9789740329824

10
บทที1 ภาษาญี่ปุนสไตลจีน : การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読 かんぶんくんどく ) 1. การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読) คืออะไร การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読)หรือเรียกสั้น วา คุนโดะกุ 訓読 1 หมายถึง การอานคัมบุนและคันฌิ (ซึ่งเปนภาษาจีนโบราณ) โดยอานเปนภาษาญี่ปุนโบราณ เชน 花開 อานวา 花開 はなひら (ดอกไมบาน) 惜寸陰 อานวา 寸陰 すんいん を惜 しむ (เสียดายเวลาแมเพียงนอยนิด) 利於病 อานวา やまい に利 あり ( รักษาโรคได ) 青取之於藍而青於藍 อานวา あを は之 これ を藍 あゐ り取 りて藍 あゐ よりも青 あを ( สีน้ําเงินไดจากตนคราม แตเปนสีน้ําเงินยิ่งกวาตนคราม ) 2 การ อานคัมบุนและคันฌิในลักษณะเชนนี้ดูเหมือนกับเปนการแปลคัมบุนและคันฌิเปนภาษาญี่ปุโบราณ และอาจจะถือวาเปนการแปลประเภทหนึ่งก็ได แตก็ตางจากการแปลทั่วไป เพราะ เปนการแปลคําตอคําทุกตัวอักษร โดยไมมีความพยายามที่จะผละจากตนฉบับภาษาจีนโบราณ ทําใหเกิดเปนภาษาญี่ปุนโบราณที่ตางจากภาษาญี่ปุนโบราณในงานเขียนอื่นๆ หรืออาจ เรียกไดวาเปน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน1 คําวา คุนโดะกุ 訓読 ยังมีความหมายเหมือนคําวา คุนโยะมิ 訓読み ที่หมายถึงการอานอักษรคันจิดวยเสียงคุน เชน อาน วา ฮิโตะ (ไมอานวา จิน หรือนิน ซึ่งเปนอนโยะมิ 音読み) 2 คํากลาวนี้อยูในหนังสือ สวินจื่อ荀子 じゆんし ประพันธโดยสวินจื่อ 荀子 じゆんし (298-238 ปกอนคริสตกาล) มีความหมาย เชนเดียวกับ 出藍 しゆつらん และ しゆつ らん の誉 ほま ในภาษาญี่ปุนปจจุบันซึ่งใชในเชิงอุปมาอุปไมยวาลูกศิษยอาจจะเกงกวาครู เอกสารบาง เลมจะใชวา 青出于藍而青于藍 และอานวา あを は藍 あゐ より出 でて藍 あゐ より青 あを し。ดังเชนที่พบในบทละครโนเรื่องฮิงะกิ 檜垣 ひがき

Upload: cupress

Post on 12-Nov-2014

585 views

Category:

Education


2 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: 9789740329824

บทที่ 1 ภาษาญี่ปุนสไตลจีน :

การอานคมับุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読か ん ぶ ん く ん ど く

)

1. การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ (漢文訓読) คืออะไร

การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ(漢文訓読)หรือเรียกสั้น ๆ วา คุนโดะกุ 訓読 1 หมายถึง

การอานคัมบุนและคันฌิ (ซึ่งเปนภาษาจีนโบราณ) โดยอานเปนภาษาญี่ปุนโบราณ เชน 花開

อานวา 花開はなひら

く(ดอกไมบาน) 惜寸陰 อานวา 寸陰すんいん

を惜を

しむ (เสียดายเวลาแมเพียงนอยนิด)

利於病 อานวา 病やまい

に利り

あり (รักษาโรคได) 青取之於藍而青於藍 อานวา 青あを

は之これ

を藍あゐ

り取と

りて藍あゐ

よりも青あを

し (สีน้ําเงินไดจากตนคราม แตเปนสีน้ําเงินยิ่งกวาตนคราม)2 การ

อานคัมบุนและคันฌิในลักษณะเชนนี้ดูเหมือนกับเปนการแปลคัมบุนและคันฌิเปนภาษาญี่ปุน

โบราณ และอาจจะถือวาเปนการแปลประเภทหนึ่งก็ได แตก็ตางจากการแปลทั่วไป เพราะ

เปนการแปลคําตอคําทุกตัวอักษร โดยไมมีความพยายามที่จะผละจากตนฉบับภาษาจีนโบราณ

ทําใหเกิดเปนภาษาญี่ปุนโบราณที่ตางจากภาษาญี่ปุนโบราณในงานเขียนอื่นๆ หรืออาจ

เรียกไดวาเปน “ภาษาญี่ปุนสไตลจีน”

