยัดในการตอสูตอไป ไมยอมแพอยางงายๆ และพรอมเผชิญกับ ปญหาท่ีอาจเกิดข้ึนเปนระยะๆ

2) โอกาส (Opportunity) เปรียบเหมือนน้ําหวานจากเกสรดอกไมสําหรับผ้ึงผูประกอบการ (Entrepreneur Bees) ซ่ึงผ้ึงผูประกอบการตองหา รวบรวม และทําใหกลายเปนน้ําผ้ึง การหาโอกาสอาจจะยาก แตมันก็มีอยูรอบๆ ตัวเราตลอดเวลา โดยผูประกอบการสามารถใช

Page 46: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

59

ความคิดคนหาจากขอมูลขาวสาร หรือจากความรูสึก (Senses) แลวเลือกเฉพาะสวนท่ีสําคัญ ท้ังนี้โอกาสสามารถพบหรือสรางไดจากส่ิงตางๆ มากมาย ไดแก โอกาสจากความหลงใหล (Passion) โอกาสจากทักษะ (Skill) โอกาสจากการติดตอส่ือสาร (Contacts)โอกาสจาก แนวโนมปจจุบัน (Trends) โอกาสจากปญหา (Problems) โอกาสจากส่ิงไมคาดคิด (Unexpected) โอกาสในการปรับปรุงพัฒนาปจจัยในการดําเนินงาน (Improve) โอกาสในการขายส่ิงใหมๆ (Sales) โอกาสในการพัฒนาธุรกิจ (To Improve Business)

3) การเนนจุดสนใจ (Focus) หลังจากมีทัศนคติท่ีถูกตองและโอกาสท่ีดีแลว ผูประกอบการตองเนนจุดสนใจในธุรกิจของตน ซ่ึงเปนสวนหนึ่งท่ีทําใหพวกเขาประสบความสําเร็จ ในขณะเดียวกันผูท่ีไมประสบความสําเร็จก็มักทําหลายๆ อยาง แตไมไดทําใหดีท่ีสุดสักอยาง ซ่ึงการหาจุดเนนในธุรกิจนั้นสามารถรวบรวมความคิดเห็นไดจากทุกฝายท่ีเกี่ยวของในธุรกิจและปจจัยตางๆ แลวดูวาแนวโนมดานใดตรงกันมากท่ีสุด ซ่ึงผูท่ีเกี่ยวของและปจจัยท่ีเกี่ยวของ ไดแก พนักงานผูถือหุน และเจาของธุรกิจเอง รวมถึง นักลงทุนภายนอก นอกจากนี้ยังตองพิจารณาความสามารถพิเศษของพนักงาน และความตองการของลูกคาดวย

4) พรสวรรค (Talent) ไมมีธุรกิจใดจะสําเร็จลงได ถาปราศจากคนท่ีใชกับงานนั้นๆ และคนนั้นอาจจะเปนเจาของธุรกิจเองหรือเปนพนักงานท่ีใชสําหรับธุรกิจเปนรอยคนก็ได แตส่ิงสําคัญในการดําเนินธุรกิจใหประสบความสําเร็จก็ยังเปนวิธีการบริหารจัดการพรสวรรคเหลานั้น และจัดวางพรสวรรคในหนาท่ีงานตางๆ ใหถูกตอง การจัดการคนท่ีมีพรสวรรคสามารถทําใหยืดหยุนได ซ่ึงในธุรกิจขนาดเล็กตองระวังการกลายเปนผู ท่ีประกอบการท่ีเผด็จการ ผูประกอบการที่ดีจะมีทักษะในการคนหาพนักงานท่ีใช แลวผลักดันและบริหารจัดการพวกเขาใหประสบความสําเร็จในส่ิงท่ีมหัศจรรย ทักษะนี้ควรจะเปนโดยสัญชาตญาณ แตก็สามารถเรียนรูและฝกฝนกันได

5) การสราง (Building) ผูประกอบการตองสรางระบบท่ีสามารถดําเนินไดดวยตัวของมันเอง เชน ถาหากตัวผูประกอบการเองหยุดหนึ่งหรือสองเดือนก็ม่ันใจวาระบบการทํางานภายในองคกรยังคงดําเนินการอยางตอเนื่อง ไมมีปญหาเกิดข้ึน โดยผูประกอบการตองสรางความเขาใจรวมกันท่ีชัดเจนใหกับทีมงานและพนักงาน ซ่ึงตองเขาใจในจุดเนนหรือจุดเดนของบริษัทและมีทัศนคติท่ีถูกตองตองาน หรืออาจเรียกอีกอยางวา “แบรนด” (Brand) นั่นเอง แบรนดไมใชแคเพียงโลโกท่ีสวยงาม แตยังเปนเหมือนเข็มทิศท่ีทําใหทุกคนในองคกรรูวาอะไรคือส่ิงท่ีควรทํา รูทิศทางในการดําเนินงาน ข้ันตอมาในการสรางระบบนี้ คือ การพัฒนาคนและสรางทีม โดยพัฒนาคนที่มีพรสรรค ท้ังดานทัศนคติ ทักษะความสามารถ มอบหมายหนาท่ีความรับผิดชอบให ข้ันสุดทาย คือ การกําหนดแผนและยุทธศาสตรเพื่อเตรียมรับกับความทาทายหรือความเปล่ียนแปลงท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดทุกเม่ือ เพื่อเปนการปกปองธุรกิจใหคงอยูอยางยาวนานตลอดไป

6) การส่ือสาร (Communication) การส่ือสารในท่ีนี้หมายถึงการพูดในส่ิงท่ี

Page 47: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

60

เกี่ยวของธุรกิจ ซ่ึงเปนการสรางเครือขายธุรกิจ สรางความสัมพันธท่ีดีกับกลุมเปาหมาย โดยสามารถสรางไดหลายวิธี รวมถึงพนักงานขององคกรดวย ซ่ึงจะสามารถสรางความซ่ือสัตยและอ่ืนๆ ไดอยางมาก การส่ือสารของผูประกอบการตองอยูบนพื้นฐานความเช่ือท่ีวาเขาไมไดมีศักยภาพเต็มท่ีท่ีจะจัดการทุกอยางไดเพียงคนเดียว ทักษะความสามารถของเขามีเพียงการสรางทีมใหคนทํางานดวยกันไดมากกวาคนอ่ืนๆ และนอกจากการนั่งทํางานอยูในหองทํางานแลว ส่ิงท่ีผูประกอบการควรทํา คือ การออกไปส่ือสารกับคนทุกกลุม เพื่อทําใหทุกคนรับรูถึงในส่ิงท่ีคุณทําหรือธุรกิจท่ีคุณกําลังดําเนินอยู อันจะทําใหธุรกิจของคุณคงอยูอยางยาวนาน และสามารถแกปญหาไดในทุกสถานการณ

2.4.5.2 ดนัย เทียนพุฒ (2536, หนา 67 - 68) ไดเสนอลักษณะของผูประกอบการที่ดีไววาตองมีความสามารถ ดังนี้

1) มีความรูความสามารถดานนวัตกรรม 2) มีทักษะในการจัดการกับปญหาหรือความวุนวาย 3) มีความกระหายอยากตอความสําเร็จ 4) มีความสามารถในดานการวางแผนอยางท่ีสามารถทําใหเกิดข้ึนจริงได 5) เปนผูนําท่ีใหความสําคัญกับเปาหมาย 6) เปนผูท่ีใหความสําคัญกับการรวบรวมขอมูลและขอเท็จจริง เพื่อนํามา

ศึกษาและหาแนวทางการแกไขปญหาท่ีเปนไปได 7) มีความรับผิดชอบตอหนาท่ี พนักงาน คูคา ลูกคา และองคกร 8) มีความคิดท่ียืดหยุน สามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณท่ีเปล่ียนแปลง

ไปได 9) เปนท้ังนกัจดัการและนักบริหารองคกร

2.4.5.3 โครงการพัฒนาผูประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (อาทิตย วุฒิคะโร, 2543, หนา 40 - 45) ไดศึกษาวิจัยคุณลักษณะของความสําเร็จในการประกอบธุรกิจพบวาผูประกอบการมีคุณลักษณะดังนี้

1) กลาเส่ียง 2) ต้ังม่ันและมุงมั่นในความสําเร็จ 3) ผูกพันตอเปาหมาย มุงม่ันทําใหสําเร็จตามเปาหมายที่ต้ังไว 4) สามารถโนมนาวใจผูอ่ืนใหคลอยตามได 5) มีความอดทน อดกล้ัน และทํางานหนัก 6) กระตือรือรนในการคิดคนหรือแสวงหาส่ิงใหมๆ มาพัฒนาตนเองและ

ทีมงานอยูเสมอ 7) สามารถเรียนรูจากประสบการณท้ังเลวรายและดี และนํามาพัฒนาและ

Page 48: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

61

แกไขการทํางานในปจจุบันได 8) มีความรับผิดชอบตอหนาท่ี ลูกนอง องคกร และสังคม 9) เช่ือม่ันในความคิดท่ีถูกตอง 10) สนใจและกระตือรือรนแสวงหาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ 11) มีความสามารถในการบริหาร 12) มีความคิดสรางสรรค คิดคนส่ิงใหมๆ เสมอ 13) สามารถปรับตัวใหกับสภาพแวดลอมใหมๆ ได 14) เด็ดเดี่ยวและกลาตัดสินใจ 15) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห 16) มีความเปนมิตรกับคนท่ัวไป เพื่อใหสามารถสรางเครือขายและ

พันธมิตรในการทํางานได 17) ซ่ือสัตยตอองคกร 18) ประหยัดเพื่ออนาคต จากบุคลิกลักษณะของผูประกอบการดังขางตน หากผูประกอบการมีอยูแลว

