คู มืิบัติอการปฏ งาน (work...

45
คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เลมที7/16 คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กระบวนการสรางคุณคา กระบวนการบริหารจัดการน้ํา กรมชลประทาน คณะทํางานยอยจัดทําคูมือการปฏิบัติงานดานบริหารจัดการน้ํา สิงหาคม 2554

Upload: others

Post on 17-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

คูมือการปฏิบัติงาน

(Work Manual)

เลมที่ 7/16

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช

กระบวนการสรางคุณคา

กระบวนการบริหารจัดการน้ํา

กรมชลประทาน

คณะทํางานยอยจัดทําคูมือการปฏิบัติงานดานบริหารจัดการน้ํา สิงหาคม 2554

Page 2: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

คํานํา

อางถึงคําส่ังกรมชลประทานท่ี ข 322 / 2554 ลงวันท่ี 25 เมษายน 2554 เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการติดตามและกํากับดูแลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) และคณะทํางานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team) กรมชลประทาน ท้ัง 7 หมวด ซ่ึงคณะกรรมการฯ ดังกลาวไดมีคําส่ังแตงตั้งคณะทํางานยอยจัดทําคูมือดานบริหารจัดการน้ํา โดยมีจุดประสงคเพื่อใหการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาองคการ หมวด 6 ประจําป 2554 เปนไปตามวัตถุประสงคท่ีจะยกระดับการปฏิบัติงานใหมีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงไดดําเนินการจัดทําคูมือดานบริหารจัดการน้ําจํานวนท้ังส้ิน 16 เลม ซ่ึง คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช เปนเลมท่ี 7/16 ในคูมือดังกลาว คือ

1. เลมท่ี 1/16 คูมือการเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐานดานการจัดสรรน้ําของโครงการชลประทาน

2. เลมท่ี 2/16 คูมือการประเมินปริมาณนํ้าไหลลงอางเก็บน้ํา 3. เลมท่ี 3/16 คูมือการประเมินน้ําหลากในพื้นท่ีลุมน้ําตาง ๆ 4. เลมท่ี 4/16 คูมือการจําลองการปฏิบัติการอางเก็บน้ํา (Reservoir Operation Simulation) 5. เลมท่ี 5/16 คูมือการวางแผนการใชน้ําจากอางเก็บน้ํา (Reservoir Operation Study) 6. เลมท่ี 6/16 คูมือการคํานวณฝนใชการ (Effective Rainfall) 7. เลมท่ี 7/16 คูมือการคํานวณการใชน้าํของพืช 8. เลมท่ี 8/16 คูมือการประเมินการใชน้ําในกิจกรรมตาง ๆ 9. เลมท่ี 9/16 คูมือการจัดทําโคงปฏิบัติการอางเก็บน้ํา (Reservoir Operation Rule Curves) 10. เลมท่ี 10/16 คูมือการวางแผนติดตามและประเมินผลการสงน้ํารายสัปดาห (WASAM) 11. เลมท่ี 11/16 คูมือการประชาสัมพันธแผนการจัดสรรน้ํา 12. เลมท่ี 12/16 คูมือการปฏิบัติงานสงน้ําของโครงการชลประทาน 13. เลมท่ี 13/16 คูมือการคํานวณปริมาณนํ้าผานอาคารชลประทาน 14. เลมท่ี 14/16 คูมือการวัดปริมาณนํ้าในคลองสงน้ําชลประทานและการสอบเทียบอาคารชลประทาน 15. เลมท่ี 15/16 คูมือการคํานวณหาประสิทธิภาพการชลประทาน 16. เลมท่ี 16/16 คูมือการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการ

คณะทํางานฯ หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือเลมนี้ จะเปนประโยชนและ เปนแนวทางการปฏิบัติง าน เ พื ่อ บ ร ร ลุ เ ป า ห ม า ย ขอ ง ก า รพัฒน า ศัก ย ภ าพก า รบ ริห า ร จ ัด ก า รน้ํา ที ่ม ีป ร ะสิท ธิภ าพ แล ะประสิทธิผลตอไป

คณะทํางานยอยจัดทําคูมือดานบริหารจัดการน้ํา สิงหาคม 2554

Page 3: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

สารบัญ หนา

1. วัตถุประสงค 1 2. ขอบเขต 1 3. คําจํากัดความ 2 4. หนาท่ีรับผิดชอบ 3 5. ผังกระบวนการ 4 6. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน 5 7. มาตรฐานงาน 13 8. ระบบติดตามประเมินผล 13 9. เอกสารอางอิง 13 10. แบบฟอรมท่ีใช 13 11. ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ 14 ภาคผนวก ข ขอมูลคา Kc และคา ETo Penman Monteith 24 ภาคผนวก ค แหลงท่ีมาของโปรแกรม CWR-RID 39 ภาคผนวก ง รายช่ือผูจัดทําคูมือ 41

Page 4: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

1

คูมือการปฏบิัติงาน คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช

1. วัตถุประสงค

1.1 เพื่ออํานวยความสะดวกในการคํานวณหาความตองการใชน้ําของพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญตาง ๆ โดยการนําคาสัมประสิทธ์ิพืช (Crop Coefficient; Kc) และคาปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (Reference Crop Evapotranspiration; ETo) ท่ีคํานวณไดจากสูตร Penman Monteith (FAO) มาใชในการคํานวณรวมกับขอมูลทางสภาพภูมิประเทศของพื้นท่ีหรือทําเลที่ตั้งของโครงการชลประทานหรือพื้นท่ีท่ีตองการทราบความตองการใชน้ําของพืช

1.2 สามารถใชคํานวณหาความตองการใชน้ําของพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีท่ัวประเทศ

2. ขอบเขต

โปรแกรมคํานวณคาความตองการน้ําของพืช (CWR-RID) เปนโปรแกรมสําเร็จรูปท่ีชวยใหการคํานวณความตองการน้ําของพืชเศรษฐกิจตาง ๆ ท่ีปลูกในเขตชลประทานเพ่ือนําไปใชวางแผนการสงน้ําในชวงฤดูกาลการเพาะปลูกใหสอดคลองกับปริมาณนํ้าตนทุนหรือพ้ืนท่ีเพาะปลูก CWR-RID เปนโปรแกรมท่ีใชงานงายและสะดวกรวดเร็ว โดยใชขอมูลเบ้ืองตน ไดแก ขอมูลพื้นฐานของโครงการชลประทาน ชนิดของพืช พื้นท่ีและชวงเวลาปลูกหรือตามการวางแผนการสงน้ํา เปนตน

การคํานวณความตองการน้ําของพืช จะใชขอมูลคาสัมประสิทธ์ิพืช(Crop Coefficient; Kc) ของ พืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญและขอมูลปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง(Reference Crop Evapotranspiration; ETo) รายเดือนที่ไดจากวิธีการ Penman Monteith นํามาคํานวณ ซ่ึงผลลัพธท่ีไดจะเปนคาความลึกของน้ําท่ีพืชตองการหรือท่ีตองสงใหกับพืช มีหนวยเปน มิลลิเมตรตอวัน หรือคิดเปนปริมาณน้ําท้ังหมดมีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร ผลลัพธท่ีไดจากการคํานวณจะแสดงอยูในรูปของกระดาษคํานวณ (Microsoft Excel Sheet) ซ่ึงสามารถนําขอมูลนี้ไปประยุกตใชงานในการจัดสรรน้ําหรือวางแผนการใชน้ําตอไปไดสะดวก

Page 5: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

2

3. คําจํากัดความ

คําจํากัดความหรือขอกําหนดของการใชงานโปรแกรม CWR-RID มีดังนี้

3.1 ใชคํานวณความตองการใชน้ําของพืชไดเพียง 21 ชนิดเทานั้น โดยอยูในกลุมของ ขาว พืชไร พืชผักท่ีเปนพืชเศรษฐกิจหลักท่ีปลูกในเขตพื้นท่ีชลประทานท่ัวประเทศ ในกรณีท่ีพืชท่ีตองการคํานวณไมมีอยูในตัวเลือกของโปรแกรมฯ ก็สามารถประมาณคาความตองการใชน้ําจากพืชท่ีอยูในกลุมเดียวกัน หรือจากขอมูลการใชน้ําของพืชเพิ่มเติมและขอมูลการใชน้ําของพืชรายภาคเลม 1-5 ท่ีแนบมาพรอมกับชุดติดต้ังแทนได

3.2 คาความตองการใชน้ําของพืชท่ีไดจากการคํานวณจะเปนปริมาณความตองการน้ําสุทธิของพืชจริง ณ แปลงเพาะปลูกหรือแปลงนา ท้ังนี้

- ยังไมไดหกัคาฝนใชการ(Effective Rainfall: ER) - ยังไมไดรวมคา การสูญเสีย เชน ร่ัวซึม ฯลฯ - ยังไมไดคิดคาประสิทธิภาพการชลประทาน (IRR.Eff)

3.3 ผลการคํานวณสามารถใชเปนขอมูลสําหรับวางแผนการสงน้ําในภาพรวมของโครงการชลประทานหรือพื้นท่ีเพาะปลูกเทานั้น ซ่ึงยังไมสามารถใชเปนขอมูลสําหรับจัดสรรน้ําใหสอดคลองกับแผนการปลูกพืชเปนรายสัปดาหหรือรายเดือนได

3.4 ผูใชงานไมสามารถปรับปรุงหรือปรับแกโปรแกรมและฐานขอมูลของตัวโปรแกรม CWR-RID ใหสอดคลองกับสภาพการใชงานตามความเปนจริงได

3.5 ความตองการของระบบปฏิบัติการ - Microsoft Windows XP sp2 or higher operating system - Pentium class system (CPU) - 256 MB of RAM - At least 50 MB of free disk space - Microsoft Office Professional (Thai Edition) ท่ีประกอบดวย Microsoft Word และ Microsoft Excel