1 คําวา คุนโดะกุ 訓読 ยังมีความหมายเหมือนคําวา คุนโยะมิ 訓読み ที่หมายถึงการอานอักษรคันจิดวยเสียงคุน 訓 เชน

อาน人 วา ฮิโตะ (ไมอานวา จิน หรือนิน ซ่ึงเปนอนโยะมิ音読み) 2 คํากลาวนี้อยูในหนังสือ สวินจ่ือ『 荀子

じゆんし

』 ประพันธโดยสวินจ่ือ 荀子じゆんし

(298-238 ปกอนคริสตกาล) มีความหมาย

เชนเดียวกับ出 藍しゆつらん

และ出しゆつ

藍らん

の誉ほま

れ ในภาษาญี่ปุนปจจุบันซ่ึงใชในเชิงอุปมาอุปไมยวาลูกศิษยอาจจะเกงกวาครู เอกสารบาง

เลมจะใชวา 青出于藍而青于藍 และอานวา 青あを

は藍あゐ

より出い

でて藍あゐ

より青あを

し。ดังเชนที่พบในบทละครโนเรื่องฮิงะกิ 檜垣ひ が き

Page 2: 9789740329824

คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญ่ีปุน

28

ในตัวอยางที่ยกมาขางตนนั้น เพื่อชวยใหคนญี่ปุนรูวาควรอาน花開 วา 花開はなひら

く อาน惜寸

陰 วา 寸陰すんいん

を惜を

しむ อาน 利於病 วา 病やまい

に利り

あり อาน 青取之於藍而青於藍 วา 青あを

之これ

を藍あゐ

より取と

りて藍あゐ

よりも青あを

し และรูความหมายของภาษาจีนที่กําลังอานอยูนั้นไดมีการนํา

อักษรคะตะกะนะ อักษรคันจิ และเครื่องหมายตาง ๆ มากํากับเพี่อชวยการอาน ทําใหเกิดเปน

ประโยคที่มีเครื่องหมายกํากับการอานในรูปแบบตาง ๆ และนําประโยคที่มีเครื่องหมายกํากับการ

อานมาเขียนใหมเพื่อใหอานงายขึ้น โดยใชอักษรคันจิและฮิระงะนะ แลวเรียงลําดับอักษรคันจิ

ใหมตามไวยากรณภาษาญี่ปุนโบราณทําใหมีประโยคประเภทตาง ๆ ในคัมบุนดังตัวอยางตอไปนี้

a :白文

はくぶん

b : 訓読文

くんどくぶん

c : 訓読文

くんどくぶん

d : 書か

き下

くだ

し文

ぶん

Page 3: 9789740329824

บทที่ 1

29

ทั้ง a b c และ d ตางก็อานออกเสียงเหมอืนกนัวา 青あを

は之これ

を藍あゐ

より取と

りて藍あゐ

よりも青あを

し。และมีความหมายเหมอืนกนัคือ “สีน้าํเงนิไดจากตนครามแตเปนสีน้ําเงินยิ่งกวาตนคราม”

