อาณาจักรสัตว์ kingdom animalia หรือ metazoa

48
อออออออออออออ KINGDOM ANIMALIA ออออ METAZOA

Upload: idra

Post on 24-Feb-2016

1.664 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

อาณาจักรสัตว์ Kingdom Animalia หรือ Metazoa. ลักษณะของ Kingdom Animalia. มีเซลล์ชนิดยูคาริโอต ( Eukaryotic cell) เป็นผู้บริโภคตลอดชีวิต (Consumer) เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ( multicellular organism) บางพวกไม่มีเนื้อเยื่อ - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

อาณาจกัรสตัว์KINGDOM ANIMALIA หรอื METAZOA

ลักษณะของ KINGDOM ANIMALIA1 .มเีซลล์ชนิดยูคารโิอต (Eukaryotic

cell)2. เป็นผู้บรโิภคตลอดชวีติ (Consumer)3. เป็นสิง่มชีวีติหลายเซลล์ (multicellular

organism) บางพวกไมม่เีนื้อเยื่อ4. มกีารเคลื่อนไหวหรอืการเคล่ือนที่ตอบ

สนองสิง่เรา้ได้อยา่งรวดเรว็ เนื่องจากมีระบบประสาท บางชนิดมกีารเคล่ือนท่ีเฉพาะในบางชว่งของชวีติ

เกณฑ์ท่ีใชใ้นการจำาแนกหมวดหมูข่องอาณาจกัรสตัว์1 .ระดับการทำางานของเน้ือเยื่อ1.1 เนื้อเยื่อท่ีไมแ่ท้จรงิ (No true tissue)

เรยีกสตัวก์ลุ่มนี้วา่ พาราซวั (Parazoa)

เซลล์ในสตัวก์ลุ่มนี้ไมม่กีารประสานงานกันระหวา่งเซลล์ โดยเซลล์ทกุเซลล์จะมหีน้าท่ีในการดำารงชวีติของตนเอง

หน้าท่ีท่ัวไปคือด้านโภชนาการ และสบืพนัธุ ์ได้แก่ พวกฟองนำ้า

1.2 เนื้อเยื่อท่ีแท้จรงิ (True tissue) เรยีกสตัวก์ลุ่มนี้วา่ ยูเมตาซวั (Eumetazoa) ซึง่เน้ือเยื่อจะถกูสรา้งขึน้เป็นชัน้ หรอืเรยีกวา่ ชัน้ของเนื้อเยื่อ (Germ layer) ม ี2 ประเภทคือ

1.2.1 เนื้อเยื่อ 2 ชัน้ (Diploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชัน้นอก (Ectoderm) และเนื้อเยื่อชัน้ใน (Endoderm) ได้แก่ พวกไฮดรา แมงกะพรุน

1.2.2 เนื้อเยื่อ 3 ชัน้ (Triploblastica) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชัน้นอก ชัน้กลาง (Mesoderm) และชัน้ใน ได้แก่พวกหนอนตัวแบนขึน้ไป จนถึงสตัวท่ี์มีกระดกูสนัหลัง

2. สมมาตร (SYMMETRY) คือลักษณะการแบง่รา่งกายออกเป็นซกี ๆ

ตามความยาวของซกีเท่า ๆ กัน มอียู ่3 ลักษณะ ได้แก่

2.1 ไมม่สีมมาตร (Asymmetry) มรูีปรา่งไมแ่น่นอน ไมส่ามารถแบง่ซกีซา้ยและซกีขวาได้ เท่า ๆ กัน ได้แก่ พวกฟองนำ้า

2.2 สมมาตรแบบรศัม ี(Radial symmetry) ได้แก่ สตัวพ์วกไฮดรา แมงกะพรุน ดาวทะเล เมน่ทะเล