ยอมเปนโอกาสท่ีดีในการประสบความสําเร็จกับการดําเนินธุรกิจ แตถาหากไมมีหรือมีอยูในระดับท่ีไมเพียงพอ กส็ามารถฝกฝนได โดยอาศัยประสบการณท่ีผานมาและจากการเรียนรูรวมกันของทุกคนในองคกร และอาศัยความสนใจในการทําธุรกิจของตนเอง จะชวยใหการฝกฝนบรรลุผลไดเร็วยิ่งข้ึน 2.5.6 คุณลักษะของผูประกอบการท่ีดี การเปนผูประกอบการท่ีดีนั้น ผูประกอบการตองมีลักษณะท่ีสําคัญหลายประการ ซ่ึงมีนักวิชาการหลายทานใหความเห็นไวดงันี้

2.4.6.1 นิตย สัมมาพันธ (2546, หนา 33 - 36) ไดสรุปลักษณะเดนของผูประกอบการที่ดีไว 4 กลุม ดังนี้

1) คุณลักษณะทางกายภาพ (Physical characteristics) เปนคุณลักษณะท่ีติดตัวมาแตกําเนิดท่ีสามารถมองเห็นได ซ่ึงส่ิงเหลานี้อาจสามารถแกไขปรับปรุงไดดวยการรับประทานอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ การดูแลสุขภาพ รวมทั้งการออกกําลังกายท่ีเหมาะสม โดยคุณลักษณะทางดานกายภาพ ไดแก ความสูง น้ําหนัก รูปราง หนาตา และพลังงาน เปนตน

2) คุณลักษณะทางบุคลิกภาพ (Personal characteristics) เปนลักกษณะที่ติดตัวมาแตกําเนิดของแตละบุคคล ซ่ึงสวนท่ีสามารถปรับปรุงแกไขใหดีได ไดแก ความสามารถในการปรับตัว ความม่ันคงทางอารมณ ความเปนตัวของตัวเอง ความอุตสาหะ พยายาม ความคิดสรางสรรค ความทะเยอทะยาน ความคิดริเร่ิม เปนตน

3) ทักษะและความสามารถ (Skills and abilities) เปนลักษณะท่ีสามารถฝกฝน

Page 49: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

62

และเรียนรูกันได ซ่ึงธรรมชาติสรางสมองเพื่อใชสติปญญาใหเกิดประโยชนตอสวนรวม ท้ังนี้ ทักษะและความสามารถจะเห็นไดจากการแสดงออกซ่ึงเชาวนปญญา ความเฉลียวฉลาด ความแมนยําในการตัดสินใจ และความสามารถทางเทคนิค เปนตน

4) ลักษณะเดนทางสังคม (Social factors) มนุษย เปนสัตว สังคม ตองติดตอส่ือสาร และพ่ึงพาอาศัยกันและกันในรูปแบบตางๆ ท้ังนี้ การเขาสังคมในแตละระดับมีพิธีรีตองแตกตางกันออกไปตามสภาพการณและเหตุการณ ซ่ึงคุณลักษณะดานสังคมท่ีผูนําควรมีนั้น ไดแก การรูจักประนีประนอม ความสามารถในการบริหาร การสรางความรวมมือ ความเปนท่ีนิยมชมชอบของบุคคลท่ัวไป มีสถานภาพสูงทางเศรษฐกิจและสังคม เปนตน

2.4.6.2 พระธรรมปฎก (2541, หนา 18 - 20) ไดกลาวถึงคุณลักษณะของผูประกอบการท่ีดีไววา มีความสอดคลองกับหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระพุทธศาสนา คือ ผูนําท่ีดีตองเปนบุคคลท่ีมีศีล สมาธิและปญญา ซ่ึงสามารถขยายความโดยหลักสัปปุริสธรรม 7 ไดดังนี้

1) รูหลักการ คือ รูกฎเกณฑของส่ิงตางๆ ท่ีเกี่ยวของในการดําเนินชีวิต การปฏิบัติหนาท่ีและดําเนินกิจการตางๆ รูและเขาใจในส่ิงท่ีตนจะตองประพฤติปฏิบัติตามหลักเหตุและผล ซ่ึงอาจกลาวไดวา เม่ือดํารงตําแหนง มีฐานะหรือจะทําอะไรก็ตาม ตองรูหลักการ รูงาน รูหนาท่ี รูกฎกติกาท่ีเกี่ยวของ

2) รูจุดหมาย คือ รูความหมาย ความมุงหมายในส่ิงท่ีตนปฏิบัติ เขาใจวัตถุประสงคของกิจการท่ีตนกระทํา รูในส่ิงท่ีตนทําอยู ท้ังนี้ การดําเนินการตางๆ ท้ังการงานและเร่ืองสวนตัว ตองต้ังเปาหมายใหชัดเจน และตองมีความแนวแนและมุงม่ันท่ีจะไปถึงจุดหมายน้ันๆ ใหได

3) รูตน คือ ตองรูวาตนเองคือใคร มีภาวะเปนอะไร อยูในสถานะใด มีคุณสมบัติ มีความพรอม มีความถนัด มีสติปญญาความสามารถอยางไร มีกําลังแคไหน มีจุดออนจุดแข็งอยางไร ซ่ึงจะตองสํารวจตนเองและเตือนตนเองอยูเสมอ ท้ังนี้เพื่อประโยชนในการพัฒนาปรับปรุงตนเอง

4) รูประมาณ คือ รูจักความพอดี รูจักขอบเขต ความพอเหมาะในเรื่องตางๆ ซ่ึงตองกระทําการทุกอยางดวยความเขาใจ คือ เขาใจในวัตถุประสงคและผลกระทบที่จะเกิดข้ึนจาการดําเนินการนั้นๆ ท้ังนี้ เพื่อใหเกิดผลดีอยางแทจริงตามท่ีตองการ โดยมิใชเพียงเพ่ือเห็นแกความพอใจ ชอบใจ หรือเอาแตใจของตน แตทําตามความพอดีแหงเหตุปจจัย

5) รูกาล คือ รูเวลาอันเหมาะสม ระยะเวลาท่ีพึงใชการปฏิบัติหนาท่ีหนึ่งๆ และรูเวลาอันเหมาะในการเกี่ยวของกับผูอ่ืน เชน รูวาเวลาไหน ควรทําอะไร อยางไร กับบุคคลใด

6) รู ชุมชน คือ มีความรู เกี่ยวกับสังคมที่ตนอยู สังคมโลก สังคมของประเทศชาติวาอยูในสถานการณใด มีปญหาอยางไร รูความตองการของเขา ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการปฏิบัติตนหรือบริหารงาน หรือแมแตจะชวยเหลือเขา เราก็จะตองรูความตองการเพื่อสนองความ

Page 50: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

63

ตองการไดถูกตอง หรือแกไขปญหาไดตรง 7) รูบุคคล คือ รูจักและเขาใจความแตกตางแหงบุคคล โดยเฉพาะคนท่ีตอง

รวมงานและคนท่ีตองบริหาร ซ่ึงบริหารตามความแตกตางเฉพาะตัว เพื่อปฏิบัติตอเขาไดถูกตองเหมาะสมและไดผล

2.4.6.3 Charlotte Rayner and Derek Adam - Smith (2009) ไดใหแนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะผูประกอบการที่ดีไวดังนี้

1) มีความเฉลียวฉลาด มีไหวพริบทันคน (Intelligence) ซ่ึงผูนําตองสามารถควบคุมการทํางานในองคกรใหเกิดผลไดอยางมีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากรบุคคลใหเกิดอรรถประโยชนสูงสุด

2) มีความเช่ือม่ันในตนเอง (Self - Confidence) ผูนําควรมีความม่ันใจ เม่ือส่ังงานตองไมลังเลใจหรือเกิดความโลเล แตตองรับฟงความคิดเห็นของบุคคลอ่ืน และใครครวญในการตัดสินใจอยางถ่ีถวน

3) มีความเด็ดขาดในการตัดสินใจ (Good Decision Making) ผูนําควรกลาตัดสินปญหาตางๆ ไดอยางเด็ดขาด และกลาเผชิญกับผลดีและผลเสียท่ีอาจเกิดข้ึนจากการตัดสินใจของตนเอง

4) มีความต้ังใจอยางเขมแข็ง (Strong Will Power) ผูนําควรมีจิตใจท่ีเขมแข็งไมทอถอยตองานท่ีต้ังใจทํา เม่ือลมแลวสามารถลุกข้ึนยืนหยัดใหมไดดวยตนเอง

5) มีปฏิภาณไหวพริบ (Impulsive) ผูนําตองสามารถแกไขปญหาเฉพาะหนาไดอยางรวดเร็วฉับไว รูวิธีโตตอบสถานการณตางๆ อยางทันทวงทีและถูกตอง

6) มีความรอบรู (Well - Rounded) ผูนําควรมีความสนใจในสถานการณตางๆ อยางรอบดาน มีวิญญาณใฝรูส่ิงรอบตัวอยูเสมอ และตองมีใจกวางเปดรับส่ิงใหมๆ เพื่อนํามาพัฒนาตนเอง

7) มีความรับผิดชอบและต่ืนตัวอยูเสมอ (Responsibility and Well Alert) ผูนําควรมีความรับผิดชอบสูงตองานในหนาท่ี และต่ืนตัวตอสภาพการณรอบดานท่ีกําลังเปล่ียนแปลงอยูเสมอ

8) มีความสุภาพ เมตตา กรุณา และเห็นใจผูใตบังคับบัญชา (Generous Kind and Sympathy) ผูนําควรมีความสุภาพท้ังทางกาย วาจา และใจ ซ่ึงตองเอาใจเขามาใสใจเรา ใหความ

เมตตาตอผูใตบังคับบัญชาและครอบครัวของเขา 9) มีความซ่ือสัตยและความยุติธรรม (Loyalty and Justice) ผูนําตองใหความ

ยุติธรรม ความเสมอภาค ความถูกและความผิดกับผูปฏิบัติงานอยางเทาเทียมกัน ไมลําเอียงเห็นแกฝายใดฝายหนึ่ง

10) มีความสามารถในการช้ีแนะหรือสอนคนอ่ืนได (Good Instructor) ผูนํา

Page 51: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

64

ท่ีดีควรรูวิธีมอบหมายงานใหคนอ่ืนทํา และมีความสามารถในการอธิบายวิธีการทํางานใหคนอ่ืนทําไดดวยความเขาใจ