a:白文はくぶん

ประโยคที่ประกอบดวยอักษรคันจิลวน และไมมีเครื่องหมายชวยการอานกํากับดังเชน

ตัวอยาง a เรียกวา ฮะกุบุน 白文はくぶん

ซึ่งก็คือประโยคดั้งเดิมที่เปนภาษาจีนโบราณนั่นเอง

b : 訓読文くんどくぶん

ประโยคที่มีลําดับอักษรคันจิเหมือนฮะกุบุน白文 แตมีเครื่องหมายชวยการอานกํากับดวย

ดังตัวอยาง b และ c เรียกวา คุนโดะกุบุน 訓読文くんどくぶん

แตตําราบางเลมก็ไมมีชื่อเรียกโดยเฉพาะ

และบางก็เรียกวา คัมบุน 漢文 ซึ่งทําใหคําวา คัมบุน漢文 นอกจากจะมีความหมายทั้งหมด

ตามที่กลาวมาขางตนในบทนําแลวก็ยังมีความหมายแคบในการใชในกรณีนี้ดวย สําหรับหนังสือ

เลมนี้จะใชชื่อ 訓読文くんどくぶん

เพราะนาจะเขาใจงายกวาและไมเกิดความสับสนกับคําวา คัมบุน漢文

c : 訓読文くんどくぶん

คุนโดะกุบุน 訓読文くんどくぶん

จะมี 2 แบบ แบบแรกดังตัวอยาง b จะมีเครื่องหมายชวยการอาน (ซึ่ง

จะอธิบายโดยละเอียดในขอ 4-9) เฉพาะประเภทที่เรียกวาคะเอะริ-เต็น返り点 เพื่อความสะดวก

รวดเร็วในการพิมพ แตทําความเขาใจไดยาก หนังสือเลมนี้จึงเปนแบบ c

แบบที่ 2 ดังตัวอยาง c จะมีเครื่องหมายกํากับเพื่อชวยการอาน ทั้งประเภทที่เรียกวา

โอะกุริงะนะ 送おく

り仮名が な

(เชน ハ ที่อยูมุมขวาลางของ 青) และคะเอะริ-เต็น 返かへ

り点てん

(เชน ニ ที่อยู

มุมซายลางของ 取)

d : 書か

き下くだ

し文ぶん

ประโยคที่มีทั้งอักษรคันจิและฮิระงะนะและเรียงลําดับอักษรคันจิตางจากฮะกุบุน白文

โดยเรียงลําดับใหมตามไวยากรณภาษาญี่ปุนโบราณ ดังตัวอยาง d โดยทั่วไปเรียกวา คะกกิดุะฌิ

Page 4: 9789740329824

คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญ่ีปุน

30

บุน 書か

き下くだ

し文ぶん

แตบางครั้งก็เรียกวา โยะมิกุดะฌิบุน 読よ

み下くだ

し文ぶん

หรือคัมบุนคุนโดะกุบุน

漢文訓読文かんぶんくんどくぶん

สําหรับหนังสือเลมนี้จะใชชื่อคะกิกุดะฌิบุน 書か

き下くだ

し文ぶん

ตามที่ใชกันสวนใหญ

วิธีการใชอักษรคะนะที่ใชในคุนโดะกุบุน 訓読文くんどくぶん

และคะกิกุดะฌิบุน書き下し文 ทีถ่กูตอง

จะเปนแบบเกาที่ใชกันมาในภาษาญี่ปุนทั่วไปจนถึง ค.ศ. 1946 ที่เรียกวา เระกิฌิ คะนะสุกะอิ

歴史仮名遣れ き し か な づ か

ひ3 เชน 青

あを

ไมใช 青あお

และ 藍あゐ

ไมใช 藍あい

แตปจจุบันมีตําราคัมบุนอยูไมนอยที่ใชแบบ

ใหมหรือแบบปจจุบันที่เรียกวา เก็นดะอิ คะนะสุกะอิ 現代仮名遣げんだいかなづか

ひ สําหรับหนังสือเลมนี้จะใช

เระกิฌิ คะนะสุกะอิ 歴史仮名遣ひ เพื่อคงแบบแผนเดิมที่ถูกตองไวและใชในทุกแหงตลอดทั้ง

เลมเพื่อฝกผูอานใหคุนเคย อันจะเปนประโยชนในการอานเอกสารภาษาญี่ปุนจํานวนมากที่ใช

เระกิฌิ คะนะสุกะอิ 歴史仮名遣ひ

2. ที่มาของการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ( 漢文訓読か ん ぶ ん く ん ど く

เมื่อญ่ีปุนเริ่มรูจักอักษรคันจิและคัมบุนและยังไมมีอักษรของตนเองนั้น คนญี่ปุนบันทึกสิ่ง

ตาง ๆ ดวยคัมบุนและอานออกเสียงเปนภาษาจีนตามที่ครูชาวจีนหรือชาวเกาหลี หรือชาวญี่ปุน

ที่อานภาษาจีนเปนสอนใหอาน วะนิที่นําคัมภีรหลุนอวี่มาก็ไดเปนครูสอนคัมบุนใหเจาชาย

อุจิโนะวะกิอิระทซุโกะ 莵うじ

道稚朗子のわきいらつこ

พระราชโอรสจักรพรรดิโอจิน (応神天皇わうじんてんわう

) สวนการแปลคัม

บุนในระยะแรก ๆ คือชวงสมัยนาระ 奈良な ら

(ค.ศ. 710-794) จนถึงประมาณตนสมัยเฮอัน平安へいあん

(ค.ศ. 794-1185) นั้น สันนิษฐานวาคนญี่ปุนแปลโดยใชภาษาญี่ปุนที่ใกลเคียงกับภาษาเขียน