2.3 สมมาตรแบบครึง่ซกี (Bilateral symmetry) หรอืมสีมมาตรท่ีผ่าซกีได้เท่า ๆ กัน เพยีง 1 ครัง้ ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม แมลง สตัวม์กีระดกูสนัหลัง

3. ลักษณะชอ่งวา่งภายในลำาตัว (BODY CAVITY)• ลักษณะชอ่งวา่งในลำาตัวหรอืชอ่งตัว

(Body cavity หรอื Coelom) • ภายใน Coelom มกัจะมขีองเหลว

อยูเ่ต็ม ทำาหน้าท่ีเสมอืนระบบไหลเวยีนโลหิตง่าย ๆ

• ชว่ยลำาเลียงสารอาหาร ออกซเิจน และของเสยี

• ลดแรงกระแทกจากภายนอกท่ีอาจเป็นอันตรายต่ออวยัวะ

• เป็นบรเิวณท่ีทำาให้อวยัวะภายในเคลื่อนท่ีได้อิสระจากผนังลำาตัว

• ยอมให้อวยัวะขยายใหญ่ได้

3.1 พวกท่ีไมม่ชีอ่งวา่งในลำาตัว (ACOELOMATE ANIMALS)

เน้ือเยื่อ 3 ชัน้อยูช่ดิกัน โดยไมม่ีชอ่งวา่งในแต่ละชัน้ ได้แก่พวกหนอนตัวแบน

2. พวกท่ีมชีอ่งวา่งเทียมในลำาตัว (PSEUDOCOELOMATE ANIMALS)• ชอ่งวา่งเทียม หมายถึง ชอ่งวา่งท่ีไมไ่ด้อยูใ่น

เนื้อเยื่อชัน้กลาง (mesoderm)• ชอ่งวา่งอาจอยูใ่นระหวา่งเนื่อเยื่อชัน้นอก (ectoderm) กับเนื้อเยื่อชัน้กลางหรอื อยู่ระหวา่งเนื้อเยื่อชัน้กลางกับเนื้อเยื่อชัน้ใน (endoderm) ได้แก่ หนอนตัวกลม•

3. พวกท่ีมชีอ่งวา่งท่ีแท้จรงิ (COELOMATE ANIMALS)

Coelomate animal หมายถึง สตัวท่ี์มีชอ่งวา่งในเน้ือเยื่อชัน้กลาง สตัวก์ลุ่มนี้ ได้แก่ กุ้ง ปู แมลง ไสเ้ดือนดิน และสตัวม์ีกระดกูสนัหลังชนิดต่าง ๆ

4. การเกิดชอ่งปาก4.1 โปรโตสโตเมยี (Protostomia)

เป็นสตัวพ์วกท่ีชอ่งปากเกิดก่อนชอ่งทวารในขณะท่ีเป็นเอมบรโิอ

ซึง่ชอ่งปากเกิดจากบลาสโตพอร ์หรอืบรเิวณใกล้ ๆ บลาสโตพอร ์(Blastopore) ได้แก่ พวกหนอนตัวแบนหนอนตัวกลม หนอนมปีล้อง หอย สตัว ์ขาขอ้

4.2 ดิวเทอโรสโตเมยี (Deuterostomia) เป็นสตัวพ์วกท่ีชอ่งปากเกิดภายหลังชอ่งทวาร

เกิดจากชอ่งใหมท่ี่จะเจรญิพฒันาไปเป็นทางเดินอาหารซึง่อยูต่รงขา้มกับ บลาสโตพอร ์ได้แก่ พวกดาวทะเล และสตัวม์กีระดกูสนัหลัง

5. ทางเดินอาหาร (DIGESTIVE TRACT)โดยท่ัวไปแบง่ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 5.1 ทางเดินอาหารแบบไมส่มบูรณ์ (Incomplete digestive tract)

มชีอ่งทางเดินอาหารเขา้ออกทางเดียวกัน หรอืทางเดินอาหารแบบปากถงุ (One-hole-sac)