11) มีศรัทธาตองานและผูรวมงาน (Faith) ผูนําท่ีดีควรใหความไววางใจและสรางศรัทธาตอผูรวมงาน ซ่ึงผูนําตองรักและศรัทธาในหนาท่ีของตนกอน จึงจะสรางความรักและศรัทธานั้นแกผูใตบังคับบัญชาได

2.4.6.4 Robert L. Trewatha (1982) ไดแบงคุณลักษณะของผูประกอบการที่ดีไว 4 ประการคือ

1) คุณลักษณะทางกาย (Physical Traits) ไดแก ความสูง น้ําหนัก รูปรางหนาตา ความมีพลัง ความทนทานของรางกาย

2) คุณลักษณะทางสังคม (Social Traits) ไดแก ความเห็นอกเห็นใจ ความแนบเนียน ความนาเช่ือถือ ความมีฐานะ ความสามารถท่ีจะรวมงาน

3) คุณลักษณะทางบุคลิกภาพ (Personality Traits) 4) คุณลักษณะสวนบุคคล (Personal Traits)

2.4.6.5 Ralph Melvin Stogdill and Bernard M. Bass (1981) ไดเสนอคุณลักษณะของผูประกอบการที่ดีท่ีประสบความสําเร็จวาจะตองประกอบดวย

1) คุณลักษณะทางดานสติปญญา ไดแก การมีไหวพริบ ปฏิภาณดี มีความรอบคอบ มีเหตุผล มีความรู ความเด็ดขาด และความราบร่ืนในการใชความคิด ตลอดจนการตัดสินใจ

2) คุณลักษณะดานบุคลิกภาพ ไดแก ความสามารถปรับตัว มีความต่ืนตัว มีคุณธรรม ยุติธรรม ไมยึดติดกับระเบียบประเพณีท่ียึดถือปฏิบัติกันมา และ

3) คุณลักษณะดานความสามารถ ไดแก ความสามารถในการรวมมือกับผูอ่ืน ความสามารถท่ีไดรับการยกยอง เปนท่ียอมรับ และการมีเคล็ดลับในการจัดการ

กลาวโดยสรุปแนวคิดคุณลักษณะผูประกอบการที่ดีนั้น เนนการกลาวถึงคุณสมบัติ ดานรางกาย ดานสติปญญา ดานอารมณ ดานอุปนิสัย ดานบุคลิกภาพ ทักษะ ความสามารถ อันเปนคุณลักษณะเฉพาะของความเปนผูนํา ซ่ึงอาจไดมาต้ังแตกําเนิดและสามารถเรียนรูไดภายหลังจากการศึกษา เรียนรู การส่ังสมประสบการณ การฝกฝน ซ่ึงจะทําใหผูนํามีคุณลักษณะท่ีโดดเดนกวาบุคคลท่ัวไป

2.6 ทฤษฎีคาจาง

2.6.1 ความหมายของ “คาจาง” ถาหากพิจารณาความหมายของคาจางในทางเศรษฐกิจอยางกวางๆ แลว คาจาง หมายถึง

Page 52: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

65

เงินหรือส่ิงของท่ีเปนผลตอบแทนท่ีลูกจางไดรับเปนการแลกเปล่ียนจากการทํางาน โดยจายตามผลงาน ผลตอบแทนน้ีอาจรวมถึงสิทธิประโยชนพิเศษอ่ืนๆ เชน คาทํางานลวงเวลา เงินพิเศษ (Bonus) สวนแบงจากผลกําไร ทุนการศึกษาบุตร คารักษาพยาบาล คาเชาบาน รถประจําตําแหนง เปนตน สําหรับผูปะรกอบการ กําไรของผูประกอบการหรือผูดําเนินการก็อาจถือรวมเปนคาจางไดดวย ซ่ึงพิจารณาไดวากําไรดังกลาวเปนคาจางท่ีผูประกอบการจายใหกับตนเอง ชดเชยคาเสียโอกาสท่ีไมไดนําทรัพยากรมนุษยของเขาไปใชในทางอ่ืน (มานิตย ผิวขาว, 2546, หนา 1 - 2) อยางไรก็ตามโดยท่ัวไปนั้น “คาจาง” จะถูกพิจารณาในความหมายท่ีแคบกวาความหมายขางตน คือ คาจางจะถูกถือวาเปนผลตอบแทนตอแรงงานท่ีทําการผลิตตามคําส่ังของผูอ่ืนหรือเปนคาตอบแทนตอการท่ีแรงงานใชเคร่ืองมือ เคร่ืองจักร ซ่ึงเปนของนายจางไปในการผลิตสินคาและบริการใหกับนายจางนั้น ตามความหมายของคาจางในประการหลังนี้ คาจางจะไมรวมถึงผลตอบแทนใหแกผูประกอบการ และรายไดของผูดําเนินกิจการของตนเองเขาไปดวย และเปนความหมายท่ีใชกันแพรหลายโดยเฉพาะองคการแรงงานระหวางประเทศ (International Labour Organization - ILO) ก็ไดใชความหมายในลักษณะดังกลาวนี้เปนหลักเชนกัน (International Labour Organization, online, 1996) 2.6.2 ความสําคัญของคาจาง คาจางหรือผลตอบแทนตอแรงงานนั้นนับไดวาเปนแหลงรายไดสําคัญแหลงหนึ่งในระบบเศรษฐกิจท่ัวไป และยอมเปนแหลงสําคัญของอํานาจซ้ือของบุคคลในเศรษฐกิจดวย โดยเฉพาะในประเทศท่ีพัฒนาแลวในระดับสูง ซ่ึงกําลังแรงงานสวนใหญอยูในสาขาอุตสาหกรรม ซ่ึงการวางแผนการผลิตและจําหนายในสวนของเอกชน หรือในการพิจารณากําหนดแนวนโยบายตางๆ นั้น รัฐบาลยอมตองนําเอาคาจางเปนตัวแปรสําคัญตัวหนึ่งในการพิจารณา (Thaihrwork, 2013) ถามองในแงของคนงานแลว คาจางยอมเปนแหลงรายไดสําคัญของครอบครัวเม่ือคาจางสูงข้ึนโดยท่ีระดับราคาสูงข้ึนชากวาหรือคงท่ี อํานาจซ้ือของคนงานก็จะสูงข้ึนและอาจทําใหอุปสงครวม (Aggregate Demand) ของระบบเศรษฐกิจเพิ่มข้ึน ซ่ึงจะมีผลไปกระตุนใหเกิดการขยายตัวในการผลิตเพื่อตอบสนองตออุปสงครวมดังกลาว และทําใหเศรษฐกิจขยายตัวออกไปได ตรงกันขาม ถาคาจางลดลง โดยท่ีระดับราคาไมลดลงดวย หรือลดลงนอยกวาคาจาง อํานาจซ้ือของคนงานก็จะลดลงเปนผลใหอุปสงครวมของเศรษฐกิจลดลง จนอาจทําใหเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย (Recession) หรืออาจรุนแรงจนถึงกับเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า (Depression) ก็ได สวนถามองในอีกดานหน่ึง คือในแงของผูผลิตหรือเจาของกิจการนั้น คาจางจะเปนตนทุนสวนสําคัญสวนหนึ่งในการผลิตเรียกวา ตนทุนแรงงาน ซ่ึงถาเปนกิจการท่ีใชแรงงานมาก ตนทุนแรงงานก็จะมีสัดสวนสูงมากจากตนทุนท้ังหมด สวนถาเปนกิจการประเภทใชทุนมาก ตนทุนแรงงานก็อาจมีสัดสวนนอยกวากิจการประเภทแรก ในแงของกิจการนี้การเพิ่มข้ึนของคาจางยอม หมายถึงการเพิ่มตนทุนในการผลิตดวย โดยเฉพาะในกิจการท่ีใชแรงงานมาก ตนทุนอาจเพิ่มสูงจนผูประกอบการตองเพิ่มราคาข้ึนอีกมาก หรือไมก็ตองหันไปใชเทคนิคการผลิตแบบใช

Page 53: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

66

เคร่ืองจักรแทนแรงงานมากขึ้น และปลดคนงานออก ซ่ึงท้ังการท่ีราคาสูงข้ึนและการวางงานนี้ยอมไมใชผลดีตอเศรษฐกิจ แตถาคาจางลดลงผลจะเปนตรงขาม คือ ตนทุนการผลิตจะลดลง ซ่ึงอาจทําใหระดับราคาลดลงหรืออยางนอยก็ไมมีแนวโนมจะสูงข้ึนไปอีก นอกจากนี้โอกาสที่คนงานจะถูกปลดออกเพราะนายจางใชเคร่ืองจักรแทนแรงงานก็จะมีนอยลงไปดวย 2.6.3 ทฤษฎีคาจางและระบบคาจางของ SMEs ของไทยในปจจุบัน

2.6.3.1 ทฤษฎีคาจางพอยังชีพของ Adam Smith Adam smith (2005, pp. 48 - 49) กลาววา คาตอบแทนหรือคาจางข้ึนอยูกับขอตกลง

ระหวางนายจางกับลูกจาง แตมักจะมีฝายใดฝายหนึ่งไดเปรียบและอีกฝายเสียเปรียบ โดยท่ัวไปนายจางมักเปนฝายไดเปรียบ เนื่องจากมีจํานวนนอยและสามารถรวมตัวกันเพื่อกําหนดคาจางไดงายกวา ในขณะท่ีลูกจางมีจํานวนมาก การรวมตัวทําไดยาก อยางไรก็ตาม นายจางก็ไมสามารถกําหนดคาจางใหตํ่าท่ีสุดเทาท่ีตองการได หากแตตองคํานึงถึงระดับพอยังชีพของแรงงาน