หรือที่เรียกวา บุงโงะ 文語ぶ ん ご

ในยุคนั้น ๆ นับเปนการแปลเปนภาษาญี่ปุนที่คอนขางเสรีแลวแต

บุคคล

แตหลังจากที่ราชวงศถัง 唐たう

(ค.ศ. 618-907) ลมสลาย และญี่ปุนเห็นวาการเดินทางไปจีน

ยากลําบากและอันตรายมาก จึงสงทูตไปเปนทางการเปนครั้งสุดทายใน ค.ศ. 894 หลังจากนั้น

จนถึงประมาณคริสตศตวรรษที่ 12 ญ่ีปุนกับจีนแทบจะไมมีการติดตอกันเลย เมื่อเวลาผานไป

นานเขาก็แทบจะหาผูที่สามารถอานออกเสียงเปนภาษาจีนไดยาก นอกจากนี้การบันทึกความคิด

หรือการกระทําโดยใชส่ือภาษาจีนก็เปนเรื่องยุงยากสําหรับคนญี่ปุนมากทีเดียว เนื่องจากความ

3 ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก หัวขอภาษาญี่ปุนโบราณ

Page 5: 9789740329824

บทที่ 1

31

แตกตางที่มีอยูมากมายระหวาง 2 ภาษานี้ เชน ภาษาญี่ปุนมีคําชวย มีการผันคํากริยา

คําคุณศัพทเปนรูปตาง ๆ มีการแสดงกาล ขณะที่ภาษาจีนแทบจะไมมี ลําดับคําก็ตางกัน เชน

กรรมในภาษาจีนจะตามหลังคํากริยา เปนตน (ดูขอ 3 โครงสรางภาษาจีนโบราณ)

ในที่สุดญี่ปุนจึงไดคิดวิธีอานคัมบุนและคันฌิในแบบของตนเอง คือไมอานออกเสียงเปน

ภาษาจีน แตอานออกเสียงเปนภาษาญี่ปุนทั้งหมด ต้ังแตออกเสียงอักษรคันจิเปนภาษาญี่ปุน

(เชนแทนที่จะอาน 花 ซึ่งเปนอักษรภาพที่มีความหมายวาดอกไม โดยใชคําภาษาจีนซึ่งคือ ฮวา ก็

ใชคําภาษาญี่ปุนที่มีความหมายวาดอกไมคือคําวา “ฮะนะ” มาอาน) และเติมคําชวย คําชวย

กริยา ไปจนถึงเปลี่ยนลําดับการอานอักษรคันจิใหเปนไปตามลําดับคําในภาษาญี่ปุนและใชวิธี

อ่ืน ๆ อีก (ดังที่จะอธิบายในบทตอ ๆ ไป) วิธีตาง ๆ เหลานี้สรางวิวัฒนาการทางภาษาญี่ปุนที่มี

รูปแบบเฉพาะสําหรับการอานคัมบุน เรียกวา “การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ”(漢文訓読)โดย

มีเครื่องหมายตาง ๆ มากํากับเพี่อชวยใหรูวิธีการอาน

ในสมัยคะมะกุระ-มุโระมะชิ (ค.ศ. 1185-1573) ซึ่งเปนสมัยที่พระสงฆโดยเฉพาะที่วัด 5

แหงในกรุงเกียวโตเปนผูนําในการแตงคัมบุนและคันฌินั้น การอานจะมีกฎตายตัวและเปนการ

พยายามถอดตัวอักษรคันจิทุกตัวเปนภาษาญี่ปุน โดยมีหลักวาอักษรคันจิแตละตัวจะตองถอด

เปนภาษาญี่ปุนใหเหมือนกันทุกครั้งเทาที่จะทําได คลายกับการแปลแบบคําตอคําดวยเครื่อง

คอมพิวเตอร

“การอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ” ในแตละสมัยจึงมีความแตกตางกัน รูปแบบที่ใชอยูใน

ปจจุ บันนั้ น เปน รูปแบบที่ รับ สืบตอมาจากรูปแบบที่ ใช อยู ในคริสตศตวรรษที่ 19 ซึ่ ง

กระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุนไดนํามาชําระและบัญญัติแบบแผนเพื่อใหใชเปนระบบเดียวกันใน

ค.ศ. 1912 รูปแบบที่ใชอยูในปจจุบันยังคงมีภาษาที่ใชอานคัมบุนตั้งแตชวงสมัยนาระ (ค.ศ. 710-

794) เปนตนมาหลงเหลืออยูบาง ดังนั้น คําบางคําและไวยากรณโบราณบางลักษณะที่ไมมีใน

ภาษาญี่ปุนปจจุบันแลวนั้นจะยังคงมีอยูในภาษาที่ใชอานคัมบุน4 ภาษาญี่ปุนในรูปแบบเฉพาะที่

ใชอานคัมบุนนี้ไดมีอิทธิพลตอภาษาเขียนทั่วไปในแตละสมัยเปนอยางมาก จนในสมัยเมจิ (ค.ศ. 1868-1912) ภาษาเขียนในเอกสารราชการจะใกลเคียงกับที่ใชในการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ

4 แมแตในบทกวีญี่ปุนของทะกะฮะฌิ โนะ มุฌิมะโระ 高橋虫麻呂

たかはしのむしまろ

(ไมทราบปเกิดและตาย) ที่ไดรับการรวบรวมไวในชุมนุม

บทกวีมันโยฌู『 万葉集まんえふしふ

』 ชุมนุมบทกวีญี่ปุนเลมแรก (สันนิษฐานวาเรียบเรียงเสร็จหลัง ค.ศ. 759) ก็ยังพบอิทธิพลของ

ภาษาญี่ปุนแบบที่ใชในการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ คือการใชคําวา 曰いは

く ในความหมายวา พูดวา (ดู 滝口たきぐち

翠みどり

「虫麻呂む し ま ろ

伝説歌でんせつか

の構成法こうせいほう

:長歌ちょうか

における<引用いんよう

>」

Page 6: 9789740329824

คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญ่ีปุน

32

ในขณะที่ภาษาเขียนทั่วไปเปล่ียนแปลงไปเรื่อย ๆ จนถึงปจจุบันนั้น ภาษาที่ใชในการอาน

คัมบุนแบบคุนโดะกุที่ก็ เปลี่ยนแปลงมาตามยุคสมัยนั้นแทบไมได เปลี่ยนแปลงอีกหลัง

คริสตศตวรรษที่ 19

“คัมบุนคุนโดะกุ” ไมไดเปนเพียงรูปแบบการอานคัมบุนเทานั้น แตแทที่จริงแลวยังไดรับ

การสืบทอดตอมาเปนรูปแบบการเขียนภาษาญี่ปุนที่สําคัญมากดวย กลาวคือ ถึงแมวาใน

สมัยเฮอันเมื่อญ่ีปุนประดิษฐอักษรฮิระงะนะของตนเองโดยดัดแปลงจากอักษรคันจิ และคนญี่ปุน

ก็ไดเร่ิมมีรูปแบบการเขียนแบบญี่ปุนโดยใชอักษรฮิระงะนะดังเชนที่ใชในการเขียนวรรณคดีสําคัญ

คือ เก็นจิโมะโนะงะตะริ『源氏物語げんじものがたり

』และตอมารูปแบบการเขียนนี้ไดผสมผสานเขากับรูปแบบ

การเขียนแบบคัมบุนคุนโดะกุ แตทวาในงานเขียนวิชาการเชนงานเขียนดานศาสนา กฎหมาย

และหลาย ๆ ดาน ต้ังแตสมัยโบราณจนถึงประมาณสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เราจะพบรูปแบบ

การเขียนแบบคัมบุนคุนโดะกุเปนหลัก5 จึงอาจกลาวไดวา คัมบุนคุนโดะกุไมไดเปนเพียงรูปแบบ

การอานที่ญ่ีปุนใชอานคัมบุนเทานั้น แตยังไดเปนรูปแบบการเขียนที่ไดชวยสนับสนุนศิลปะ

วิทยาการและความคิดของคนญี่ปุนมาตั้งแตยุคโบราณจนถึงยุคสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2

3. โครงสรางภาษาจีนโบราณ

ดังที่ไดกลาวแลวขางตน คนญี่ปุนอานคัมบุนและคันฌิ (ซึ่งเปนภาษาจีนโบราณ) โดยอาน

เปนภาษาญี่ปุนโบราณ และเรียกการอานเชนนี้วาการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ(漢文訓読)