ได้แก่พวกไฮดรา แมงกะพรุน หนอนตัวแบน

5.2 ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract) เป็นทางเดินอาหารของสตัว์ท่ีมท้ัีงปากและทวารหนัก หรอืมชีอ่งทางเขา้ออกของอาหารคนละทางกัน

ทางเดินอาหารแบบท่อกลวง (Two-hole-tube) ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม จนถึงสตัวม์กีระดกูสนัหลัง

6. การแบง่เป็นปล้อง (SEGMENTATION) 6.1 การแบง่เป็นปล้องเฉพาะภายนอก (Superficial segmentation) เป็นการเกิดปล้องขึน้เฉพาะท่ีสว่นผิวลำาตัวเท่านัน้ไมไ่ด้เกิดตลอดตัว เชน่ พยาธตัิวตืด

6.2 การแบง่เป็นปล้องท่ีแท้จรงิ (Metameric segmentation) เป็นการเกิดปล้องขึน้ตลอดลำาตัวท้ังภายนอกและภายใน

ขอ้ปล้องเกิดขึน้ในเนื้อเยื่อชัน้กลาง ทำาให้เนื้อเยื่อชัน้อ่ืน ๆ เกิดเป็นปล้องไปด้วย ได้แก่ไสเ้ดือน กุ้ง ปู แมลง ตลอดไปจนสตัวม์กีระดกูสนัหลังทกุชนิด

1. ไฟลัมฟอรเิฟอรา (PORIFERA)

ลักษณะของสิง่มชีวีติในไฟลัมพอรเิฟอรา1. มสีมมาตรแบบรศัม ี(Radial symmetry)

หรอืไมม่สีมมาตร (asymmetry)2. มเีน้ือเยื่อ 2-3 ชัน้ - ชัน้นอก ผิวลำาตัวหรอืเอพเิดอรม์สิ - ชัน้ใน มเีซลล์พเิศษเรยีกวา่ โคแอโนไซต์ (Choanocyte หรอื Collar cell) เซลล์มีแฟเจลลา 1 เสน้และมีปลอกคอ (Collar) บุอยู่โดยรอบ เรยีกเซลล์ในชัน้น้ีวา่ ชัน้แกสทรลั(Gastral layer)

1 .ฟอรเิฟอรา (Porifera)3. ทางเดินอาหารเป็นแบบชอ่งรา่งแห

(Channel network) มรูีเปิดเล็ก ๆ ออสเทีย (Ostia) บรเิวณผิวลำาตัวรอบตัวทำาหน้าท่ีเป็น ทางนำ้าไหลเขา้ภายในตัวและมรูีเปิดขนาดใหญ่ออสคิวลัม(Osculum) ทำาหน้าท่ีเป็นทางนำ้าไหลออกจากตัว

4. ฟองนำ้ามรีะบบโครงรา่งคำ้าจุนให้คงรูปอยูไ่ด้ - บางชนิดแขง็เรยีกวา่ ขวาก (spicule) อาจเป็น หินปูน และซลิิกา (silica) เชน่ ฟองนำ้าหินปูน ฟองนำ้าแก้ว

- บางชนิดเป็นเสน้ใยโปรตีน เรยีกวา่ สพองจนิ (spongin) ได้แก่ ฟองนำ้าถตัูว 

5. ไมม่รีะบบหมุนเวยีน ระบบหายใจ ระบบขบัถ่าย และระบบประสาท จะอาศัยการไหลเวยีนนำ้า ฟองนำ้ากินอาหารโดยกรองอาหารท่ีอยูใ่นนำ้าผ่านเขา้รูพรุนรอบตัว หายใจโดยการดดูซมึออกซเิจนท่ีละลายอยูใ่นนำ้าผ่านผนังลำาตัว 