สําหรับทฤษฎีกองทุนคาจาง (Wage fund theory) สมิธ เห็นวาอัตราคาจางจะถูกกําหนดโดยอุปสงคและอุปทานของแรงงาน ซ่ึงอุปสงคตอแรงงาน หมายถึง ความตองการของนายจางตอการจางงาน โดยมีอัตราคาจางในระดับตางๆ ท่ีนายจางสามารถจางได สวนอุปทาน หมายถึง จํานวนแรงงานท่ีมีอยูในตลาดแรงาน และพรอมจะทํางานเพื่อรับคาแรง ท้ังนี้ อุปทานจะเปล่ียนไปตามอัตราคาจาง เม่ือคาจางสูงข้ึน ก็จะดึงดูดใหแรงงานมีความตองการทํางานจํานวนมากข้ึน ในขณะเดียวกันอุปสงคหรือความตองการจางงานก็จะลดลง ทําใหคาจางคอยๆ ลดลง และเม่ือคาจางถูก อุปทานหรือแรงงานจะมีจํานวนลดลงเรื่อยๆ จนทําใหอุปสงคหรือความตองการจางงานเพิ่มข้ึน หรือกลาวไดอีกอยางวา ท้ังอุปสงคและอุปทานมีความแปรผกผันตอกัน

ทฤษฎีคาจางพอยังชีพ (Subsistence Theory) อธิบายวา เม่ือกองทุนคาจางหรืออุปทานสูงกวาอุปสงคหรือจํานวนแรงานท่ีตองการทํางาน อัตราคาจางจะสูงข้ึนสูงกวาระดับพอยังชีพ และสงผลใหชีวิตความเปนอยูของแรงงานดีข้ึน แตในขณะเดียวกันอัตราคาจางท่ีสูงข้ึนก็เปนแรงดึงดูดใหแรงานมีจํานวนเพิ่มมากข้ึนตาม และเม่ือจํานวนแรงงานมากข้ึน อัตราคาจางจะลดลง ซ่ึงอาจลดลงมากกวาระดับพอยังชีพ คุณภาพชีวิตของแรงงานและครอบครัวจะลดลงไปดวย แรงงานก็จะลดจํานวนลงตาม ความตองการหรืออุปสงคตอแรงงานและคาแรงก็จะเพิ่มข้ึนอีกคร้ัง การเพิ่มข้ึนหรือลดลงของคาจางจะหมุนเวียนอยางนี้

ท้ังนี้ Adam Smith (2005, p. 49) เห็นวา สาเหตุท่ีทําใหอัตราคาจางมีความแตกตางในแตละชวงเวลา มีปจจัยดังตอไปนี้

1) ความยากของงาน หมายถึง ถางานนั้นเปนงานท่ียากลําบากไมมีเกียรติ คาจางจะสูง ท้ังนี้ เพราะไมมีแรงงานท่ีตองการทํางานประเภทนี้ หรือมีอุปทานตองานประเภทน้ีนอย อัตราคาจางจึงคอนขางสูง

2) ตนทุนในการฝกอบรมแรงงาน หมายถึง งานประเภทท่ีตองใชแรงงานท่ี

Page 54: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

67

มีทักษะความสามารถและความชํานาญสูง เชน งานท่ีตองใชเคร่ืองมือ เคร่ืองจักรทันสมัย เปนตน จะไดคาตอบแทนสูง เนื่องจาก นายจางตองเสียเวลาและคาใชจายในการฝกทักษะและเสริมความรูใหแกแรงงานมากกวางานประเภทอ่ืน

3) ความสม่ําเสมอของงาน หมายถึง งานท่ีมีความม่ันคงสมํ่าเสมอ ซ่ึงทําใหแรงงานวางใจวาตนเองจะมีงานทําตลอด เชน งานดานหัตถกรรม เปนตน จะไดรับคาตอบแทนคอนขางตํ่าเม่ือเทียบกับงานกอสรางซ่ึงเปนงานท่ีไมไดทําตอเนื่องกันตลอดไป แตงานท่ีไมตอเนื่องจะไดรับคาแรงท่ีสูงกวา ท้ังนี้ เพราะแรงงานไมเพียงตองการคาจางเพียงพอกินพอใชในระหวางท่ีเขาทํางานเทานั้น แตตองมีพอกินพอใชตอเนื่องไปถึงชวงท่ีแรงงานเหลานั้นไมมีงานทําดวย

4) ความรับผิดชอบของงาน หมายถึง งานท่ียิ่งมีความรับผิดชอบสูง เจาของแรงงานจะยิ่งไดรับคาตอบแทนตอแรงงานสูง เชน แพทย ทนายความ ชางเพชรชางทอง เปนตน

5) ความเส่ียงของงาน หมายถึง งานท่ีมีอัตราความเส่ียงสูง โอกาสประสบความสําเร็จมีนอย อัตราคาจางจะสูง

2.6.3.2 ทฤษฎีคาจางในทัศนะของ Thomas Robert Malthus (1798) Thomas Robert Malthus (1798) กลาวถึง ทฤษฎีคาจางวา ระดับคาจางท่ีแทจริง (Real

Wage) ของแรงงานมีแนวโนมเทากับระดับพอยังชีพ (Subsistence Level) เพราะถาหากคาจางเพ่ิมข้ึน การเพิ่มข้ึนของแรงงานอยางรวดเร็วก็จะดึงอัตราคาจางลงมาเทากับระดับพอยังชีพอีกคร้ัง สงผลใหประชากรมีฐานะยากจนลง

2.6.3.3 ทฤษฎีคาจางในมุมมองของ David Ricardo David Ricardo (1911, pp. 57, 61 - 63) กลาววา คาจางของแรงงานมีแนวโนมลดลง

เร่ือยๆ ตราบเทาท่ีพวกเขายังอยูในกฎแหงอุปสงคและอุปทานเพียงอยางเดียว แตท่ีจริงแลว คาจางยังตองข้ึนอยูกับคาอุปโภคบริโภคที่พวกเขาตองจาย Ricardo อธิบายวา คาแรง คือ ผลตอบแทนของแรงงานหรือราคาของแรงงาน ซ่ึงนายทุนหรือผูประกอบการเปนผูจายใหกับแรงงาน ดังนั้นแรงงานก็เปนสินคาชนิดหนึ่งท่ีมีราคา สามารถซ้ือขายไดนั้น หมายถึง ราคาธรรมชาติ และราคาตลาด

ราคาตลาด คือ ราคาในระยะส้ัน ซ่ึงเปนคาจางท่ีถูกกําหนดโดยอุปสงคและอุปทานของแรงงาน โดยอัตราคาจางตลาดจะสูงเม่ือประชากรแรงงานมีนอยและจะตํ่าเมื่อประชากรแรงงานมีมาก

ราคาธรรมชาติ คือ ราคาในระยะยาว ซ่ึงอัตราคาจางธรรมชาติมีแนวโนมท่ีจะสูงข้ึนเร่ือยๆ ท้ังนี้ เนื่องจากในขณะท่ีประชากรแรงงานมีแนวโนมท่ีจะสูงข้ึน ราคาของอาหารและส่ิงจําเปนตางๆ มีแนวโนมท่ีจะสูงข้ึน ซ่ึงทําใหอัตราคาจางธรรมชาติของแรงงานสูงข้ึนดวย Ricardo เช่ือวา เม่ืออัตราคาจางตลาดสูงกวาอัตราคาจางธรรมชาติ แรงงานจะมีความสุข เนื่องจากสามารถจัดหาส่ิงจําเปนและส่ิงอํานวยความสะดวกสบายแกชีวิตไดมากข้ึน ในทางตรงขาม เม่ืออัตราคาจางตลาดตํ่ากวาอัตราคาจางธรรมชาติ แรงงานจะยากจน ชีวิตความเปนอยูไมด ีประชากรก็จะลดจํานวนลง

Page 55: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

68

จํานวนแรงงานก็ลดลง แตความตองการแรงงานเพ่ิมข้ึน สงผลใหอัตราคาจางสูงข้ึนจนเทากับอัตราคาจางธรรมชาติตามเดิม โดยปกติแลว อัตราคาจางตลาดจะสูงกวาอัตราคาจางธรรมชาติ จากนั้นจะมีแนวโนมลดลง ท้ังนี้เนื่องจากประชากรแรงงานเพิ่มข้ึนในสัดสวนท่ีสูงกวาการเพ่ิมของกองทุนคาจางอยูเสมอ

2.6.3.4 ทฤษฎีกองทุนคาจาง ทฤษฎีกองทุนคาจาง เปนทฤษฎีท่ีเสนอโดย John Stuart Mill (1948) ในชวงศตวรรษ

ท่ี 19 ซ่ึงอธิบายวา นายจางมีกองทุนจํานวนหนึ่งซ่ึงกันไวสําหรับเปนคาจางของแรงงาน และระดับคาจางคืออัตราสวนของกองทุนนี้ตอจํานวนคนงานท้ังหมด เชน กองทุนคาจาง 5,000 บาท มีจํานวนแรงงาน 50 คน แรงงงานจะไดรับคาจางตอคน 100 บาท

กองทุนคาจาง (กองทุนคงท่ีในระยะส้ัน) = ระดับคาจาง จํานวนแรงงาน

จากสูตรการหาระดับคาจาง ทําใหเห็นไดวาอัตราคาจางข้ึนอยูกับการขยายตัวของประชากร ยิ่งประชากรจํานวนมาก อัตราคาจางจะยิ่งนอย อยางไรก็ตามทฤษฎีนี้ไมคอยเปนท่ียอมรับนัก เนื่องจากลูกจางจะไดรับคาจางเทากันหมด โดยไมคํานึงถึงความสามารถ ประสิทธิภาพ ประสบการณ ความยากงายของงาน รวมถึงไมเปนไปตามหลักการเพิ่มจํานวนแรงงาน เพราะเม่ือยิ่งเพิ่มแรงงาน คาจางกลับยิ่งลดลง และถาหากจะเพิ่มคาแรงตองลดจํานวนแรงงาน ดวยเหตุท่ีการจางคาจางไมสอดคลองกับจํานวนแรงงาน ซ่ึงโดยปกติเม่ือแรงงานเพิ่ม นายจางก็ตองจายคาจางเพิ่มข้ึนตามจํานวน (ธงชัย สันติวงศ, 2532)