Page 6: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

3.6 สวนประกอบของโปรแกรม CWR-RID ประกอบดวยไฟลหลัก 2 สวน ไดแก 3.6.1 ไฟลขอมูลสําหรับการติดต้ังตัวโปรแกรม CWR-RID 4 ไฟล คือ

Setup.exe

CWR-RID V 8.5.51.CAB

Setup.lstคูมือการใชงานโปรแกรม_CWR-RID.doc

3.6.2 ไฟลขอมูลสําหรับสนับสนุนการคํานวณ 3 ไฟล คือ

คาสัมประสิทธิ์พืช(Kc).pdfขอมูลการใชน้ําของพืชรายภาคเลม1-5 ETo_PenmanMonteith_2000

4. หนาท่ีความรับผิดชอบ

หนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบในการหาคาการใชน้ําของพืช เพื่อนําไปใชประกอบรายการและการวางแผนบริหารจัดการน้ําในระดับโครงการชลประทานภายใตสํานักชลประทานท่ี 1-17 ไดแก ผูอํานวยการสวนจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา ผูอํานวยการโครงการฯ ฝายบริหารและจัดการน้ํา ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบชลประทาน เปนตน

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

3

Page 7: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

5. ผังกระบวนการ

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

4

ลําดับที่

ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน ผูรับผิดชอบ

1

15 วันทําการ

รวบรวมขอมูล : 1. ขอมูลพ้ืนที่เพาะปลูก (ไร) 2. ชวงเวลาการเพาะปลูก (วัน

เดือนปที่ เริ่มปลูกจนถึงเก็บเก่ียวหรือหยุดสงนํ้า)

- ผอ.คป./ผอ.คบ. - ฝจน.คป./ฝจน.คบ. - ฝสบ.คป. - ฝสบ.คบ.

เร่ิมกระบวนการ

2

5 วันทําการ

คํานวณการใชนํ้าของพืช

- ผอ.คป./ผอ.คบ. - ฝจน.คป./ฝจน.คบ. - ฝสบ.คป. - ฝสบ.คบ.

รวบรวมขอมูล

คํานวณ

3

5 วันทําการ

ตรวจสอบความถูกตอง

- ผอ.คป./ผอ.คบ. - ฝจน.คป./ฝจน.คบ. - ฝสบ.คป. - ฝสบ.คบ.

การใชน้ําของพืช

4

15

วันทําการ

รวบรวมผลการคํานวณที่ไดจัดทํารายงานหรือนําไปปรับใชรวมกับการวางแผนการสงนํ้าฯ

- อธช. - รธบ. - ผส.อน. - ผนช.

ไมใช

ใช

ตรวจสอบ ความถูกตอง

ส้ินสุดกระบวนงาน จัดทํารายงาน

Page 8: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

6. ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 6.1 ขอมูลท่ีใชในการคํานวณ

6.1.1 ขอมูลท่ีมีอยูในสวนของตัวโปรแกรม CWR-RID - คาสัมประสิทธ์ิพืช (Crop Coefficient; Kc) โดยสูตร Penman Monteith

- คาปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (Reference Crop Evapotranspiration; ETo) โดยสูตร Penman Monteith

6.1.2 ขอมูลภายนอกท่ีตองการเพิ่ม - ขอมูลของสํานักชลประทาน โครงการชลประทาน ฝายสงน้ําและบํารุงรักษา และพ้ืนท่ี

จังหวัดท่ีรับผิดชอบ - ขอมูลพื้นท่ีเพาะปลูก (ไร) - ชวงเวลาการเพาะปลูก (วันเดือนปท่ีเร่ิมเพาะปลูก)

6.2 การติดต้ังโปรแกรม CWR-RID 6.2.1 ตัวโปรแกรม CWR-RID จะมาพรอมกับ Package ชุดติดต้ัง (Setup.exe) เพื่อชวยใหการ

ติดต้ังโปรแกรม CWR-RID ทําไดงายและรวดเร็ว 6.2.2 ตนฉบับของตัวโปรแกรม CWR-RID จะถูกบีบอัดใหอยูในรูปของไฟลท่ีมีนามสกุล *.zip

หรือ *.rar กอนทําการติดต้ังจะตองทําการแตกไฟลออกมา ไปเก็บไวท่ี Folder ท่ีกําหนดข้ึนเอง โดยใชโปรแกรม winzip หรือ winrar

6.2.3 เม่ือแตกไฟลออกมาไดแลวให Double Click ท่ี Setup.exe เพื่อเร่ิมตนการติดต้ังโปรแกรม CWR-RID ซ่ึงโปรแกรมจะถูกกําหนดใหติดต้ังไวท่ี C:\Program Files\CWR-RID และ Folder สําหรับเก็บ ผลการคํานวณจะถูกติดต้ังไวท่ี C:\CWR-RID_Output

6.2.4 ทําตามข้ันตอนท่ีโปรแกรมติดต้ังแนะนําจนการติดต้ังเสร็จส้ินสมบูรณ ซ่ึงมีข้ันตอน ดังนี ้คือ

- Double Click ท่ี Setup.exe ใหกดปุม OK เพื่อเร่ิมการติดต้ัง

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช

กรมชลประทาน

5

Page 9: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

6

- Click ท่ีปุม logo เพื่อเร่ิมการ-ติดต้ัง และเลือก Program Group และกดปุม Continue เพื่อทํางานตอ

- โปรแกรมติดต้ังเร่ิม Copy files ไปยัง Folder ท่ีกําหนด

Page 10: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

- ในกรณีท่ีแสดง Version Conflict ใหกดเลือก Yes

- เม่ือโปรแกรมชวยติดต้ัง ตดิต้ังโปรแกรม CWR-RID vx.x.xx เสร็จสมบูรณแลว ใหกดปุม OK

6.3 การเร่ิมใชงานโปรแกรม CWR-RID 6.3.1 การเร่ิมใชงานโปรแกรม สามารถทําไดโดยมีข้ันตอน ดังนี้

Start All Programs CWR-RID xx.xx.xx CWR-RID xx.xx.xx click

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

7

Page 11: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

6.3.2 ทําการเลือก สํานักชลประทาน โดยการ Click ท่ีปุม Drop down เพื่อเลือกสํานักชลประทาน ท่ีตองการคํานวณ

6.3.3 ทําการเลือก โครงการชลประทาน (โครงการชลประทานจังหวัด หรือ โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา) ซ่ึงโปรแกรมจะแสดงเฉพาะโครงการฯ ท่ีข้ึนอยูกับสํานักชลประทาน ท่ีไดเลือกไปกอนหนานี้

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

8

Page 12: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

ทําการเลือก ฝายสงน้าํและบํารุงรักษา ท่ีตองการคํานวณ โดยโปรแกรมจะแสดงเฉพาะ 6.3.4 ฝายสงน้ําฯ ท่ีข้ึนอยูกับโครงการชลประทาน ท่ีเลือกไปกอนหนานี ้

6.3.5 ทําการเลือก พื้นท่ีอยูในจังหวัด ท่ีเปนพื้นท่ีสวนใหญท่ีใชเพาะปลูกหรือท่ีตองการคํานวณ ซ่ึงจะแสดงเฉพาะจังหวดัท่ีสํานักชลประทานน้ัน รับผิดชอบอยู

ในกรณีพื้นทีป่ลูก หรือ ตองการคํานวณ ไมมีอยูในรายชื่อของจังหวดัท่ีมีมาให สามารถเลือกใชจังหวดัใกลเคียงแทนได

6.3.6 ทําการเลือก ชนิดพืชท่ีปลูก ซ่ึงประกอบดวย ขาว พืชไรและพืชผัก จํานวน 21 พืช ซ่ึงครอบคลุมพืชเศรษฐกิจท่ีปลูกในเขตพื้นท่ีชลประทาน

ในกรณีท่ีไมมีช่ือพืชท่ีตองการคํานวณอยูในตัวเลือก ก็สามารถเลือกใชพืชตัวแทนในกลุมเดียวกันได เชน กลุมขาว กลุมพืชไร กลุมพืชผัก ฯลฯ

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

9

Page 13: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

6.3.7 ทําการกรอก พื้นท่ีเพาะปลูก ลงในชองวางท่ีกําหนดให โดยใหระบุจํานวนพื้นท่ีท่ีตองการเพาะปลูก หรือ ตองการคํานวณ มีหนวยเปนไร (หามใสเคร่ืองหมายใดๆ)

6.3.8 ทําการเลือก วัน-เดือน-ป ท่ีเร่ิมปลูก โดยการเลือก ชวงเวลาท่ีเร่ิมปลูกพืชชนิดนั้น ๆ เปน วัน เดือน และป พ.ศ. เพื่อใชในการคํานวณหาอายุพืชแตละชนิดต้ังแตเร่ิมปลูกจนกระท่ังเก็บเกี่ยว โดยโปรแกรม CWR-RID จะคํานวณและแสดงผลความตองการใชน้ําของพืชเปนรายสัปดาห

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

10

Page 14: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

6.3.9 เม่ือทําการเลือกและกรอกขอมูลครบถวนแลว ใหกดปุม คํานวณ เพื่อใหโปรแกรมทําการคํานวณความตองการน้ําของพืช

6.3.10 ในกรณีท่ี การเลือก หรือ การกรอกขอมูลเกิดผิดพลาด ไมวาจะเปนข้ันตอนใดก็ตาม ใหกดปุมเลือก จบการคํานวณ เพือ่ปดโปรแกรม และใหเร่ิมการใชงานโปรแกรม CWR-RID ใหม ตามหัวขอ 1) เพราะโปรแกรมไมสามารถเปล่ียนแปลงขอมูลท่ีปอนเขาไปกอนหนานีไ้ด

6.4 การแสดงผลการคํานวณ

เม่ือกดปุม คํานวณ โปรแกรม CWR-RID จะทําการคํานวณหาความตองการน้ําของพืชโดยเวลาท่ีใชในการประมวลผลจะข้ึนอยูกับประสิทธิภาพของคอมพิวเตอรท่ีนํามาใชงาน