5. มกีารสบืพนัธุแ์บบอาศัยเพศ โดยการสรา้งสเปิรม์และไขผ่สมกัน

ตัวอ่อนท่ีมซีเิลียวา่ยนำ้าได้ การสบืพนัธุแ์บบไมอ่าศัยเพศโดยการแตกหน่อ (budding) ตัวเต็มวยัจะเกาะอยูกั่บท่ี (sessile animal)

2. ไฟลัมไนดาเรยี (PHYLUM

CNIDARIA)

2. ไนดาเรยี (Cnidaria)ไนดาเรยี สว่นใหญ่อาศัยอยูใ่นทะเล เชน่ ปะการงั กัลปังหา ดอกไมท้ะเล แมงกะพรุน สว่นน้อยอยูใ่นนำ้าจดื เชน่ ไฮดรา แมงกระพรุนนำ้าจดื 

ลักษณะของสิง่มชีวีติในไฟลัมไนดาเรยี

1 .มสีมมาตรแบบรศัม ี(Radial symmetry) 

2. มเีน้ือเยื่อ 2 ชัน้ คือ • เน้ือเยื่อชัน้นอก หรอื เอพเิดอรม์สิ

(Epidermis) • เน้ือเยื่อชัน้ในเป็นเยื่อบุทางเดิน

อาหารเรยีกวา่ แกสโทรเดอรม์สิ (Gastrodermis)

• ระหวา่งเน้ือเยื่อมสีารคล้ายวุน้ แทรกอยูเ่รยีกวา่ชัน้มโีซเกลีย (Mesoglea) 

4. ทางเดินอาหารเป็นแบบถงุไมส่มบูรณ์มปีากแต่ไมม่ทีวารหนักชอ่ง ทางเดินอาหารน้ีอยูก่ลางลำาตัวทำาหน้าท่ีเป็นท้ังทางเดินอาหารและระบบหมุนเวยีน เรยีกวา่แกสโทรวาสคลูาร ์คาวตีิ (Gastrovascular carvity)

5. มเีขม็พษิหรอืเนมาโทซสีต์ (Nematocyst)ใชใ้นการป้องกันและฆา่เหยื่อ เนมาโทซสีต์มกัจะอยูกั่นหนาแน่นท่ีบรเิวณหนวด (Tentacle)

5. ไมม่รีะบบหายใจ ระบบหมุนเวยีนโลหิต ระบบขบัถ่าย อาศัยการแพรข่องก๊าซและของเสยีต่างๆระหวา่งนำ้าท่ี อยูร่อบๆตัวกับผิวลำาตัวโดยตรง 6. ระบบประสาทเป็นแบบขา่ยใยประสาท (Nerve net) แผ่กระจายท่ัวตัว และหนาแน่นบรเิวณหนวดการนำากระแสประสาทจงึทกุทิศทกุทาง ชา้และมทิีศทางไมแ่น่นอน 

7. รูปรา่งเป็น 2 แบบ โพลิป (Polyp) คือ รูปรา่งแบบ

ต้นไมเ้รยีกวา่ เชน่ ไฮดรา ปะการงั ดอกไมท้ะเล

เมดซูา (Medusa) คือรูปรา่งคล้ายรม่หรอืกระด่ิงควำ่า เรยีกวา่ ได้แก่ แมงกะพรุน 

8. การสบืพนัธุ ์มท้ัีงแบบอาศัยเพศและแบบไมอ่าศัยเพศแบบอาศัยเพศ

การสบืพนัธุแ์บบไมอ่าศัยเพศมกัจะเป็นแบบการแตกหน่อ (Budding)

3. ไฟลัมแพลทีเฮลมนิเทส (PHYLUM

PLATYHELMINTHES)