หรือเรียกสั้น ๆ วาคุนโดะกุ 訓読 ซึ่งก็คือส่ิงที่อยูในหนังสือเลมนี้และตําราคัมบุนในญ่ีปุนนั่นเอง6

ในการอานเชนนี้คนญี่ปุนออกเสียงอักษรคันจิเปนภาษาญี่ปุน เติมคําชวย คําชวยกริยา รวมทั้ง

เปลี่ยนลําดับการอานอักษรคันจิใหเปนไปตามลําดับคําในภาษาญี่ปุน และใชวิธีอ่ืน ๆ อีก

ในหัวขอตอไปจะอธิบายเกี่ยวกับเครื่องหมายตาง ๆ ที่เรียกวา คุนเต็น 訓点くんてん

ที่ใชกํากับเพี่อ

ชวยใหรูวิธีการอาน แตกอนที่จะอธิบายเกี่ยวกับคุนเต็น การมีพื้นความรูพอสังเขปเกี่ยวกับ

โครงสรางภาษาจีนโบราณเปรียบเทียบกับภาษาญี่ปุนและภาษาไทยก็จะชวยใหเขาใจการใช

เครื่องหมายเหลานั้นและเขาใจการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุไดงายขึ้น

5 ดูรายละเอียดพรอมตัวอยางประกอบใน 佐藤

さ と う

進すすむ

「漢文訓読体かんぶんくんどくたい

と普通文ふつうぶん

・現代日本文語文げんだいにほんぶんごぶん

」 6 ตําราคัมบุนบางเลมจึงช่ือ คัมบุนคุนโดะกุ 漢文訓読

かんぶんくんどく

Page 7: 9789740329824

บทที่ 1

33

ความแตกตางประการสําคัญระหวางภาษาจีนโบราณกับภาษาญี่ปุนโบราณก็คือ การที่

ภาษาญี่ปุนโบราณมีคําชวยและคําชวยกริยา ซึ่งทําใหรูวาคําใดเปนประธานหรือกรรมใน

ประโยคนั้น เปนตน (ซึ่งเปนลักษณะของภาษาญี่ปุนปจจุบันดวย) แตภาษาจีนโบราณมีคําที่

ทําหนาที่ทํานองเดียวกับคําชวยและคําชวยกริยาจํานวนนอยมาก และในกรณีที่มีใชก็ไมไดมี

หนาที่ที่ชัดเจนเหมือนในภาษาญี่ปุน

ในภาษาจีนโบราณสิ่งที่บอกใหรูวาคํานั้นทําหนาที่อะไรในประโยคก็คือ ตําแหนงของคํา

นั้น คําเดียวกันอาจเปนคํานามที่เปนประธานของประโยค แตในอีกประโยคคํานั้นอาจทําหนาที่

เปนคํากริยาโดยไมมีการเปลี่ยนรูป (ภาษาจีนไมมีการผันรูปคํา) หรือมีคําอื่นใดมาชวย แตจะรูได

จากตําแหนงของคํานั้นในประโยค ลําดับคําในประโยคภาษาจีนโบราณจึงเปนเรื่องสําคัญที่ตอง

ศึกษา จุดนี้นับวาภาษาจีนโบราณจะใกลเคียงภาษาไทยมากกวา ยกเวนกรณีของตําแหนงของ

สวนขยาย ซึ่งภาษาไทยจะตรงขามกับภาษาจีนและญี่ปุน แตในการอธิบายโครงสรางภาษาจีน

โบราณในที่นี้จําเปนตองอิงกับภาษาญี่ปุน เนื่องจากการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุ คือการอาน

ภาษาจีนโบราณ โดยอานเปนภาษาญี่ปุนโบราณดังกลาวแลวนั่นเอง

เพื่อชวยใหเขาใจการใชเครื่องหมายคุนเต็น และเขาใจการอานคัมบุนแบบคุนโดะกุไดงาย

ข้ึน เราสามารถจัดกลุมโครงสรางหรือลําดับคําในภาษาจีนโบราณเปน 6 ประเภทดังตอไปนี ้

โครงสรางภาษาจีนโบราณ

1主しゆ

語ご 7

+ 述語じゆつご8

2主語 + 述語 + 目的語もくてきご

3主語 + 述語 +(於お

・于う

・乎こ

)+ 補語ほ ご

4主語 + 述語 + 補語 + 目的語

5主語 + 述語 + 目的語+(於お

・于う

・乎こ

)+ 補語

6主語 + 述語 + 補語 +(於お

・于う

・乎こ

)+ 補語

อยางไรก็ตาม ภาษาจีนโบราณหรือคัมบุนที่จะพบในหนังสือเลมนี้หรือที่อ่ืน ๆ ไมใชวาจะมี

โครงสรางขางตนนี้อยางชัดเจน ทั้งนี้ก็เพราะวาภาษาจีนโบราณมีลักษณะสําคัญประการหนึ่งคือ