การแสดงผลการคํานวณ จะอยูในรูปแบบของ Microsoft Excel Sheet ท่ีถูกต้ังช่ือใหตรงกับพืชและวัน เดือน ปและเวลาท่ีคํานวณเสร็จ โดยแสดงคาความตองการน้ําของพืชเปนรายสัปดาหตลอดอายุพืช นอกจากนี้ยังแสดงรายละเอียดผลการคํานวณอ่ืน ๆ ไดแก ขอมูลโครงการชลประทาน ชนิดพืช พื้นที่เพาะปลูก คาสัมประสิทธ์ิพืช (Crop coefficient; Kc) ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (Reference Crop Evapotranspiration; ETo) คาการใชน้ําของพืช (Evapotranspiration; ET) เปนตน

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

11

Page 15: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

Folder ท่ีใชจดัเก็บผลการคํานวณของโปรแกรม CWR-RID จะถูกสรางข้ึนในขณะท่ีทําการติดตั้ง โดยจะปรากฏอยูท่ี C:\CWR-RID_Output

6.5 การถอนการติดต้ังโปรแกรม CWR-RID

สําหรับ Microsoft Windows XP การถอนการติดต้ัง สามารถทําไดโดยใชข้ันตอนดงัตอไปนี ้

ไปท่ี Start Control Panel Add or Remove Programs - เลือก CWR-RID vx.x.xx - เลือก Change/Remove - ทําตามคําแนะนําจนกวาการถอนการติดต้ังจะเสร็จส้ิน

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

12

Page 16: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช กรมชลประทาน

13

7. มาตรฐานงาน ขอมูลหรือผลการคํานวณท่ีไดมีความถูกตองและครบถวนตามท่ีโปรแกรมกําหนด

8. ระบบติดตามประเมินผล

ผูรับผิดชอบการดําเนินงานจะเปนผูติดตามการใชน้ําของพืชโดยเปรียบเทียบผลท่ีไดจาการคํานวณกับคาการใชน้ําของพืชในแปลงปลูกจริง ท้ังนี้หนวยงานที่รับผิดชอบของสํานักชลประทานท่ี 1-17 เปนผูรายงานผลความกาวหนา สภาพปญหาและอุปสรรค เพื่อใชเปนแนวทางปรับปรุงการวางแผนบริหารจัดการน้ําและใชเปนแนวทางปฏิบัติในฤดูกาลเพาะปลูกปตอ ๆ ไป 9. เอกสารอางอิง กรมชลประทาน. 2551. คาสัมประสิทธ์ิพืชโดยวิธี Penman-Monteith, กรุงเทพฯ _______. 2551. คูมือการใชงานโปรแกรมคํานวณคาความตองการน้ําของพืช(CWR-RID v.8.5.51),

กรุงเทพฯ _______. 2554. คูมือการหาปริมาณการใชน้ําของพืช ปริมาณการใชน้าํของพืชอางอิงและคาสัมประสิทธ์ิพืช

ฉบับปรับปรุง, กรุงเทพฯ _______. 2554. ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิงโดยวิธีของ Penman Monteith (Reference Crop

Evapotranspiration by Penman Monteith) ฉบับปรับปรุง, กรุงเทพฯ 10. แบบฟอรมท่ีใช สามารถใชขอมูลปอนลงในโปรแกรมโดยไมตองทําแบบฟอรมเพิ่ม โดยใชขอมูลท่ีมีการเก็บขอมูลจากแบบฟอรมการเก็บขอมูลพื้นฐานตามคูมือเลม 1/16 คือ งส.จษ.1/28 และ งส.จษ.2/28

Page 17: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

14

ภาคผนวก ก ทฤษฎีที่เก่ียวของ

Page 18: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

15

ทฤษฎีที่เก่ียวของ

การใชน้ําของพืช หรือ การคายระเหยนํ้าของพืช (Consumptive use or Crop Evapotranspiration; ET) หมายถึง ปริมาณน้ําท่ีพืชตองการใชจริง รวมถึงปริมาณนํ้าท่ีสูญเสียไปจากแปลงปลูกโดยกระบวนการคายนํ้าของพืชและการระเหย ซ่ึงมีหนวยเปนความลึกของน้ําตอหนวยเวลา หรือปริมาตรของน้ําตอหนวยเวลาตอหนวยพื้นท่ี เชน มิลลิเมตรตอวัน หรือ ลูกบาศกเมตรตอไร เปนตน หากตองการทราบคาการใชน้ําของพืชชนิดใดชนิดหนึ่งท่ีปลูก ณ สถานท่ีใดสถานท่ีหนึ่งแลว ก็จําเปนท่ีจะตองทําการศึกษาทดลองและเก็บรวบรวมขอมูลการใชน้ําตั้งแตปลูกจนกระท่ังเก็บเกี่ยว เพื่อใหทราบคาดังกลาวอยางถูกตองและเหมาะสมกับทองถ่ินนั้น ๆ อยางไรก็ตามการท่ีจะทําการศึกษาวิจัยทดลองในทุกพื้นท่ีนั้นอาจทําไดยากท้ังนี้เพราะจําเปนท่ีจะตองใชสถานท่ีท่ีจะใชทําการทดลอง เคร่ืองจักรเคร่ืองมือ ตลอดจนบุคคลากรท่ีมีทักษะความรูและประสบการณดานตาง ๆ เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองตามหลักวิชาการ

คาการใชน้ําของพืชนั้น กรมชลประทานมีหนวยงานท่ีรับผิดชอบดานการวางแผน ศึกษา วิจัย ทดลองเพื่อหาความตองการใชน้ําของพืชเศรษฐกิจหลักท่ีปลูกในเขตพ้ืนท่ีชลประทานท่ัวประเทศอยูแลว ดังนั้น จึงมีขอมูลการใชน้ําของพืชหลักท่ีสําคัญตาง ๆ ท่ีสามารถนําไปใชงานใหเกิดประโยชนไดทันทีโดยอยูในรูปของขอมูลคาสัมประสิทธ์ิพืช (Crop Coefficient; Kc) ตามชวงของการเจริญเติบโตหรือตลอดการเพาะปลูกซ่ึงพืชแตละชนิดก็จะมีคาสัมประสิทธ์ิเฉพาะไมสามารถใชแทนกันได แตเนื่องจากการที่จะนําขอมูลดังกลาวนี้ไปใชเพ่ือหาคาการใชน้ําของพืช (ET) ท่ีปลูกอยูในทองถ่ินอ่ืนท่ีมีสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศแตกตางไปจากสถานที่ท่ีใชศึกษาทดลองนั้น จําเปนท่ีจะตองมีการปรับคาใหถูกตองและเหมาะสมกับพื้นท่ีหรือทองถ่ินท่ีจะนําไปใช ดังนั้นจึงควรจะตองทําการคํานวณหาคาการใชน้ําของพืชอางอิง (Reference Crop Evapotranspiration; ETo) ของสถานท่ีท่ีจะนําไปใชเสียกอน ซ่ึงมีอยูดวยกันหลายวิธี เชน วิธีการของ Penman, Modified Penman และ Penman Monteith เปนตน ปจจุบันวิธีการคํานวณหาคาการใชน้ําของพืชอางอิงโดยวิธี Penman Monteith นั้นถือวาเปนวิธีการที่ FAO ใหการยอมรับและแนะนําใหใชเพราะเปนวิธีการประเมินคาการใชน้ําของพืชอางอิงท่ีคอนขางใกลเคียงกับความตองการใชน้ําของพืชจริงมากท่ีสุด สําหรับการหาคาการใชน้ําของพืช ณ พื้นท่ีหรือทองถ่ินใด ๆ โดยหลักการสามารถหาไดโดยการนําขอมูลคาสัมประสิทธ์ิพืช (Kc) ของพืชท่ีตองการไปคํานวณรวมกับคาการใชน้ําของพืชอางอิง (ETo) ตามชวงระยะเวลาท่ีตองการทราบคา ท้ังนี้ส่ิงสําคัญท่ีสุดของการนําคาสัมประสิทธ์ิพืชไปใชงานอยางถูกตองคือจะตองรูวาเปนคา Kc ของพืชท่ีไดจากวิธีการใดเพ่ือจะไดนําคา ETo ของวิธีเดียวกันนั้นมาใชเพื่อใหไดคาการใชน้ําของพืชท่ีถูกตอง

Page 19: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

16

1. นิยามศัพท 1.1 การคายน้ําของพืช (Transpiration; T) หมายถึง การระเหยของน้ําออกจากตนพืชโดยผานทางปาก