3. แพลทีเฮลมนิเทส (Platyhelminthes)1 .มสีมมาตรเป็นแบบครึง่ซกี

(bilateral symmetry) 2. มเีนื้อเยื่อ 3 ชัน้ครบถ้วน

(triloblastics) 3. ไมม่ชีอ่งตัว(acoelomate)4. บางชนิดมซีเิลีย เชน่ พลานาเลีย บาง

ชนิดมคิีวทิเคิล (cuticle) หุ้มและมีปุ่มดดู หรอืขอเก่ียว (hooks) สำาหรบัยดึเกาะกับโฮสต์ (host) เชน่ พยาธิใบไม ้(flukes) พยาธตัิวตืด (tapeworms) 

5. รา่งกายแบนทางด้านหลังและด้านท้อง (dorsoventrally) 6. พวกท่ีมกีารดำารงชวีติอยา่งอิสระจะมเีมอืกลื่น ๆ หุ้มตัวเพื่อใช้ในการเคลื่อนท่ี 7. พวกท่ีดำารงชวีติแบบปรสติ (parasitic type) จะมคิีวทิเคิล (cuticle) หุ้มตัวซึง่สรา้งจากเซลล์ท่ีผิวของลำาตัว ทำาหน้าท่ีป้องกันอันตรายซึง่เกิดจากนำ้ายอ่ยของผู้ถกูอาศัย (host) 

8. ระบบขบัถ่าย โพรโตเนฟรเิดีย (protonephridia) • เป็นท่อท่ีปลายด้านในปิดและมท่ีอไปเปิดออก

ด้านนอก มท่ีอตามยาวหลายท่อ (protonephridial canal) จากท่อเล็ก ๆ น้ีจะมท่ีอแยกไปเป็นท่อยอ่ย (capillary) ท่ีปลายท่อยอ่ยมเีซลล์โพรโตเนฟรเิดียลักษณะเป็นรูปถ้วย (flame bulb) มีแฟลกเจลลัมเป็นกระจุกอยูด้่านในของถ้วย ซึง่จะโบกพดัไปมาคล้ายเปลวเทียน จงึเรยีกวา่ เฟลมเซลล์ ทำาให้เกิดแรงดึงนำ้าผ่านเขา้สู่ท่อของเสยีท่ีโพรโตเนฟรเิดีย กำาจดัออกในรูปของแอมโมเนียท่ีละลายอยูใ่นนำ้า ซึง่จะไหลออกมาตามท่อและออกสูภ่ายนอกทางชอ่งเปิดท่ีเรยีกวา่ เนฟรดิิโอพอร ์(nephridiopore) 

protonephridia

8.ไมม่อีวยัวะท่ีใชใ้นการหายใจโดยเฉพาะ ในพวกปรสติจะหายใจแบบไม่ใชอ้อกซเิจน (anaerobic respiration) เชน่ พยาธใิบไม ้สว่นพวกท่ีดำารงชวีติอยา่งอิสระจะหายใจแบบใชอ้อกซเิจน (aerobic respiration) โดยใชผ้ิวตัวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส 

9. ระบบประสาท ประกอบด้วยปมประสาทด้านหน้า (anterior ganglia)

หรอืปมประสาท รูปวงแหวน (nerve ring) ทำาหน้าเป็นสมองเชื่อมระหวา่งเสน้ประสาทใหญ่ตามยาว (longitudinal nerve cord) ทอดไปตามยาวของรา่งกายจำานวน 2 เสน้ และมเีสน้ประสาทตามขวาง (transverse nerve) เชื่อมระหวา่งเสน้ประสาทใหญ่ทั้งสองด้วย มีอวยัวะรบัสมัผัสแบบง่าย ๆ

บางชนิดมตีา (eye spot) 

10. ระบบสบืพนัธุแ์บบอาศัยเพศโดยมสีองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน จดัเป็นกะเทย (hermaphrodite) มกีารปฏิสนธภิายในตัวเอง (self fertilization) และปฏิสนธแิบบขา้มตัว (cross fertilization) และมกีารสบืพนัธุแ์บบไมอ่าศัยเพศ โดยการงอกใหม ่(regeneration)