2.6.3.5 ทฤษฏีคาจางท่ียุติธรรม (The Just Price Wage or Just Wage) คือ อัตราคาจางท่ีในระดับท่ีลูกจางสามารถดํารงชีวิตอยูไดดวยความเหมาะสม มีความใกลเคียงกับลักษณะงานท่ีทําอยู ซ่ึงคนท่ีอยูในตําแหนงงานท่ีมีความยากหรือมีความสําคัญมากกวาจะไดรับคาแรงท่ีสูงข้ึน อันนับวามีความยุติธรรมกับแรงงาน (ธงชัย สันติวงศ, 2532)

ทฤษฏีนี้เปนทฤษฏีทางเศรษฐศาสตรท่ีใชกันมาอยางชานาน ต้ังแตสมัยโบราณจนถึงยุคกลาง เปนยุคท่ีมีการจางแรงงานมากข้ึน จึงทําใหการกําหนดคาจางมีความสําคัญในยุคนั้น แตในระยะแรกยังยึดราคาเพื่อใหแรงงานสามารถดํารงชีพอยูได ยังไมไดยึดตามหลักยุติธรรม

การใชหลักคาจางท่ียุติธรรมประกอบการจายคาจางนั้นจะทําใหพนักงานไดพัฒนา ฝมือตนเอง ทําใหแรงงานฝมือมีความม่ันคงในงาน แตอยางไรก็ตาม คาจางท่ีแรงงานไดรับยังคงไมสอดคลองกับผลผลิตของนายจาง ไมวาจะผลิตมากข้ึนหรือนอยลงคาจางก็จะไมเปล่ียนแปลงตาม แตข้ึนอยูกับระดับช้ันฐานะท่ีเขาดํารงอยูและความยุติธรรมเทานั้น แตคําวา “ยุติธรรม” ก็มีมาตรฐานแตกตางกัน ในท่ีนี้มี 2 แนวทางหลัก คือ

Page 56: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

69

1) ความยุติธรรมในแงของประโยชนตางตอบแทน (Commutative Justice) คือ การใหคาจางท่ียึดตามผลประโยชนของนายจางและลูกจางเปนการแลกเปล่ียนกัน ในแงนี้ถือวาแรงงานเปนปจจัยหนึ่งของกระบวนการผลิต มีความสําคัญและมีคุณคาในตัวเอง การทํางานจึงไดรับผลตอบแทนกลับมา การกําหนดคาจางแบบนี้มีชื่อเรียกอีกอยาง คือ การแลกเปล่ียนท่ีเปนธรรม (Exchange Justice)

2) ความยุติธรรมในสังคม (Social Justice) ในแงนี้มองวาแรงงานทําประโยชนใหสังคม สังคมจึงตองตอบแทนใหแรงงานสามารถดํารงชีพอยูได ซ่ึงตองเปนคาจางท่ีทําใหครอบครัวท่ีมีบุตร 2 คนมีมาตรฐานคาครองชีพข้ันตํ่าท่ีเพียงพอตอคาครองชีพ

การจายคาตอบแทนแกลูกจางของสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมนั้น กอนการกําหนดนโยบายแรงงานข้ันตํ่าเปนการกําหนดคาจางโดยเปนการตกลงกันระหวางนายจางและลูกจาง โดยพิจารณาจากความยากงายของงาน งานยิ่งยากยิ่งไดคาตอบแทนสูง ตนทุนในการฝกอบรมในแตละประเภทงาน งานท่ีตองมีการฝกอบรมมากซ่ึงหมายถึงงานท่ีมีความยากมากกวาจะไดคาตอบแทนสูงกวา ความรับผิดชอบของงานแตละตําแหนง ยิ่งความรับผิดชอบสูงก็ยิ่งไดรับคาตอบแทนสูง ความเส่ียงของงานนั้นๆ ยิ่งมีความเส่ียงมากย่ิงไดคาตอบแทนมาก ซ่ึงการจายคาตอบแทนแบบน้ีเปนไปตามหลักทฤษฎีคาจางของอดัม สมิธ (Adam Smith, 2005, p. 49) และเปนไปตามศักยภาพของสถานประกอบการ SMEs แตการกําหนดนโยบายแรงงานข้ันตํ่าวันละ 300 บาท ของรัฐบาลเปนการแทรกแซงกระบวนการดําเนินงานของเอกชน โดยอางวาเปนการกําหนดคาตอบแทนแกลูกจางอยางเปนธรรมตามหลักการที่ธงชัย สันติวงศ (2532) กลาวไว แตในความเปนจริงแลว การเพิ่มคาแรงนี้อาจเพิ่มความเปนธรรมใหกับฝายลูกจางจริง แตกลับไมเปนธรรมสําหรับฝายนายจาง โดยท่ีรัฐบาลยังไมมีการฝกฝมือแรงงานใหเหมาะสมกับคาจางที่กําหนดข้ึนใหม อีกท้ัง ธุรกิจ SMEs มีทุนประกอบการคอนขางนอย สายปานการผลิตส้ัน การเพิ่มคาแรงแบบกาวกระโดดนี้ทําให SMEs ตองจายคาตอบแทนแกลูกจางในอัตราท่ีเกินศักยภาพของตน สงผลกระทบตอการบริหารจัดการภายใน ทําใหตนทุนการผลิตสูงข้ึน ระบบการหมุนเวียนทุนติดขัด ธุรกิจ SMEs ตองกูยืมเงินมาหมุนเวียน ทําใหขาดสภาพคลอง และหลายแหงตองปดกิจการลง 2.7 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการศึกษาเร่ือง “การบริหารนโยบายสาธารณะกับผลกระทบตอธุรกิจ กรณีการปรับข้ึนคาแรงข้ันตํ่ากับธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม” มีดังตอไปนี้ 2.7.1 สมศจี ศิกษมัต (2554) ไดศึกษาผลกระทบของการปรับข้ึนคาจางข้ันตํ่าเปน 300 บาท/วัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเหมาะสมหรือเพียงพอของอัตราคาจางข้ันตํ่าในดานการชวยแกไขหรือบรรเทาปญหาความยากจน และในเร่ืองความเปนธรรม ศึกษาผลกระทบของการ

Page 57: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

70

ปรับข้ึนอัตราคาจางข้ันตํ่าแบบกาวกระโดดเปน 300 บาท/วัน โดยพัฒนาแบบจําลองเศรษฐกิจแบบดุลยภาพท่ัวไป (General Equilibrium Model) ใชเปนเคร่ืองมือในการวิเคราะหและตอบโจทยเร่ืองผลกระทบ และวัตถุประสงคอีกประการคือ เพื่อเลือกใชนโยบายท่ีออกแบบหรือกําหนดไว (Designing policy option) เพื่อชวยลดผลกระทบเชิงลบของการเพิ่มอัตราคาจางข้ันตํ่าแบบกาวกระโดด พรอมท้ังใหขอคิดเห็นเชิงนโยบาย โดยผลของการศึกษาพบวาอัตราคาจางข้ันตํ่ารายวันกอนการปรับเปนอัตรา 300 บาท อยูในระดับท่ีตํ่ากวาความเหมาะสมในการใชจายในชีวิตประจําวัน แตการปรับข้ึนคาแรงแบบกาวกระโดดจะสงผลกระทบตอธุรกิจทําใหธุรกิจบางประเภทแบกรับตนทุนในการผลิตไมไหว ซ่ึงรัฐบาลควรมีมาตรการเสริมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอันจะชวยลดผลกระทบเชิงลบตอภาคธุรกิจ และทยอยปรับข้ึนคาแรงอยางเปนข้ันเปนตอน รวมถึงเพิ่มคุณภาพของแรงงาน เพื่อผลิตสินคาท่ีมีคุณภาพในตัวของมันเอง จากงานวิจัยของสมศจี ศิกษมัด สามารถนํามาปรับใชกับงานวิจัยช้ินนี้ไดในสวนของการออกแบบนโยบายดานการกําหนดคาแรงและคาจางเพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอภาคธุรกิจหรือองคกรในเชิงลบอยางรุนแรง ซ่ึงองคกรเหลานั้นเปนผูสูญเสียงบประมาณและจัดสรรเงินสนับสนุนการผลิตสินคาและบริการโดยตรง 2.7.2 ศูนยวิจัยเศรษฐกิจและพยากรณทางการเกษตร คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ (2556) ไดสํารวจความคิดเห็นของแรงงานจังหวัดลําพูน ชลบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม อยุธยา ปทุมธานี สมุทรสาคร ระยอง ในหัวขอ “เสียงสะทอนแรงงานไทยกับคาแรง 300 บาท” จํานวน 750 ราย ผลการสํารวจพบวาหลังจากเพิ่มคาแรงเปน 300 บาทตอวันแลว ผลกระทบท่ีมีตอคุณภาพแรงงาน สวนใหญหรือรอยละ 49.2 เห็นวามีคุณภาพชีวิตเหมือนเดิม รอยละ 39.1 เห็นวาคุณภาพชีวิตดีข้ึน และรอยละ 11.7 เห็นวาคุณภาพชีวิตแยลง สวนในดานผลดีของนโยบาย สวนใหญหรือรอยละ 78.1 เห็นวาทําใหมีรายรับเพิ่มข้ึน แตในขณะเดียวกันสวนใหญ (รอยละ 83.7) เห็นวาผลเสีย คือ ทําใหมีคาใชจายเพิ่มข้ึน เนื่องจากสินคาปรับราคาเพ่ิมข้ึนดวย นอกจากนี้ยังเห็นวาถูกลดโอทีและสวัสดิการดวย รวมถึงเห็นวาเส่ียงจากการถูกเลิกจางดวย สําหรับผลกระทบตอองคกร คือ สงผลใหองคกรมีตนทุนการผลิตเพิ่มข้ึน และเพื่อการควบคุมตนทุนการผลิตใหตํ่าสุดทดแทนกับการเพ่ิมคาจางข้ันตํ่า องคกรอาจลดคาลวงเวลาและใหพนักงานทํางานหนักมากข้ึน

จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยแมโจนี้ แสดงใหเห็นวาผลกระทบของนโยบายเพิ่มคาแรง แมจะทําใหแรงงานไดรับคาแรงมากข้ึน แตในขณะเดียวก็ตองเสียคาใชจายเพ่ิมข้ึน เนื่องจากสินคาราคาสูงขึ้น เพราะบริษัทตางๆ มีตนทุนสูงข้ึนจากการเพ่ิมคาแรงใหแรงงาน ซ่ึงแสดงใหเห็นวานี่ไมใชการเพิ่มคุณภาพชีวิตท่ีแทจริงใหกับแรงงาน หรือพูดไดอีกอยางวานโยบายน้ีไมมีประสิทธิผลอยางท่ีต้ังเปาหมายไว 2.7.3 เกียรติอนันต ลวนแกว (2555) ศึกษาเร่ือง “คาแรงข้ันตํ่า : บทเรียน ผลกระทบ และการ

Page 58: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

71

ปรับตัว” ซ่ึงเปนการศึกษาผลกระทบของคาแรงข้ันตํ่าท่ีมีตอการจางงานและผูประกอบการใน 18 ประเทศท่ัวโลก เพื่อนํามาใชวิเคราะหผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนกับตลาดแรงงานของไทย ผลการศึกษาพบวาการข้ึนคาแรงจะทําใหมีการเลิกจางในระดับท่ีแตกตางกัน หากเพิ่มคาแรงมากกวารอยละ 40 ของคาแรงเฉล่ีย จะยิ่งทําใหเกิดการเลิกจาง โดยเฉพาะแรงงานท่ีเปนเยาวชนและแรงงานของธุรกิจ SMEs สวนนโยบายคาแรง 300 บาท ของไทย ทําใหมีการเพิ่มคาแรงข้ึนเปนรอยละ 75 ของคาแรงเฉล่ียของประเทศ จึงเล่ียงไมไดท่ีจะมีการเลิกจางเกิดข้ึน ท้ังนี้ การกําหนดคาแรงข้ันตํ่าควรแยกตามกลุมอายุ เพราะคนแตละชวงวัยมีภาระในการใชจายและทักษะแตกตางกัน อีกท้ังคาแรงขั้นตํ่ายังควรแตกตางกันในแตละภูมิภาค เนื่องจากศักยภาพในการผลิตของแตละภูมิภาคมีความแตกตางกัน ซ่ึงการกําหนดใหทุกภูมิภาคมีคาแรงข้ันตํ่าเทากันหมดจะสงผลเสียในระยะยาว โดยเฉพาะในภูมิภาคที่มีผลิตภาพการผลิตตํ่า จากการสํารวจยังพบวาสถานประกอบการของไทยขาดแรงงานท่ีมีคุณสมบัติตามท่ีนายจางตองการมากท่ีสุดในอาเซียน แตในขณะเดียวกันการปรับข้ึนคาแรงเปนวันละ 300 บาท ทําใหไทยมีคาแรงสูงเปนอันดับท่ีสองในอาเซียนรองจากฟลิปปนส ซ่ึงทําใหคาแรงมีความผกผันกับคุณภาพหรือฝมือแรงงานอยางชัดเจน อันจะกอใหเกิดปญหาตอผูประกอบการในระยะยาว ซ่ึงนอกจากตองเพ่ิมตนทุนการผลิตจากการเพิ่มคาแรงแลว ยังทําใหผลิตผลไมคุมทุน ผลประกอบการลดลงเร่ือยๆ จนในท่ีสุดก็ไมสามารถดําเนินกิจการตอไปได

จากงานวิจัยเกียรติอนันต ลวนแกว แสดงใหเห็นวาการกําหนดนโยบายคาแรงข้ันตํ่า ตองพิจารณาปจจัยตางๆ ท่ีเกี่ยวของหลายดาน ซ่ึงนอกจากตองดูความแตกตางของผลิตภาพในแตละภูมิภาคของประเทศแลว ยังตองดูความเหมาะสมของทักษะฝมือแรงงานเม่ือเปรียบเทียบกับคาแรงในตางประเทศ หรือในภูมิภาคเดียวกันดวย ซ่ึงเร่ืองนี้มีความจําเปนอยางมาก โดยเฉพาะในสถานการณท่ีไทยกําลังกาวเขาสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC 2.7.4 ธนิต โสรัตน (2554) ศึกษาเกี่ยวกับ “นโยบายคาจางข้ันตํ่าวันละ 300 บาทตอวันท่ัวประเทศ กับผลกระทบทางเศรษฐกิจของประเทศไทย” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจของท้ังภาคการผลิตและในระดบัมหภาค รวมถึงเพื่อเสนอแนะมาตรการชวยเหลือหากรัฐยังตองดําเนินนโยบายดังกลาว ท้ังนี้ผลการศึกษาพบวา ภาคการผลิตรอยละ 90 - 92 ไมสามารถจายคาจางข้ันตํ่าตามนโยบายของรัฐบาล และมีเพียงรอยละ 3 - 6 เทานั้น ท่ีไมไดรับผลกระทบจากการปรับคาจาง สําหรับผลกระทบในระดับมหภาคพบวานโยบายการเพิ่มคาแรงข้ันตํ่าสงผลกระทบตอดังนี้

1) กระทบตอการสงออก ทําใหขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมท่ีใชแรงงานจํานวนมากในกระบวนการผลิตลดลง เนื่องจากตนทุนการผลิตสูงข้ึน

2) ทําใหเกิดภาวะเงินเฟอ เนื่องจากการเพ่ิมคาแรงข้ันตํ่า ทําใหตนทุนการผลิตของผูประกอบการเพ่ิมข้ึน ผูประกอบการจึงผลักภาระใหกับผูบริโภค โดยการเพิ่มราคาสินคา บวกกับ

Page 59: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

72

อัตราเงินเฟอท่ีเกิดข้ึนจากนโยบายอ่ืนๆ ของรัฐบาล ยิ่งทําใหเกิดภาวะเงินเฟอมากข้ึน 3) สงผลใหการกระจายรายไดกระจุกตัว เม่ือการเพิ่มคาแรงทําใหตนทุนการผลิต

เพิ่มข้ึน การผลิตสินคาหรือการต้ังอุตสาหกรรมจะอยูเฉพาะในเมืองใหญหรือเฉพาะปริมณฑล เนื่องจากผูประกอบการตองการประหยัดคาขนสง ซ่ึงถือเปนตนทุนในการผลิตอีกสวนหนึ่งเชนกัน เม่ือเปนเชนนี้ รายไดก็จะกระจุกตัวอยูในเฉพาะเมืองใหญเทานั้น

4) กระทบตอการลงทุน เนื่องจากประเทศไทยยังตองพึ่งพาการลงทุนจากตางประเทศ การเพิ่มคาแรงอาจทําใหการลงทุนจากตางประเทศชะลอตัวลง โดยนักลงทุนจะหันไปลงทุนพื้นท่ีใกลเคียงอยางเพื่อนบานของเราแทน

5) แรงงานผิดกฎหมายไหลเขามามากข้ึน เนื่องจากคาแรงท่ีปรับข้ึนสูงกวาประเทศเพื่อนบาน 3 - 5 เทา

สําหรับมาตรการในการดําเนินนโยบายที่ดีนั้นการศึกษาน้ีเห็นวาควรทยอยปรับคาจางข้ันตํ่าเปนแบบข้ันบันได ปละรอยละ 10 ควรแยกคาจางข้ันตํ่าออกจากแรงงานฝมือ ควรปรับคาแรงตามความเหมาะสม โดยไมยึดท่ีอัตรา 300 บาทท่ัวประเทศ และควรนําคาจางตามอัตภาพและคุณภาพชีวิตมาเฉล่ียเปนคาจางแบบพบกันคร่ึงทาง และทําแยกเปนรายจังหวัด

จากการศึกษาของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยน้ี ทําใหทราบถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในแตละดานและทราบถึงแนวทางท่ีเหมาะสมในการกําหนดคาแรงข้ันตํ่า ซ่ึงควรพิจารณาแยกเปนแรงงานฝมือและแรงงานไรฝมือ และแยกเปนแตละจังหวัดตามอัตภาพของผูจางดวย จึงจะเกิดความเปนธรรมท้ังตอลูกจางและนายจาง 2.7.5 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) และสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) (2555) ศึกษา “ผลกระทบของการดําเนินนโยบายรายได คาแรงไมนอยกวา 300 บาทตอวัน และเงินเดือนปริญญาตรีไมนอยกวา 15,000 บาท ท่ีมีผลตอโครงสรางเศรษฐกิจไทย” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลกระทบจากนโยบายดังกลาวและหาแนวทางท่ีเหามะสมในการแกไขผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงผลการศึกษาพบวา ผลกระทบดานดีจากการมีรายไดเพิ่มข้ึนทําใหเกิดการใชจายมากข้ึนในระบบเศรษฐกิจ สําหรับแรงงานมีอัตราการเหล่ือมลํ้าทางรายไดลดลง สวนดานเสีย คือ ทําใหตนทุนการผลิตของภาคเอกชนมากข้ึน สําหรับขอแสนอแนะในการดําเนินนโยบายการปรับคาแรงข้ันตํ่าวันละ 300 บาท ควรเปนการปรับอยางเปนข้ันเปนตอน หรือเล่ือนออกไปกอน อีกท้ังตองควบคุมราคาสินคาเพื่อไมใหตนทุนการผลิตสูงข้ึนมากเกินไป งานวิจัยของ TDRI และ วช. นี้ สะทอนใหเห็นถึงผลกะทบท่ีเกิดข้ึนจากคาแรงข้ันตํ่าวัน ละ 300 บาท เกิดผลเสียมากกวาผลดี แตก็ไมไดหมายความวาแรงงานไมสมควรไดรับคาตอบแทนเพิ่ม หากแตควรตองเปล่ียนแปลงวิธีการใหเหมาะสมและเปนธรรมมากข้ึนดังขอเสนอแนะจากงานวิจัยดังกลาว 2.7.6 พงษเทพ พินัยนิติศาสตร (2549) ศึกษาเร่ือง “กระบวนงานนโยบายสาธารณะดาน