ใบและผิวใบมีหนวยเปนความลึกของน้ํา/ หนวยเวลาหรือปริมาตรของน้ํา/ หนวยเวลา/ หนวยพื้นท่ี เชน มิลลิเมตร/วัน 1.2 การระเหย (Evaporation; E) หมายถึง การระเหยของน้ําจากผิวน้ําและ/ หรือผิวดิน มีหนวยเปนความลึกของน้ํา/ หนวยเวลาหรือปริมาตรของนํ้า/ หนวยเวลา/ หนวยพื้นท่ี เชน มิลลิเมตร/ วัน 1.3 ปริมาณการใชน้ําของพืช หรือ การคายระเหยนํ้าของพืช (Crop Evapotranspiration; ET) หมายถึง ปริมาณนํ้าท่ีพืชตองการใชจริง ๆ รวมถึงปริมาณนํ้าท่ีสูญเสียไปจากแปลงปลูก โดยกระบวนการคายนํ้าของพืชและการระเหย มีหนวยเปนความลึกของน้ํา/หนวยเวลา หรือปริมาตรของน้ํา/หนวยเวลา/หนวยพื้นท่ี เชน มิลลิเมตร/วัน 1.4 ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (Reference Crop Evapotranspiration; ETo) หมายถึงหลักการในการคํานวณหาปริมาณน้ําท่ีสูญเสียไปจากพ้ืนท่ีเพาะปลูกท่ีมีพืชปกคลุมอยูอยางท่ัวถึง โดยท่ีดินจะตองมีความช้ืนอยูอยางเพียงพอกับความตองการของพืชตลอดเวลาและพ้ืนท่ีเพาะปลูกนั้นจะตองมีบริเวณกวางใหญพอท่ีจะไมทําใหการระเหยและการคายน้ําของพืชตองกระทบกระเทือนจากอิทธิพลภายนอกมากนัก เชน การพัดผานของลมท่ีแหงและรอน ท้ังนี้เพราะเพื่อตองการใหคาปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิงนี้ขึ้นอยูกับความเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศรอบขางแตเพียงอยางเดียว เชน อิทธิพลท่ีเกิดจากการแผรังสีของดวงอาทิตย อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ ความเร็วลม ช่ัวโมงแสงแดด เปนตน การคํานวณหาปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง จะเปนการนําเอาขอมูลของสภาพภูมิอากาศ ณ ชวงเวลาและสถานที่ท่ีใชทดลองนั้นหรือเปนสถานท่ีท่ีจะนําคาการใชน้ําของพืชอางอิงไปใชงาน ขอมูลดังกลาวจะตองผานการตรวจสอบ วิเคราะห ปรับปรุงตลอดจนแบงชวงใหตรงกับชวงการเจริญเติบโตหรืออายุพืชหรือชวงเวลาท่ีจะนําไปใช โดยใชสูตรหรือวิธีการคิดคํานวณท่ีปจจุบันนิยมใชกันอยางแพรหลาย เชน Modified Penman, Penman Monteith, E-pan เปนตน 1.5 คาสัมประสิทธ์ิพืช (Crop Coefficient; Kc) หมายถึง คาคงท่ีของพืชท่ีไดจากความสัมพันธระหวางปริมาณการใชน้ําของพืช (ET) ท่ีทําการทดลองและตรวจวัดไดจากถังวัดการใชน้ําของพืช (Lysimeter) กับผลการคํานวณหาปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (ETo) จากสูตรใดสูตรหนึ่ง โดยอยูในรูปสมการ

คาสัมประสิทธ์ิพืช จะเปนประโยชนอยางมากตอการนําไปใชงานในดานชลประทานและการเกษตร ในกรณีท่ีตองการปลูกพืชในทองถ่ินอ่ืนท่ียังไมมีการทําการทดลองหาปริมาณการใชน้ําของพืชชนิดนั้นมากอนเลย เม่ือตองการทราบก็สามารถนําคา Kc มาคํานวณหาคา ET รวมกับคา ETo ท่ีไดจากขอมูลของสภาพภูมิอากาศของทองถ่ินนั้นได

EToETKc =

Page 20: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

17

2. การหาคาการใชน้ําของพชื การหาคาหรือปริมาณการใชน้ําของพืชแตละชนิดนั้น สามารถทําไดหลายวิธี ตั้งแตวิธีการงาย ๆ ท่ีไมจําเปนตองอาศัยเคร่ืองมือท่ีสลับซับซอน ไปจนถึงวิธีการท่ีตองใชเคร่ืองมือพิเศษและมีราคาแพงสําหรับการตรวจวัด ซ่ึงไมวาจะเปนวิธีใดก็ตามสุดทายผลลัพธท่ีไดจะตองเปนคาการใชน้ําของพืชท่ีมีแนวโนมท่ีใกลเคียงคาความเปนจริงมากท่ีสุดและสามารถนําไปใชงานไดจริง เปนตน หากจะแยกการหาปริมาณการใชน้ําของพืชออกตามวิธีการดําเนินการ สามารถแยกออกไดเปน 2 แบบ คือ 2.1 การหาปริมาณการใชน้ําของพืชโดยวิธีการตรวจวัด

การวัดปริมาณการใชน้ําของพืชโดยตรงอาจทําไดหลายวิธี แตละวิธีมีท้ังขอดีและขอเสียตลอดจนมีปญหาเขามาเกี่ยวของตาง ๆ กัน การที่จะเลือกใชวิธีหนึ่งวิธีใดนั้นข้ึนอยูกับความละเอียดถูกตองท่ีตองการ คาใชจายในการจัดเตรียมหรือจัดหาเคร่ืองมือ ชนิดของพืชและองคประกอบอ่ืน ๆ อีกหลายอยาง วิธีการที่นิยมใชกันโดยท่ัว ๆ ไปในงานดานเกษตรชลประทานและวิศวกรรมชลประทาน ไดแก

2.1.1 การวัดจากถังวัดการใชน้ําของพืช (Lysimeter Tank) การวัดจากถังวัดการใชน้ําของพืชนั้น ถาจะเปรียบเทียบกันแลวก็คือกระถางตนไมขนาด

ใหญท่ีปลูกพืชท่ีตองการวัดคาการใชน้ํา แลวนําไปตั้งอยูทามกลางพ้ืนท่ีท่ีปลูกพืชชนิดเดียวกัน โดยใหมีสภาพท้ังภายในและภายนอกกระถางคลายคลึงกับสภาพท่ีเปนจริงตามธรรมชาติมากท่ีสุด กระถางดังกลาวตองมีอุปกรณสําหรับวัดปริมาณน้ําท่ีสูญเสียไป เพื่อจะไดนํามาคํานวณปริมาณนํ้าใชของพืชในชวงระยะเวลาตาง ๆได ปริมาณการใชน้ําของพืชนิยมบอกเปนคาความลึกของน้ําตอหนึ่งหนวยเวลา เชน มิลลิเมตรตอวัน

2.1.2 การศึกษาจากคาความชื้นในดนิ การศึกษาจากคาความช้ืนในดิน วิธีนี้เหมาะสําหรับดินท่ีมีเนื้อดินท่ีสมํ่าเสมอตลอดความลกึ

และระดับน้ําใตดินอยูต่ํากวาระดับผิวดินมาก วิธีวัดทําโดยการหาจํานวนความช้ืนในดินกอนและหลังใหน้ําแกพืชทุกคร้ัง

2.1.3 การศึกษาจากแปลงทดลอง การศึกษาจากแปลงทดลอง แปลงทดลองควรมีระดับน้ําใตดินอยูต่ํากวาระดับผิวดินอยาง

นอย 25 เมตร ซ่ึงจะทําใหเช่ือไดวาพืชไมสามารถดูดน้ําใตดินมาใชได แลวทําการทดลองโดยใหน้ําแกพืชในปริมาณท่ีตางๆ กันแลววัดผลผลิตท่ีไดรับ ซ่ึงผลปรากฏวาพืชทุกชนิดท่ีทําการทดลองจะใหผลผลิตเพิ่มข้ึนเม่ือใหน้ําเพิ่มข้ึน จนถึงระดับหนึ่งท่ีเม่ือเพิ่มปริมาณนํ้าท่ีใหแลว จะทําใหผลผลิตลดลง จึงใชคาปริมาณนํ้าท่ีจุดเร่ิมมีการเปล่ียนแปลงผลผลิตจากท่ีเพิ่มข้ึนเปนลดลงนั้นเปนปริมาณการใชน้ําของพืชชนิดนั้น ๆ การทดลองน้ีจะไมมีน้ําไหลออกนอกแปลงทดลอง แตก็ไมไดวัดการไหลซึมของนํ้าเลยเขตรากพืช ดังนั้นปริมาณการใชน้าํของพืชท่ีหาไดจึงมีคาคอนขางสูงและไมไดรับความนิยม

Page 21: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

18

2.2 การหาปริมาณการใชน้ําของพืชโดยอาศัยขอมูลภูมิอากาศ การหาปริมาณการใชน้ําของพืชโดยอาศัยขอมูลภูมิอากาศหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา การหาปริมาณ

การใชน้ําของพืชอางอิง (Reference Crop Evapotranspiration; ETo) อาจทําไดหลายวิธีดวยกัน ซ่ึงสูตรท่ีใชจะข้ึนอยูกับความละเอียดถูกตองของผลลัพธขอมูลภูมิอากาศที่มีอยูและความสามารถในการนําไปใชงาน ฯลฯ สูตรหรือวิธีการท่ีนิยมใชกันในงานดานชลประทานและเกษตรชลประทานซ่ึงเปนท่ียอมรับและใชกันอยางแพรหลายมีอยูดวยกัน 7 วิธีการ คือ Modified Penman, E–pan, Penman Monteith, Blaney Criddle, Thornthwaite, Hargreaves และ Radiation

ปจจุบันสูตรการหาคา ETo นิยมใชสูตร Penman Monteith เพราะเปนสูตรท่ีนําปจจัยทาง ภูมิประเทศและภูมิอากาศตาง ๆ มาใชในการคํานวณซ่ึงใหคาท่ีมีความถูกตองแมนยําใกลเคียงกับความตองการใชน้ําของพืชจริงมากกวาสูตรอ่ืน

2.2.1 ขอมูล ขอมูลท่ีใชคํานวณสามารถแบงออกไดเปน 2 สวนดวยกัน คือ ก. ขอมูลสภาพภูมิประเทศ ขอมูลท่ีสําคัญของสภาพภูมิประเทศหรือทําเลที่ตั้งของสถานท่ีท่ีทําการคํานวณ ไดแก จุด

พิกัดเสนรุง (Latitude) จุดพิกัดเสนแวง (Longitude) และคาความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง (altitude above mean sea level; MSL) เปนตน

ข. ขอมูลภูมิอากาศหรือสถิติอุตุนิยมวิทยา ขอมูลสภาพภูมิอากาศท่ีนํามาใชเปนขอมูลเฉล่ียเปนรายวัน, รายสัปดาห หรือรายเดือนก็

ไดแลวแตชวงการทดลองหรือความละเอียดของผลงานที่ตองการ ขอมูลท่ีสําคัญ ๆ สําหรับใชในการคํานวณ ไดแก

1. อุณหภูมิของอากาศ (Air Temperature; °C) สามารถแยกออกเปน - อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ีย - อุณหภูมิต่ําสุดเฉล่ีย - อุณหภูมิเฉล่ีย