7 しゅご

8 じゅつご

Page 8: 9789740329824

คัมบุน ภาษาญี่ปุนสไตลจีน ภาษาจีนสไตลญ่ีปุน

34

การละขอความ ที่พบไดบอยและคลายภาษาญี่ปุนและภาษาไทยก็คือ การละประธาน(主

語)นอกจากนี้ก็ยังมีกรณีที่มี การสลับลําดับ โดยวางประธานของประโยคไวสวนทายและวาง

สวนที่ตองการเนนไวตนประโยค การสลับลําดับเชนนี้จะพบในประโยคแสดงการอุทาน เปนตน

ตอไปจะอธิบายเกี่ยวกับโครงสรางหรือลําดับคําในภาษาจีนโบราณแตละประเภท

โดยสังเขปดังตอไปนี้

1主語 + 述語

主語 หมายถึง คํา หรือกลุมคําทีท่ําหนาที่เปนประธานของประโยค รวมทัง้คําหรือกลุมคําทีท่าํ

หนาทีเ่ปนสวนขยายประธาน ซึ่งเมื่ออานเปนภาษาญี่ปุนโบราณจะเปน คํานาม หรือคําสรรพนาม

หรือคําที่เปนเสมือนคํานาม (เชนคํากริยาในรูป 連体形れんたいけい

ตามดวยこと หรืออาจละ こと)

ในภาษาจีนโบราณสวนขยายจะวางอยูขางหนาคําทีถ่กูขยายเชนเดยีวกับในภาษาญี่ปุน

แตตรงขามกับภาษาไทย

述語 หมายถึง คํา หรือกลุมคําที่ทําหนาที่อธิบายวา ประธานของประโยคทํากิริยาอาการอะไร

หรือเปนอยางไร หรือเปนอะไร ซึ่งเมื่ออานเปนภาษาญี่ปุนโบราณจะไดแก คํากริยา (ตัวอยาง a

b) คําคุณศัพท (形容詞けいようし

) (ตัวอยาง c) 形容動詞けいようどうし9

(ตัวอยาง d e) หรือคํานามกับคําชวยกริยา

なり(ตัวอยาง f) รวมทั้งคําที่ทําหนาที่เปนสวนขยายของคําเหลานี้

เพื่อไมใหเกิดความเขาใจคลาดเคลื่อนจะขอใชคําวา 述語 โดยไมแปล ขอใหสังเกตวา述

語 ตางจากคําวา ภาคแสดง ที่ใชในการอธิบายไวยากรณภาษาไทย เนื่องจากภาคแสดงจะรวม

ทุกคําที่ไมไดอยูในภาคประธาน เชน รวมคําที่เปนกรรมของประโยคดวย แต 述語 ไมรวม ขอใหดู

โครงสรางตอไปก็จะเขาใจได10

9 ดูคําอธิบายที่ภาคผนวกหัวขอภาษาญี่ปุนโบราณ 10 述語 อาจแปลตามตัวอักษรไดวา คําบรรยาย คือเปนคําที่บรรยายวา ประธานทําอะไร เปนอยางไร หรือเปนอะไร ซ่ึง 山本

やまもと

哲夫て つ お

『古典漢文の基礎』หนา 26 เทียบเทากับคําวา predicate ในไวยากรณภาษาอังกฤษ ซ่ึงผูเขียนไมเห็นดวย เพราะ

predicate หมายถึง swim ในประโยค Fishes swim. หรือ is an artist ในประโยค She is an artist. (Longman Dictionary of

Contemporary English ป 1995) พจนานุกรมภาษาอังกฤษบางเลม เชน Oxford Advanced Learner’s Dictionary ป 2000