Page 60: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

73

พลังงานในสังคมไทย : พัฒนาการและกรอบการวิเคราะห” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาภาพรวมของพัฒนาการของกระบวนงานนโยบายสาธารณะดานพลังงานในสังคมไทย และวิเคราะหกระบวนงานนโยบายสาธารณะดานพลังงานจากโครงการท่ีใชเปนกรณีศึกษา เพื่อใหทราบถึงสาเหตุท่ีมาของโครงการและผลกระทบที่เกิดข้ึน ตลอดจนเพ่ือจัดทํากรอบการวิเคราะหนโยบายพลังงานท่ีสอดคลองกับบริบทของสังคมไทย โดยวิธีการศึกษาเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ท้ังนี้ผลการศึกษาพบวา กระบวนการกําหนดนโยบายพลังงานในสังคมไทยมีพัฒนาการสัมพันธกับปจจัยแวดลอมนโยบายพลังงานท้ังเชิงลบและเชิงบวก จากการศึกษาของพงษเทพ พินัยนิติศาสตร สามารถเช่ือมโยงกับงานวิจัยช้ินนี้ไดในเชิงของกระบวนการกําหนดนโยบาย ซ่ึงสะทอนใหเห็นวา การกําหนดนโยบายในแตละชวงตองมีความสอดคลองกับบริบทท่ีเปล่ียนแปลงไป ดังนั้น การกําหนดนโยบายคาแรงข้ันตํ่า ก็จําเปนตองพิจารณาถึงบริบทตางๆ อยางรอบดานเชนกัน 2.7.7 จารุวงศ เรืองสุวรรณ และคณะ (2556) ไดศึกษาเร่ือง “ผลสัมฤทธ์ิการนํานโยบายการบริหารจัดการพื้นท่ีสีเขียวไปปฏิบัติในเขตบางกะป กรุงเทพมหานคร” มีเปาหมายเพ่ือศึกษานโยบายการจัดการส่ิงแวดลอมกับพื้นท่ีสีเขียว การนํานโยบายการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมไปปฏิบัติ รวมถึงศึกษาวิธีการและรูปแบบการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมพื้นท่ีสีเขียว ผลการศึกษาพบวา ในดานนโยบายการจัดการส่ิงแวดลอมกับพื้นท่ีสีเขียว การกําหนดนโยบายของรัฐบาลตองมีความสอดคลองกับนโยบายของกรุงเทพมหานคร โดยนโยบายของรัฐบาลกับกรุงเทพฯ มีความแตกตางกัน กลาวคือ นโยบายของรัฐบาลเนนการแกปญหาในเชิงกวาง สวนนโยบายของกรุงเทพฯ เนนการแกปญหาแบบเฉพาะเจาะจงและสามารถแกปญหาส่ิงแวดลอมดานพื้นท่ีสีเขียวไดดีกวา ในดานการนํานโยบายการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมไปปฏิบัติ มีกระบวนการเร่ิมจากการกําหนดภารกิจและมอบหมายงานแตฝายท่ีเกี่ยวของอยางชัดเจน โดยผูบริหารตองดูแลและจัดสรรทรัพยากรใหมีความเหมาะสม เนนการมีสวนรวมจากทุกระดับ เนนการดําเนินงานใหบรรลุผลตามเปาหมาย และเปนไปตามความตองการของประชาชนทุกฝาย สวนดานวิธีการและรูปแบบการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมพื้นท่ีสีเขียว สํานักเขตบางกะปเนนการพัฒนาพื้นท่ีสีเขียวใหเปนแหลงทองเท่ียว แหลงสันทนาการ และแหลงศิลปะการผังเมือง จากการศึกษาของจารุวงศ เรืองสุวรรณ และคณะ สามารถเช่ือมโยงกับการศึกษาวิจัยช้ินนี้ในเร่ืองของการนํานโยบายไปปฏิบัติ กลาวคือ การนํานโยบายไปปฏิบัตินั้นนอกจากตองกําหนดภารกิจ และมอบหมายงานใหชัดเจนแลว ตองอาศัยการมีสวนรวมและสอดคลองกับความตองการของประชาชนทุกฝายดวย ซ่ึงในท่ีนี้ การกําหนดนโยบายคาแรงข้ันตํ่าวันละ 300 บาทนี้ กําหนดข้ึนโดยอาศัยความเห็นของกลุมผูนําเปนหลัก ไมไดสอบถามความเห็นและความพรอมของทุกฝายท่ีเกี่ยวของ โดยเฉพาะฝายนายจาง ซ่ึงมีบางกลุมท่ีไดรับผลกระทบ โดยเฉพาะกลุมธุรกิจ SMEs 2.7.8 ฆนิศา งานสถิร (2553) ไดศึกษา เร่ือง “กระบวนการนํานโยบายคืนคนดีสูสังคมไปสู

Page 61: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

74

การปฏิบัติของกรมราชทัณฑ : การเตรียมความพรอมผูตองขังกอนปลอย” การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษากระบวนการนํานโยบายคืนคนดีสูสังคมในสวนการเตรียมความพรอมผูตองขังกอนปลอย และการเสริมพลังอํานาจท่ีเกิดข้ึนในกระบวนการ จากการศึกษาพบวา กระบวนการนํานโยบายคืนคนดีสูสังคมไปปฏิบัติ เปนกระบวนการท่ีตองใชกระบวนทัศน คานิยม และกระแสสังคมมาเปนแนวทางในการปฏิบัติ โดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน และศักดิ์ศรีความเปนมนุษยมาใชในการกําหนดนโยบายและบังคับใชนโยบาย รวมถึงการใหฝายตางๆ เขามามีสวนรวมในกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติ ซ่ึงการนําองคประกอบเหลานี้มาใชในกระบวนการกําหนดและนํานโยบายไปปฏิบัติสงผลใหการบังคับใชนโยบายประสบความสําเร็จไดดียิ่งข้ึน จากการศึกษาของฆนิศา งานสถิร สามารถนํามาใชในการวิจัยนี้ได ในสวนของกระบวนการบังคับใช กลาวคือ ตองพิจารณาถึงบริบทแวดลอมท่ีเกี่ยวของกับนโยบายน้ันๆ สําหรับนโยบายการเพ่ิมคาแรงข้ันตํ่าก็ตองพิจารณาถึงความพรอมหรือความตองการของท้ัง 3 ฝายท่ีมีบทบาทเกี่ยวของในการกําหนดคาแรงข้ันตํ่า นั่นคือ ฝายนายจาง ฝายลูกจาง และฝายรัฐบาล ซ่ึงจะชวยใหการนํานโยบายมาปฏิบัติมีความสมดุล สามารถแกปญหาใหแกทุกฝายได ไมใชการแกใหฝายหนึ่งฝายใดเพียงฝายเดียว แลวท้ิงภาระใหอีกฝาย 2.7.9 William M. K. Trochim (2009) ไดศึกษาเร่ือง การประเมินนโยบายและการประเมินการปฏบัติ (Evaluation Policy and Evaluation Practice) ซ่ึงมีเปาหมายเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการประเมินนโยบายในอนาคต จากการศึกษาคร้ังนี้พบวา การประเมินนโยบายตองการแนวความคิดท่ีเช่ือมโยงกับการปฏิบัติ ตองคํานึงถึงผลกระทบในดานตางๆ อยางรอบดาน ตองคํานึงถึงบริบทแวดลอมในขณะน้ัน ท้ังสถานการณภายในและภายนอกประเทศ ตองคํานึงถึงฝายท่ีเกี่ยวของทุกฝาย ซ่ึงควรใหฝายท่ีเกี่ยวของเขามารวมกันแกปญหา งานวิจัยของ William M. K.Trochim มีความเกี่ยวของกับงานวิจัยช้ินนี้ในเร่ืองของกระบวนการกําหนดนโยบาย ซ่ึงตองมีการประเมินเพื่อนํามาสูการกําหนดนโยบาย กอนท่ีนําไปสูการปฏิบัติ ซ่ึงจากงานวิจัยของ William M. K.Trochim ช้ีใหเห็นวาการประเมินนโยบายตองอยูบนพื้นฐานความเปนจริง หรือสอดคลองกับสถานการณท่ีเกิดข้ึน โดยเปดโอกาสใหฝายตางๆ ท่ีเกี่ยวของเขามาหารือ เพื่อรวมกันแกไขปญหา การกําหนดนโยบายคาแรงข้ันตํ่าวันละ 300 บาท ก็เชนเดียวกัน รัฐบาลควรเปดโอกาสใหทุกฝายท่ีเกี่ยวของเขามารวมกันแกไขปญหา เพื่อหาทางออกรวมกัน แตการกําหนดนโยบายคาแรงขั้นตํ่าวันละ 300 บาทนี้ เปนการกําหนดและตัดสินใจของรัฐบาลฝายเดียว ซ่ึงท่ีจริงแลวควรมีฝายนายจางและลูกจางเขามาหารือรวมกันดวย เพื่อพิจารณาวาทุกฝายสามารถปฏิบัติรวมกันไดหรือไม โดยเฉพาะฝายนายจางซ่ึงรวมถึงสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมดวย โดยตองหาแนวทางปองกันหรือแนวทางแกปญหาจากผลกระทบดานลบท่ีอาจเกิดข้ึนดวย 2.7.10 ศุลีพร ปานตะระษี (2549) ไดศึกษาเร่ือง “นโยบายและผลกระทบของการแกไข