2. ความช้ืนสัมพัทธของอากาศ (Relative Humidity; %) - ความช้ืนสัมพัทธเฉล่ีย

3. ความเร็วลมท่ีระดับความสูง 2.00 ม. จากพ้ืนดนิ (Wind speed at 2.00 m. above ground; กม./วนั)

- ความเร็วลมผิวดินเฉล่ีย 4. ช่ัวโมงแสงแดด (Sunshine Duration; ชม./ วัน )

- ช่ัวโมงแสงแดดเฉล่ีย 5. การระเหยของน้ําจากอางวดัการระเหยแบบ Class A pan (Evaporation; มม./วัน)

- คาระเหยของนํ้าเฉล่ีย

Page 22: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

19

นอกจากนี้ ในกรณีท่ีขอมูลท่ีตองการดังท่ีกลาวมาเกิดขาดหายไปเนื่องจากไมไดทําการ

ตรวจวัด หรือเครื่องมือตรวจวัดชํารุด ก็สามารถใชขอมูลตัวอ่ืน นํามาปรับเปล่ียนหรือแปลงคาใชแทนกันได เชน

6. คาความคร้ึมของเมฆ (Cloudiness; 0-10) สามารถใชแทนคาช่ัวโมงแสงแดด - ความคร้ึมของเมฆเฉล่ีย

7. ความเร็วลมท่ีระดับความสูง X เมตร. (Wind speed at X m. above ground; กม./ วัน ) - ความเร็วลมเฉล่ียท่ีระดับความสูง X ม.

8. คาความสูงจากพ้ืนดินของเคร่ืองมือวัดความเร็วลม (Height of wind vane; m.) ใชแทนความเร็วลมเฉล่ียท่ีระดับความสูง 2.00 ม. จากพ้ืนดิน

- ความสูงจากพื้นดินเฉล่ีย X ม. 2.2.2 สูตรหรือวิธีการคํานวณ

สูตรหรือสมการท่ีใชคํานวณหาปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง ท่ีเปนท่ีรูจักและนิยมใชกันอยางแพรหลายมีอยูดวยกัน 7 สูตร ไดแก

1. Modified Penman (FAO 24,1992:15-28) ขอมูลท่ีตองการ

- พิกัดทางภูมิศาสตร (เสนรุง, เสนแวง, ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง) - อุณหภูมิของอากาศ (สูงสุด, ต่ําสุด, เฉล่ีย) - ความช้ืนสัมพัทธของอากาศ (เฉล่ีย) - ความเร็วลมผิวดินหรือท่ีระดับ 2.00 เมตร (เฉล่ีย) - จํานวนช่ัวโมงแสงแดด (เฉล่ีย) สมการ

)]).(().1(.[ as eeufWRnWcETo −−+=

ความหมาย

ETo = ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง ( มม./ วัน) c = คาสําหรับใชปรับแกความคลาดเคล่ือน (Adjustment Factor) W = factor ท่ีอยูในเทอมที่เกี่ยวของกับรังสีแสงแดด Rn = รังสีแสงแดดสุทธิ

(1-w) = อิทธิพลของลมและความช้ืนในอากาศท่ีทราบระดับและอุณหภูมิเฉล่ีย f(u) = อิทธิพลของกระแสลม (es-ea) = ผลตางระหวางคาความดนัไอน้ําอ่ิมตัวเฉล่ีย (es) กับความดันไอนํ้าท่ีเปนจริงเฉล่ีย (ea)

Page 23: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

20

2. Blaney-Criddle (FAO 24,1992:3-7 & Jensen,1983:200-203) ขอมูลท่ีตองการ

- พิกัดทางภูมิศาสตร (เสนรุง, เสนแวง, ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง) - อุณหภูมิของอากาศ (เฉล่ีย) - ความช้ืนสัมพัทธของอากาศ (ต่ําสุด) - ความเร็วลมกลางวันท่ีระดบั 2.00 เมตร (U2 day) (เฉล่ีย) - จํานวนช่ัวโมงแสงแดด (เฉล่ีย) สมการ

( )[ ]846.0 += TpcETo ความหมาย

ETo = ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (มม./ วัน) T = คาอุณหภูมิประจําเดือนเฉล่ีย (°C)

P = เปอรเซ็นตประจําวนัเฉล่ียของช่ัวโมงกลางวันท้ังหมดในระยะเวลา 1 ป c = คาปรับแกซ่ึงมีผลมาจาก RH min, n/N, และ U2 day

3. E-pan (FAO 24,1992:30-34 & Jensen,1983:203-205) ขอมูลท่ีตองการ

- คาการระเหยของน้ําจากอางวัดการระเหยแบบ Class A pan (เฉล่ีย) สมการ

EpanxkpETo = ความหมาย

ETo = ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง ( มม./วัน) Kp = คาสัมประสิทธ์ิของอางวัดการระเหยซ่ึงข้ึนอยูกับลักษณะการติดตั้ง (คาเฉล่ียสําหรับประเทศไทย = 0.85) Epan = คาการระเหยของนํ้าท่ีอานไดจากอางวัดการระเหยแบบ Class A Pan ( มม. )

4. Thornthwaite (Brunce Withers & Stanley Vipond, 1983: 93-95) ขอมูลท่ีตองการ

- พิกัดทางภูมิศาสตร (เสนรุง, เสนแวง, ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง) - อุณหภูมิของอากาศรายเดอืนตลอดป (เฉล่ีย) - ความช้ืนสัมพัทธของอากาศรายเดือนตลอดป (เฉล่ีย) สมการ

10xmxPETETo = เม่ือ dxePET =

Page 24: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

21

โดยท่ี e = 1.6 (10 T/ I) a เม่ือ 0.2 < T < 26.5 °C และ a = ( 6.75x10 -7 ) I 3 - ( 7.71x10 -5 ) I 2 + ( 1.792x10 -2 ) I + 0.49239 หรือ

e = -39.702 + ( 3.09655) T - ( 0.041091) T 2 เม่ือ 26.5 < T ≤ 32.0 °C และ m = 1.505 x [ (100-Rh)/ 75 ] x 0.372

ความหมาย ETo = ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (มม./ เดือน) PET = คาการระเหยน้ําของพืชโดยคํานวณจากสภาพภมิูอากาศตามสูตรของ Thornthwaite (ซม.)

e = ETo เฉล่ียประจําเดือน d = day length factor ประจําเดือน T = อุณหภูมิเฉล่ียประจําเดือน (°C) I = Heat Index ของสถานีหรือสถานท่ีทดลอง ∑ i โดยที่ i = (T/ 5)1.514 a = Exponent เกี่ยวกับท่ีตั้งของสถานี m = Humidity Factor Rh = ความช้ืนสัมพัทธเฉล่ีย (%)

5. Hargreaves (Hargreaves and Samani, 1985:96-99) ขอมูลท่ีตองการ - พิกัดทางภูมิศาสตร (เสนรุง, เสนแวง, ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง) - อุณหภูมิของอากาศสูงสุด-ต่ําสุด-เฉล่ีย (เฉล่ีย) สมการ

( ) TDTcRaETo 8.170023.0 += ความหมาย

ETo = ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง ( มม./ วัน) Ra = รังสีอาทิตยท่ีไดรับบนผิวโลกเม่ือไมมีบรรยากาศปกคลุม สําหรับซีกโลกภาคเหนอืหรือใต

เม่ือคิดเทียบเปนอัตราการระเหยของน้ําท่ี 20°C (มม./ วัน) Tc = อุณหภูมิของอากาศเฉล่ีย (°C) TD = อุณหภูมิของอากาศสูงสุดเฉล่ีย (Tmax ) – อุณหภูมิต่ําสุดเฉล่ีย (Tmin ) สําหรับชวง

ระยะเวลาท่ีคํานวณ (°C) 6. Radiation (FAO 24,1992:8-14) ขอมูลท่ีตองการ

- พิกัดทางภูมิศาสตร (เสนรุง, เสนแวง, ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง) - อุณหภูมิของอากาศ (เฉล่ีย) - ความช้ืนสัมพัทธของอากาศ (เฉล่ีย)

Page 25: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

22

- ความเร็วลมกลางวันท่ีระดบั 2.00 เมตร (U2 day) (เฉล่ีย) - จํานวนช่ัวโมงแสงแดด (เฉล่ีย)

สมการ ( )RsxWcETo =

ความหมาย ETo = ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง ( มม./ วัน) Rs = รังสีแสงอาทิตยท่ีคิดเทียบเปนอัตราการระเหยของน้ํา ( มม./ วัน) W = factor ซ่ึงข้ึนอยูกับอุณหภูมิและความสูงจากระดบัน้ําทะเล c = คาตัวแปรปรับแกท่ีข้ึนกับ RH mean, U2 day

7. Penman Monteith (Smith, 1990: 47-58) ขอมูลท่ีตองการ

- พิกัดทางภูมิศาสตร (เสนรุง, เสนแวง, ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง) - อุณหภูมิของอากาศ (สูงสุด, ต่ําสุด, เฉล่ีย) - ความช้ืนสัมพัทธของอากาศ (เฉล่ีย) - ความเร็วลมผิวดินหรือท่ีระดับ 2.00 เมตร (เฉล่ีย) - จํานวนช่ัวโมงแสงแดด หรือคาความคร้ึมของเมฆ (เฉล่ีย) สมการ

)34.01(

)(273

900)(408.0

2

2

U

eeUT

GRETo

asn

++Δ

−+

+−Δ=

γ

γ

ความหมาย ETo = ปริมาณการใชน้ําของพืชอางอิง (มม./ วัน)

Rn = ปริมาณรังสีของดวงอาทิตยท้ังหมดท่ีพืชไดรับ (MJ/ m2/ d ) G = flux คาความรอนของพื้นดิน (MJ/ m2/ d ) T = อุณหภูมิของอากาศเฉล่ีย (°C) Δ = คาความลาดเทของเสน curve แรงดนัไอ (kPa/°C ) γ = คาคงท่ีของ psychrometric (kPa/°C ) U2 = คาความเร็วลมท่ีระดับความสูงจากพื้นดนิ 2 ม. (m/ s )