ใหคําจํากัดความของ predicate วาเปนสวนที่มีคํากริยา โดยไมไดครอบคลุมไปถึงสวนบรรยายที่เปนคําคุณศัพท หรือคํานาม

Password English Dictionary for Speakers of Thai ป 2537 ใหคําแปลของ predicate วา ภาคแสดง และยกตัวอยางวา live

Page 9: 9789740329824

บทที่ 1

35

การใชเครื่องหมายกํากับการอาน ลําดับคําในลักษณะนี้เปนโครงสรางที่เขาใจงายมาก เนื่องจากเหมือนกับทั้งภาษาไทย

ญ่ีปุน และอังกฤษ การที่ลําดับคําในภาษาจีนและญี่ปุนตรงกัน ทําใหไมมีความจําเปนที่จะตองใช

เครื่องหมายกํากับการอานประเภทแสดงลําดับคําที่เรียกวาคะเอะริ-เต็น返り点 จะใชก็เฉพาะ

โอะกุริงะนะ送り仮名 เพื่อแสดงคําชวย คําชวยกริยา และอื่น ๆ ที่ไมปรากฏในอักษรคันจ ิ

โครงสรางนี้เปนเพียงโครงสรางเดียวที่มีลําดับคําเหมือนภาษาญี่ปุน จึงเปนเพียงโครงสราง

เดียวที่ไมตองใชเครื่องหมายกํากับการอานประเภทแสดงลําดับคํา

ตัวอยางโครงสราง主語 + 述語 คุนโดะกุบุน訓読文

a b c d e f คะกิกุดะฌิบุน書き下し文

a b c d e f

in London ในประโยค We live in London เปน predicate ซ่ึงทําให predicate ไมมีความหมายตรงกับ述語(ดูโครงสราง 3)

Page 10: 9789740329824

คําแปลและคําอธิบาย

a เมฆขาวลอยละลอง

• 白雲 เปนประธานของคํากริยา 飛

• ในภาษาญี่ปุนโบราณจําเปนตองเติม ブ หลัง 飛 เพื่อใหอานเปนคํากริยาในรูป

終止形しゆうしけい

11 (รูปจบประโยค) การเติม ブ เชนนี้ คือการใชเครื่องหมายชวยการอาน

ประเภทที่เรียกวา โอะกุริงะนะ 送おく

り仮名が な

ซึ่งจะเขียนดวยอักษรคะตะกะนะ

b ดวงอาทิตยโคจร

• 日 เปนประธานของคํากรยิา運行

• ในภาษาญี่ปุนโบราณมีคํากริยาประเภทที่เกิดจากการเติมคํากริยา す หลัง

คํานาม (ในทํานองเดียวกับการใชする ในภาษาญี่ปุนปจจุบัน) 運行 ในภาษาจีนจึง

อานวา 運行うんかう

す ในภาษาญี่ปุนโบราณ การเติม ス เชนนี้คือการใชเครื่องหมายชวย

การอานประเภทที่เรียกวา โอะกุริงะนะ 送おく

り仮名が な

c ภูเขาสูง

• 山 เปนประธานของคําคุณศพัท高

• ในภาษาญี่ปุนโบราณอาน 高 วา 高たか

シ ซึ่งเปนรูป 終止形しゆうしけい

(รูปจบประโยค)

d (การ) กระโดด/บินโฉบ (มีลักษณะที่) ทํามมุลาดชนั • 飛 เปนประธานของประโยค急 แสดงลักษณะของ 飛

• ในตัวอยาง a 飛 เปนคํากริยา แตในประโยคนี้ 飛 เปนประธานของประโยค

ภาษาญี่ปุนโบราณจึงใชรูป 連体形れんたいけい

ตามดวยコト เพื่อทําใหเปนเสมือนหนึ่งคํานาม

(名詞化め い し か

)ในบางกรณีอาจละコト เพื่อความไพเราะสละสลวยในการอานออก

เสียง

• ภาษาญี่ปุนโบราณใช急 เปน 形容動詞 ประเภทที่ผันแบบ なり

e ทองทะเลกวางใหญสุดลกูหูลูกตา

• ภาษาญี่ปุนโบราณใช 洋洋やうやう

เปน 形容動詞 ประเภทที่ลงทายดวย タリ กลาวคือ ในตําแหนงที่เปน述語 ในภาษาจีนนั้น ถาเปนคําที่เกิดจากการใชอักษรเดียวกันซอน

11 しゅうしけい