Page 62: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

75

ปญหาความยากจนของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษานโยบายและผลการดําเนินงานตามโครงการแกไขปญหาความยากจนของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และเพื่อศึกษาผลกระทบจากการดําเนินนโยบายแกไขปญหาความยากจนดังกลาว รวมถึงปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน ผลการศึกษาดานผลกระทบจากนโยบายการแกไขปญหาความยากจนพบวา นโยบายดังกลาว ดําเนินการโดยการสนับสนุนตัวเงินใหกับประชาชนระดับรากหญา เปนการเปดโอกาสใหประชาชนกลุมนี้เขาถึงแหลงเงินทุนไดงายข้ึน แตอยางไรก็ตามเงินทุนท่ีไดมา ประชาชนมักนําไปใชผิดวัตถุประสงค เชน การเอาไปใชหนี้นอกระบบท่ีมีอัตราดอกเบ้ียสูงกวา และนําไปใชจายบริโภคส่ิงของฟุมเฟอย ทําใหมีหนี้สินเพิ่มมากข้ึน ส่ิงเหลานี้ทําใหผลการดําเนินโครงการไมเปนไปตามวัตถุประสงคและสงผลเสียตอประชาชน ทําใหส้ินเปลืองงบประมาณโดยไมคุมคา 2.7.11 สุภาวดี โพธิยะราช และคณะ (2553) ไดศึกษาเร่ือง “ผลกระทบของนโยบายการคาเสรีตอเศรษฐกิจไทย กรณีการนําเขาผักและผลไมจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน” โดยมีวัตถุประสงคในภาพรวมคือศึกษาผลกระทบของนโยบายดังกลาว ผลการศึกษาพบวา สําหรับเกษตรกรที่ปลูกทุเรียน ลําไย มังคุดและกลวยไข ท่ีสามารถบังคับใหออกนอกฤดูได จะไดมีโอกาสไดขายสินคาท่ีมีราคาสูงข้ึน แตก็ยังมีผลกระทบดานลบ คือ ประเทศไทยมีภูมิอากาศท่ีรอนทําใหเนาเสียไดงาย และตนทุนการผลิตสูงกวาประเทศจีน ทําใหผลไมท่ีนําเขาจากจีนมีราคาถูกกวา ผูบริโภคในไทยจึงตัดสินใจซ้ือผลไมท่ีมาจากจีนมากข้ึน นอกจากนี้ จากนโยบายการคาเสรีกับจีนนี้สงผลใหพอคาคนจีนเขามาทําธุรกิจคาผักผลไมในไทยจํานวนมาก ซ่ึงสินคาท่ีมาจากจีนมีราคาถูกกวาของไทยมาก ทําใหไทยเสียเปรียบดานราคา ในขณะท่ีพอคาไทยท่ีไปคาขายผักผลไมในจีนกลับพบกับขอจํากัดของจีนท่ีเขมงวดท้ังดานภาษีและกฎหมาย อีกท้ังรัฐบาลจีนสนับสนุนดานเงินทุนใหกับภาคเอกชนในการผลิตและการยกเวนภาษี ทําใหพอคาจีนไดเปรียบพอคาไทยในแงนี้ดวย จากผลกระทบของนโยบายการเปดการคาเสรีกรณีผักผลไมนี้ ไดสงผลกระทบตอผูคาผักผลไมไทยในดานลบคอนขางมาก ท้ังในดานราคา และการขาดการสนับสนุนดานเงินหรือดานภาษีจากรัฐบาล ทําใหไมสามารถแขงขันกับคาจีนได สงผลตอระบบเศรษฐกิจของไทยเองซ่ึงไดรับผลกระทบจากยอดขายสินคาเกษตรสวนนี้ลดลง และยังมีการบริโภคผลไมท่ีมาจากจีนมากข้ึน 2.7.12 กลุมนักวิเคราะหเศรษฐกิจโลก (Global Economic Analysis) (2015) ไดศึกษาเร่ือง “ผลกระทบจากนโยบายการเงิน” (Effect of Monetary Policy) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลกระทบจากนโยบายการเงิน ผลการศึกษาพบวา นโยบายดานการเงินจะสงผลกระทบท้ังตอราคาสินคาและรายไดของประชาชน เชน นโยบายการเงินแบบขยายตัว (Expansionary Monetary Policy) คือ นโยบายการเงินท่ีมุงตอการเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ แตในความเปนจริงแลว อัตราสวนผลประโยชนจริงจะลดลง การเงินและทรัพยสินภายในประเทศมีความนาสนใจนอยลงเน่ืองจากไดรับผลตอบแทนนอยลง ชาวตางชาติจะลดปริมาณการซ้ือหุน อสังหาริมทรัพย และสินทรัพยอ่ืนๆ

Page 63: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

76

บัญชีการเงินจะนอยลงเน่ืองจากชาวตางชาติถือครองทรัพยสินนอยลง นักลงทุนในประเทศก็มีแนว โนมท่ีจะลงทุนในตางประเทศมากข้ึน จากการกําหนดนโยบายนโยบายการเงินแบบขยายตัว ท่ีมุงเพิ่มเงินในระบบเศรษฐกิจกลับสงผลกระทบดานลบตอระบบ และยังทบตอประชาชนทุกภาคสวนอีกดวย เพราะทุกคนถือเปนสวนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจ จึงอาจกลาวไดวา การกําหนดนโยบายสาธารณะสงผลกระบอยางกวางขวาง และอาจสงผลในแงลบ แมวาจะมีดจุดมุงหมายของนโยบายในแงบวกเทานั้นก็ตาม 2.7.13 Costas Meghir, Mårten Palme, and Marieke Schnabel (2012) ไดศึกษาเร่ือง .ผลกระทบของนโยบายการศึกษาตออาชญากรรม กรณีมุมมองในระดับนานาชาติ (The effect of education policy on crime : An international perspective) การศึกษานี้อยูบนสมมติฐานท่ีวา การปฏิรูปการศึกษาในสวีเดนสามารถลดปญหาอาชญากรรมได ซ่ึงมีผลมาจากการพัฒนาของครอบครัวและการเปนพอแมท่ีมีคุณภาพมากข้ึน ผลการศึกษาพบวา การปฏิรูปการศึกษาท่ีครอบคลุมของสวีเดนสงผลใหอัตราการกออาชญากรรมลดลงอยางมาก ซ่ึงจากการศึกษานี้เพศชายไดรับอิทธิจากการแปรรูปนี้มาก เนื่องจากเพศชายไดรับการศึกษาสูงข้ึนและเกี่ยวของกับกิจกรรมดานอาชญากรรมนอยลง ซ่ึงการศึกษานี้แสดงใหเห็นวา การที่พอมีการศึกษาสูงข้ึนเปนการพัฒนาทรัพยากรใหชวยลดอัตราการกออาชญากรรมของคนรุนพอได และพอก็สามารถพัฒนาทักษะทางสังคมใหกับลูกๆ ไดเปนยางดี สามารถเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีมีแนวโนมสูการกออาชญากรรมไปสูพฤติกรรมท่ีดีข้ึนได จากการศึกษานี้แสดงใหเห็นวานโยบายหนึ่งๆ ไมไดสงผลเฉพาะในเร่ืองท่ีกําหนดเปาหมายไวเทานั้น แตยังสงผลตอเร่ืองอ่ืนๆ อีกดวย ซ่ึงอาจมีท้ังแงดีและแงลบ จากการศึกษางานวิจัยตางๆ ท่ีศึกษาถึงผลกระทบของนโยบายคาจางข้ันตํ่า รวมถึงกระบวนการบริหารนโยบายของภาครัฐ แสดงใหเห็นถึงแนวทางเกี่ยวกับนโยบายดังกลาวไดวามีท้ังดานดีและดานเสีย กลาวคือ ผลกระทบดานดีนั้น ทําใหแรงงานไดรับคาตอบแทนมากข้ึน มีอํานาจในการใชจายมากข้ึน แตจากการใชนโยบายดังกลาวก็เกิดผลกระทบดานลบดวยเชนกัน โดยการเพิ่มคาแรงเปนการเพิ่มตนทุนการผลิตใหกับผูประกอบการ จึงไดสงผลใหตนทุนการผลิตสูงข้ึน ซ่ึงในระยะยาวผูประกอบการอาจแบกรับภาระไมไหว อาจทําใหตองปดกิจการลงได การเพิ่มคาแรงยังกระทบในดานลบตอการสงออกและการลงทุนจากตางประเทศดวย ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการมีตนทุนสูงข้ึนนั่นเอง แตอยางไรก็ตาม การเพิ่มคาแรงข้ันตํ่า ยังคงมีความจําเปนแตตองดูความเหมาะสมท้ังในดานทักษะฝมือแรงงาน ภาระในการใชจายของแรงงานในแตละชวงอายุ และศักยภาพในการจายของผูประกอบการควบคูกันไป ในดานของกระบวนการกาํหนดนโยบายยังพบวานโยบายคาแรงข้ันตํ่าวันละ 300 บาท ยังขาดการดําเนินการท่ีถูกตอง หรือขาดข้ันตอนท่ีสําคัญไป นั่นคือ การหารือรวมกันระหวางฝายท่ีเกี่ยวของกับนโยบายนี้ท้ังหมด โดยเฉพาะฝายนายจาง ซ่ึงไดรับผลกระทบโดยตรง โดยเฉพาะ

Page 64: บทที่ 2dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4891/7/บท... · 2017-03-07 · 2.1.2.1 ตัวแบบกล ุ ม (Group Model) Thomas R. Dye (1995, pp.19 - 21) เห็นว

77

นายจางท่ีเปนสถานประกอบการขนาดเล็กจะยิ่งไดรับผลกระทบงาย เนื่องจากสายปานการผลิตส้ัน การเพิ่มคาแรงแกลูกจาง ถือเปนการเพิ่มตนทุนการผลิต ตองใชทุนในการผลิตเพิ่มข้ึน สงผลกระทบใหระบบการบริหารจัดการขาดเสถียรภาพ การบริหารการเงินขาดสภาพคลอง นอกจากนี้จากการศึกษางานวิจัยดังขางตน ยังพบวาการกําหนดนโยบายสาธารณะนโยบายใดนโยบายหน่ึงนั้น ไมสงผลกระทบเทาท่ีกําหนดไวในแผนงานเทานั้น หากแตสงผลกระทบในภาคอ่ืนๆ อยางมากหรือสงผลโดยตรงอีกดวย