(es-ea ) = คาความตางของแรงดันไอ (kPa) 900 = factor ปรับแก

Page 26: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

23

ภาคผนวก ข ขอมูลคา Kc และคา ETo Penman Monteith

Page 27: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

25

1. ขอมูลคาสัมประสิทธิ์พืช (Kc)

คาสัมประสิทธิ์พืชโดยวิธีของ Penman Monteith Crop Coefficient by Penman Monteith

สัปดาหที่ ขาว กข. ขาวนาหวานน้ําตม ขาวขาวดอกมะลิ ขาวบาสมาติ ขาวสาลี ขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดหวาน ขาวฟาง

(สุพรรณบุรี 1) 105

Weekly Rice(High Yield Direct Sowing Rice(Khao Dawk Rice (Basmati) Wheat Maize Sweet Corn Sorghum

Variety) (Suphanburi 1) Mali 105) 1 1.03 0.80 0.66 1.22 0.50 0.63 0.65 0.54 2 1.07 1.05 0.79 1.30 0.52 0.72 0.68 0.57 3 1.12 1.25 0.97 1.36 0.61 0.86 0.84 0.68 4 1.29 1.40 1.18 1.45 0.76 1.13 0.99 0.84 5 1.38 1.50 1.35 1.47 1.11 1.35 1.16 1.05 6 1.45 1.55 1.51 1.49 1.26 1.52 1.22 1.21 7 1.50 1.60 1.61 1.49 1.33 1.61 1.21 1.23 8 1.48 1.63 1.64 1.48 1.38 1.63 1.15 1.26 9 1.42 1.68 1.62 1.46 1.37 1.58 0.96 1.25

10 1.34 1.60 1.60 1.44 1.32 1.50 0.72 1.20 11 1.23 1.50 1.55 1.36 1.14 1.38 0.61 1.12 12 0.94 1.36 1.46 1.23 0.83 1.15 0.94 13 0.86 1.08 1.28 1.11 0.62 0.90 0.78 14 0.65 1.08 0.93 0.46 0.67 0.69 15 0.39 0.65 16 0.62

เฉลี่ย Average

1.24 1.33 1.31 1.34 0.91 1.19 0.93 0.91

Page 28: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

26

คาสัมประสิทธิ์พืชโดยวิธีของ Penman Monteith Crop Coefficient by Penman Monteith

สัปดาหที่ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว งา ทานตะวัน แตงโม กะหล่ําดอก คะนา มะเขือเทศ

Weekly Soybean Mungbean Sesame Sunflower Watermelon Cauliflower Chinese kale Tomato

1 0.64 0.58 0.59 0.68 1.02 1.01 0.54 0.73 2 0.69 0.87 0.70 0.73 1.14 1.36 0.60 0.82 3 0.81 1.18 0.85 0.75 1.60 1.43 0.68 0.91 4 1.01 1.40 1.11 0.78 1.90 1.47 0.72 1.01 5 1.23 1.28 1.23 0.81 2.10 1.49 0.78 1.12 6 1.32 1.19 1.28 0.85 1.90 1.19 0.83 1.21 7 1.35 0.66 1.24 0.90 1.73 1.17 0.73 1.30 8 1.34 0.44 1.21 0.95 1.44 0.67 1.36 9 1.27 0.34 1.13 0.97 1.03 1.41

10 1.09 0.98 1.06 0.75 1.41 11 0.85 0.71 1.10 0.65 1.37 12 0.74 0.55 1.03 0.52 1.31 13 0.74 0.92 1.22 14 0.72 0.80 1.08 15 0.72 0.92 16

เฉลี่ย Average

0.99 0.88 0.97 0.87 1.32 1.30 0.69 1.15

Page 29: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

27

คาสัมประสิทธิ์พืชโดยวิธีของ Penman Monteith Crop Coefficient by Penman Monteith

สัปดาหที่ หอมหัวใหญ หอมแดง มะระ ดอกบานชื่น

Weekly Onion Shallot Bitter gourd Zinnia

1 0.75 0.72 0.88 0.36 2 0.76 0.82 1.09 0.58 3 0.80 0.94 1.23 0.77 4 0.88 1.05 1.35 0.93 5 1.01 1.15 1.43 1.07 6 1.12 1.20 1.48 1.18 7 1.21 1.20 1.47 1.27 8 1.32 1.15 1.46 1.33 9 1.38 1.08 1.41 1.38

10 1.41 0.92 1.36 11 1.40 0.77 1.29 12 1.37 0.67 13 1.33 14 1.29 15 1.22 16

เฉลี่ย Average

1.15 0.97 1.31 0.99

Page 30: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

28

คาสัมประสิทธิ์พืชโดยวิธีของ Penman Monteith Crop Coefficient by Penman Monteith

เดือนที่ ฝาย ออย ละหุง หนอไมฝรั่ง เผือก กุหลาบ กลวยน้ําวา กลวยหอม

Monthly Cotton Sugarcane Castor bean Asparagus Taro Rose Cultivated Banana Banana

1 0.88 0.65 0.76 0.68 1.00 0.89 0.76 1.94 2 1.19 0.86 0.86 1.10 1.23 0.95 1.10 1.74 3 1.34 1.13 1.01 1.42 2.14 1.46 1.45 1.78 4 1.15 1.35 1.02 1.48 2.27 1.49 1.64 1.96 5 0.85 1.56 1.01 1.29 1.66 1.16 2.30 2.07 6 0.62 1.29 0.89 1.08 1.50 1.33 2.11 2.18 7 1.20 0.70 0.83 2.07 2.38 2.18 8 0.93 0.47 0.66 1.79 2.29 1.88 9 0.63 0.55 2.17 3.28 1.86

10 0.52 0.61 2.25 3.19 2.21 11 0.76 1.73 3.39 2.02 12 0.74 1.90 3.39 2.22

เฉลี่ย Average

1.01 1.01 0.84 0.93 1.63 1.60 2.27 2.00

Page 31: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

29

คาสัมประสิทธิ์พืชโดยวิธีของ Penman Monteith Crop Coefficient by Penman Monteith

เดือน มะนาว(1-3 ป) มะนาว(3-5 ป) มะมวง สมโอ กลวยน้ําวา กลวยหอม ขนุน หญาแฝก

Month Lemon tree Lemon tree Mango tree Pomelo Cultivated Banana Banana Jackfruit tree Vetiver Grass

(1-3yrs.) (3-5 yrs.) มี.ค. 1.10 1.17 เม.ย. 1.38 1.47 1.94 พ.ค. 1.44 1.51 1.74 มิ.ย. 1.50 1.59 2.10 1.78 ก.ค. 1.29 1.35 2.46 1.96 ส.ค. 1.08 1.14 2.53 2.07 ก.ย. 1.30 1.33 2.28 2.18 ต.ค. 1.40 1.42 2.29 2.18 0.84 พ.ย. 1.18 1.21 2.50 0.76 1.88 0.65 ธ.ค. 1.19 1.28 1.90 1.74 1.10 1.86 1.27 0.91 ม.ค. 1.06 1.16 1.69 1.62 1.45 2.21 1.29 0.79 ก.พ. 1.02 1.11 1.61 1.45 1.64 2.02 1.01 0.87 มี.ค. 1.27 1.12 2.30 2.22 1.29 0.83 เม.ย. 1.24 1.02 2.11 1.59 1.03 พ.ค. 1.19 1.13 2.38 1.73 1.37 มิ.ย. 1.97 2.29 1.77 1.37 ก.ค. 2.44 3.28 1.38 1.53 ส.ค. 2.36 3.19 1.58 1.33 ก.ย. 1.97 3.39 1.83 1.24 ต.ค. 1.96 3.39 1.26 พ.ย. 1.90 1.63 1.34

เฉลี่ย 1.25 1.31 1.92 1.72 2.22 2.00 1.35 1.16

Page 32: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

30

คาสัมประสิทธิ์พืชโดยวิธีของ Penman Monteith Crop Coefficient by Penman Monteith

เดือน หญารูซี่ หญาเนเปยรแคระ ถั่วไมยรา มะลิ ปทุมมา ธูปฤาษี

Month Ruzi grass Dwarf Napier Hedge Lucern Jasmin Curcuma Cattail

(Siam Tulip) ก.พ. 1.35 มี.ค. 1.49 0.91 เม.ย. 1.08 0.80 พ.ค. 0.88 1.84 0.35 0.88 มิ.ย. 1.23 1.46 0.61 1.01 ก.ค. 1.03 0.65 0.90 0.65 1.27 ส.ค. 0.98 1.41 1.74 0.62 1.48 ก.ย. 0.77 1.12 1.53 2.18 1.14 1.53 ต.ค. 1.09 0.76 0.75 2.32 0.67 1.49 พ.ย. 0.58 1.77 0.54 2.19 0.52 1.54 ธ.ค. 1.24 2.11 0.68 2.56 0.74 1.73 ม.ค. 0.85 1.81 0.92 2.35 1.75 ก.พ. 1.24 1.90 1.12 1.70 มี.ค. 0.57 1.95 1.28 เม.ย. 1.05 2.28 พ.ค. 2.25 มิ.ย. 1.98 ก.ค. 1.37 ส.ค. 1.25 ก.ย.

เฉลี่ย 0.96 1.71 0.99 1.79 0.66 1.34

Page 33: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

31

2. คา ETo Penman Monteith

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคเหนือ

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

แมฮองสอน 2.83 3.55 4.51 5.22 4.46 3.59 2.93 3.32 3.11 3.32 3.02 2.68

-แมสะเรียง 2.89 3.86 4.78 5.11 4.35 2.92 2.82 2.72 3.07 3.09 2.93 2.84

เชียงราย 2.83 3.50 4.40 5.05 4.35 4.00 3.53 3.38 3.45 3.43 3.17 2.63

-สถานีฯเกษตร เชียงราย 2.79 3.42 4.26 4.77 4.13 3.85 3.40 3.27 3.71 3.38 3.14 2.64

พะเยา 2.83 3.53 4.45 4.91 4.40 3.69 3.58 3.38 3.40 3.23 2.92 2.58

เชียงใหม 3.21 4.09 5.26 6.12 4.97 4.30 3.80 3.62 3.67 3.74 3.35 3.03

-ดอยอางขาง 3.16 4.36 5.30 5.18 3.95 3.50 3.27 3.06 3.23 2.92 2.98 2.65

-สถานีฯเกษตร แมโจ 3.07 3.71 4.59 4.85 3.86 3.92 2.94 3.37 3.09 3.68 3.38 3.03

ลําปาง 3.07 3.73 4.69 4.98 4.44 4.06 3.61 3.46 3.51 3.42 3.13 2.84

-เถิน 3.64 4.54 5.60 5.77 4.39 4.27 3.86 3.67 3.73 3.64 3.77 3.45

-สถานีฯเกษตร ลําปาง 2.77 3.26 4.06 4.22 3.78 3.45 3.37 3.28 3.06 3.29 3.11 2.70

ลําพูน 2.94 3.79 4.73 5.46 4.56 3.78 3.68 3.47 3.47 3.35 3.06 2.74

แพร 2.98 3.70 4.48 4.91 4.57 3.73 3.59 3.44 3.50 3.41 3.17 2.68

นาน 2.88 3.49 4.39 4.63 4.25 3.88 3.43 3.33 3.43 3.47 3.04 2.70

-สถานีฯเกษตร นาน 2.88 3.54 4.37 4.83 4.14 3.78 3.37 3.27 3.72 3.74 3.32 2.81

-ทาวังผา 2.88 3.56 4.55 4.67 4.28 3.56 3.46 2.78 3.41 3.40 3.11 2.65

-ทุงชาง 3.14 3.81 4.76 4.91 4.39 4.22 3.76 3.29 3.73 3.92 3.29 2.90

อุตรดิตถ 3.25 3.88 4.77 4.91 4.43 3.59 3.50 3.40 3.52 3.59 3.48 2.99

ตาก 3.20 4.16 5.25 5.80 4.94 3.86 3.93 3.84 3.33 3.39 3.21 2.94

-แมสอด 3.32 4.08 4.96 5.41 4.21 3.00 2.88 2.79 3.15 3.52 3.48 3.31

-เขื่อนภูมิพล 3.23 4.12 5.14 5.67 4.59 3.81 3.80 3.74 3.26 3.41 3.16 3.01

-อุมผาง 3.12 3.71 4.30 4.51 3.70 2.75 2.69 2.64 2.52 2.99 3.33 2.98

Page 34: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

32

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคเหนือ (ตอ)

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

-สถานีฯเกษตร ดอยมูเซอ 4.14 3.87 4.88 5.76 4.46 3.61 2.84 2.59 2.91 2.9 3.15 2.93

พิษณุโลก 3.27 4.01 4.99 5.32 4.71 3.78 3.65 3.51 3.27 3.55 3.42 3.19

เพชรบูรณ 3.33 4.05 4.96 5.18 4.16 3.69 3.58 3.43 3.22 3.69 3.73 3.41

-หลมสัก 3.15 3.83 4.34 4.53 4.04 3.66 3.59 2.93 3.18 3.57 3.48 3.12

-วิเชียรบุรี 3.31 4.07 4.56 4.73 4.08 3.64 3.58 2.93 3.22 3.53 3.49 3.26

กําแพงเพชร 3.26 3.91 4.35 5.01 4.45 3.92 3.5 3.41 3.55 3.48 3.34 3.11

สุโขทัย 3.36 4.03 4.66 5.72 4.44 4.32 3.94 3.78 3.66 3.66 3.51 3.26

-สถานีฯเกษตร ศรีสําโรง 3.04 3.49 4.47 4.96 3.95 3.93 3.54 3.43 3.49 3.44 3.45 3.00

พิจิตร .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-สถานีฯเกษตร พิจิตร 3.28 3.89 4.35 4.6 4.05 3.98 3.5 3.4 3.19 3.47 3.58 3.24

Page 35: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

33

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

หนองคาย 3.11 3.78 4.62 4.62 4.03 3.56 3.51 3.41 3.51 3.63 3.31 3.04

เลย 3.28 4.06 4.81 5.06 4.43 4.07 3.66 3.55 3.55 3.55 3.23 3.04

-สถานีฯเกษตร เลย 3.19 3.95 4.73 4.76 4.20 3.89 3.87 3.39 3.84 3.50 3.42 3.00

อุดรธานี 3.32 4.07 4.85 5.21 4.56 4.08 3.71 3.55 3.61 3.73 3.70 3.22

สกลนคร 3.44 4.09 4.87 5.02 4.40 3.99 3.57 3.44 3.86 3.90 3.64 3.25

-สถานีฯเกษตร สกลนคร 3.14 3.75 4.48 5.00 4.36 4.26 3.86 3.69 3.98 3.77 3.38 3.09

นครพนม 3.33 3.86 4.30 4.50 3.95 3.47 3.42 3.33 3.48 3.60 3.60 3.16

-สถานีฯเกษตร นครพนม 3.52 4.03 4.48 4.96 4.28 4.25 3.81 3.32 3.83 3.57 3.59 3.25

ขอนแกน 3.65 4.18 5.09 4.97 4.67 4.29 3.88 3.68 3.61 3.79 3.83 3.63

-สถานีฯเกษตร ทาพระ 3.20 3.81 4.48 4.76 4.25 3.91 3.88 3.36 3.48 3.59 3.48 3.18

มุกดาหาร 3.65 4.18 5.00 5.15 4.11 3.64 3.56 3.43 3.57 3.80 3.95 3.53

มหาสารคาม 3.57 4.19 4.71 5.22 4.62 4.22 3.84 3.64 3.62 3.76 3.83 3.58

กาฬสินธุ 4.15 4.89 5.40 5.45 4.80 4.32 4.22 3.65 3.71 4.06 4.30 4.10

ชัยภูม ิ 3.60 4.20 5.00 5.12 4.47 4.13 3.77 3.61 3.60 3.78 3.89 3.51

รอยเอ็ด 3.49 4.13 4.66 4.83 4.22 3.90 3.84 3.64 3.61 3.63 3.68 3.51

-สถานีฯเกษตร รอยเอ็ด 4.04 4.44 4.92 5.25 4.59 4.62 4.21 3.90 3.60 3.78 4.10 3.90

อุบลราชธานี 4.00 4.53 4.93 5.03 4.45 3.96 3.87 3.71 3.43 3.71 4.23 4.22

-สถานีฯเกษตรอุบลราชธานี 3.63 3.68 4.23 4.13 3.65 3.64 3.56 2.87 3.22 3.34 3.64 3.42

ศรีสะเกษ .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-สถานีฯเกษตร ศรีสะเกษ 3.40 3.92 4.56 4.75 4.42 4.43 4.19 3.71 3.85 3.62 3.79 3.45

นครราชสีมา 3.37 3.95 4.39 4.64 4.20 3.95 3.89 3.79 3.36 3.42 3.51 3.41

-สถานีฯเกษตร ปากชอง 4.71 4.71 5.01 4.81 4.20 4.54 4.26 4.04 3.38 3.50 4.44 4.52

Page 36: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

34

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอ)

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

-โชคชัย 3.47 4.21 4.68 4.74 4.09 4.18 3.82 3.72 3.31 3.60 3.57 3.42

สุรินทร 3.76 4.36 4.83 4.87 4.21 4.12 3.71 3.61 3.62 3.70 3.84 3.80

-สถานีฯเกษตร สุรินทร 3.52 3.97 4.38 4.56 3.96 3.98 3.53 3.45 3.58 3.60 3.67 3.43

-ทาตูม 3.54 4.20 4.78 4.99 4.43 4.03 3.96 3.52 3.55 3.72 3.89 3.62

บุรีรัมย 4.17 4.81 5.27 5.49 4.74 4.66 4.14 3.67 3.64 3.86 4.12 3.98

-นางรอง 3.62 4.16 4.81 4.94 4.38 4.00 3.94 3.55 3.60 3.75 3.92 3.57

Page 37: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

35

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคกลางและภาคตะวันตก

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

นครสวรรค 3.71 4.87 6.06 6.06 4.55 4.10 3.92 3.71 3.32 3.57 3.51 3.37

-สถานีฯเกษตร ตากฟา 3.94 4.35 4.88 4.93 4.46 4.02 3.89 3.48 3.57 3.54 3.86 3.81

ชัยนาท .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-สถานีฯเกษตร ชัยนาท 3.30 3.68 4.34 4.56 4.31 4.27 3.84 3.47 3.42 3.26 3.31 3.21

อยุธยา 3.95 4.20 4.58 4.58 4.02 4.10 3.73 3.68 3.36 3.46 3.92 3.94

ปทุมธานี 3.54 3.85 4.44 4.64 4.05 4.15 3.62 3.59 3.26 2.90 3.83 3.54

ราชบุรี 4.04 4.61 5.27 5.15 4.00 3.96 3.57 3.63 3.44 3.39 3.86 4.01

สุพรรณบุรี 3.45 4.11 4.83 5.01 4.36 3.99 3.89 3.32 3.45 3.45 3.58 3.50

-สถานีฯเกษตร อูทอง 3.46 4.12 4.74 4.87 3.89 3.90 3.52 3.51 3.25 3.54 3.47 3.41

ลพบุรี 3.76 4.32 4.78 5.09 4.11 3.67 3.59 3.56 3.27 3.65 3.86 3.82

-บัวชุม 4.03 4.89 5.48 5.03 4.22 3.82 3.73 3.05 3.25 3.65 3.85 3.93

กาญจนบุรี 3.60 4.36 4.80 5.30 4.19 3.72 3.71 3.72 3.44 3.33 3.42 3.51

-ทองผาภูมิ 3.44 4.08 4.71 5.14 3.81 3.31 2.73 2.69 2.61 3.16 3.39 3.33

กรุงเทพมหานคร 3.52 4.17 4.78 4.69 4.10 4.07 3.98 3.46 3.07 3.23 3.62 3.49

-ทาเรือคลองเตย 4.51 4.57 5.18 5.04 4.56 4.61 4.47 4.46 4.27 3.97 4.96 4.77

-ทาอากาศยานดอนเมือง 4.14 4.80 5.37 5.54 4.94 4.63 4.60 4.43 3.95 3.87 4.11 4.04

สมุทรปราการ .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-สถานีฯเกษตร บางนา 1.14 2.03 3.25 3.75 3.74 3.96 3.74 3.36 2.60 1.79 1.46 0.99

เพชรบุรี 3.59 4.23 4.87 4.89 4.22 3.74 3.66 3.17 3.38 3.08 3.39 3.49

ประจวบคีรีขันธ 3.82 4.19 4.38 4.77 4.22 3.93 3.90 3.89 3.68 3.49 3.84 4.18

-หัวหิน 3.93 4.49 5.06 5.07 4.51 4.18 3.79 3.81 3.49 3.45 3.74 4.02

-สถานีฯเกษตร หนองพลับ 3.77 4.25 4.49 4.65 3.84 3.82 3.40 2.92 3.26 3.32 3.40 3.43

นครปฐม 3.70 4.35 5.15 5.12 4.02 4.00 3.63 3.16 3.44 3.69 3.92 3.66

Page 38: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

36

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคตะวันออก

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ฉะเชิงเทรา 3.85 3.83 4.19 4.31 3.86 3.52 3.46 3.46 3.26 3.33 3.47 3.51

ปราจีนบุรี 3.87 4.04 4.30 4.62 3.98 3.50 3.45 3.43 3.27 3.79 4.10 4.07

-กบินทรบุรี 3.75 4.08 4.33 4.67 3.98 3.50 3.43 2.87 3.22 3.36 3.93 3.94

สระแกว 3.96 4.46 4.67 4.66 3.96 3.88 3.45 3.40 3.24 3.64 3.92 3.78

-อรัญประเทศ 3.89 4.35 4.98 4.91 4.11 4.06 3.99 3.60 3.35 3.42 3.61 3.64

ชลบุรี 4.09 4.55 4.83 5.14 4.48 4.13 4.12 3.74 3.43 3.49 4.09 4.16

-เกาะสีชัง 3.87 4.19 4.46 4.77 4.24 4.07 3.98 3.94 3.48 3.47 4.00 4.27

-พัทยา 4.14 4.37 4.83 4.81 4.31 4.19 4.14 4.14 3.61 3.56 4.13 4.49

-สัตหีบ 3.99 4.36 4.66 4.98 4.27 4.26 4.17 3.70 3.71 3.39 4.08 4.21

-แหลมฉบัง 4.83 4.71 5.28 5.30 4.64 4.67 4.69 4.56 4.10 3.70 4.74 4.84

ระยอง 3.75 4.34 4.54 4.83 4.33 4.15 4.08 4.03 3.55 3.51 3.77 3.78

-สถานีฯเกษตร หวยโปง 3.56 3.61 4.10 4.24 3.83 3.79 3.42 3.44 3.29 3.35 3.64 3.59

จันทบุรี 3.72 3.71 4.08 4.35 3.44 2.85 2.85 2.84 2.69 3.34 3.83 3.95

-สถานีฯเกษตร พลิ้ว 3.94 3.73 3.98 4.20 3.42 3.36 3.34 2.84 3.20 3.31 3.78 3.86

ตราด 3.80 3.83 4.17 4.28 3.89 3.35 3.32 2.87 3.22 3.35 3.68 3.84

Page 39: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

37

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคใต

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ชุมพร 3.45 4.10 4.55 4.50 3.89 3.54 3.49 3.53 3.39 3.38 3.40 3.44

-สถานีฯเกษตร สวี 3.34 3.61 4.13 4.15 3.74 4.12 3.68 3.83 3.67 3.36 3.08 3.27

ระนอง 3.84 4.21 4.29 4.27 3.76 3.34 3.27 3.30 3.20 3.31 3.41 3.52

สุราษฎรธานี 3.55 4.24 4.34 4.28 3.80 3.47 3.42 3.49 3.36 3.07 3.10 3.27

-ทาอากาศยาน สรุาษฎรธานี 3.65 4.06 4.42 4.42 3.90 3.51 3.49 3.53 3.41 3.13 3.15 3.08

-เกาะสมุย 3.65 4.24 4.56 4.42 4.26 3.97 3.97 4.05 3.89 3.43 3.43 3.38

-สถานีฯเกษตร สุราษฎรธานี 3.32 4.04 4.37 4.24 3.65 3.60 3.61 3.68 3.61 3.34 2.99 3.11

-พระแสง 3.49 4.00 4.20 4.24 3.41 3.62 3.28 3.35 3.30 3.08 2.89 3.10

นครศรีธรรมราช 3.19 3.79 4.14 4.15 3.77 3.75 3.76 3.55 3.35 3.09 2.83 2.95

-สถานีฯเกษตรนครศรีธรรมราช 3.31 3.72 4.04 4.21 3.67 3.67 3.68 3.80 3.70 3.44 3.08 2.94

-ฉวาง 3.45 3.81 4.11 4.10 3.64 3.52 3.16 3.57 3.54 3.01 3.07 2.93

พัทลุง .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-สถานีฯเกษตร พัทลุง 3.46 4.00 4.11 4.26 3.77 4.04 3.74 3.88 3.86 3.59 3.17 3.07

-ตะก่ัวปา 3.83 4.17 4.14 4.13 3.70 3.31 3.28 3.36 3.22 3.03 3.42 3.48

ภูเก็ต 4.29 4.62 4.55 4.34 3.84 3.81 3.78 3.98 3.43 3.53 3.65 3.83

-ทาอากาศยานภูเก็ต 4.04 4.37 4.58 4.36 3.93 3.93 3.92 3.78 3.52 3.19 3.32 3.67

-เกาะลันตา 4.23 4.51 4.47 4.11 3.61 3.58 3.58 3.72 3.58 3.34 3.06 3.68

กระบ่ี 4.08 4.73 4.42 4.21 3.73 3.58 3.54 3.63 3.57 3.07 3.27 3.50

ตรัง .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-ทาอากาศยานตรัง 4.21 4.86 4.67 4.30 3.71 3.60 3.24 3.35 3.26 3.12 3.27 3.64

สงขลา 3.94 4.34 4.48 4.51 3.91 3.90 3.91 4.09 3.92 3.36 3.09 3.37

-สถานีฯเกษตร คอหงส 3.71 4.24 4.24 4.26 3.75 3.67 3.68 3.83 3.49 3.58 2.97 3.26

Page 40: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

38

ปริมาณการใชนํ้าของพืชอางอิงโดยวิธี Penman-Monteith รายเดือน

ภาคใต (ตอ)

ม.ม./วัน

จังหวัด เดือน

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

-สะเดา 3.51 4.03 4.14 4.14 3.66 3.53 3.55 3.38 3.31 3.15 2.89 3.06

-ทาอากาศยานหาดใหญ 3.80 4.22 4.50 4.06 3.57 3.56 3.62 3.75 3.56 3.28 2.99 2.94

สตูล 4.43 4.6 4.4 4.18 3.64 3.52 3.53 3.65 3.28 3.14 3.32 3.8

ปตตานี .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-ทาอากาศยานปตตานี 3.36 3.95 3.91 3.95 3.49 3.39 3.42 3.52 3.48 3.25 2.95 2.85

ยะลา .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .- .-

-สถานีฯเกษตร ยะลา 3.53 4.20 4.25 4.31 3.77 3.66 3.66 3.80 3.75 3.59 2.94 3.10

นราธิวาส 3.32 3.82 4.07 4.19 3.75 3.63 3.61 3.72 3.4 3.25 2.94 2.92

Page 41: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

39

ภาคผนวก ค แหลงท่ีมาของโปรแกรม CWR-RID

Page 42: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

40

แหลงท่ีมาของโปรแกรม CWR-RID

สามารถขอรับโปรแกรมไดท่ี

กลุมงานวิจยัการใชน้ําชลประทาน สวนการใชน้ําชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา โทร. 0-2241 4524 website สวนการใชน้ําชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา http://water.rid.go.th/hwm/cropwater/iwmd/index_th.htm

หากมีขอสงสัยหรือขอเสนอแนะสามารถตดิตอไดท่ี

ผูพัฒนาโปรแกรม : นายนฤพล สีตบุตร ตําแหนง : วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ เบอรติดตอ : 0 2583 8448 มือถือ : 08 2488 4244

ท่ีปรึกษา : นายธีระพล ต๊ังสมบุญ ตําแหนง : วิศวกรชลประทานชํานาญการพิเศษ เบอรติดตอ : 0 2241 4794 มือถือ : 08 1488 2111

Page 43: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

41

ภาคผนวก ง รายชื่อผูจัดทําคูมือ

Page 44: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

42

รายชื่อผูจัดทําคูมือ 1. คณะทํางานยอยจัดทําคูมือดานบริหารจัดการน้ํา ตามคําส่ัง คณะทํางานพัฒนาคุณภาพการบริหาร

จัดการภาครัฐ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ท่ี ส 006/2554 ลงวันท่ี 3 มิถุนายน 2554 1. นายวสันต บุญเกิด ผูทรงคุณวุฒิประจํา สพช. ท่ีปรึกษา 2. นายสุเทพ นอยไพโรจน ผส.อน. ท่ีปรึกษา 3. นายศุภชัย รุงศรี ผส.วพ. ท่ีปรึกษา 4. นายจรูญ พจนสุนทร ผส.ชป.14 หัวหนาคณะทํางาน 5. นายเลิศชัย ศรีอนันต ผจน. คณะทํางาน 6. นายทองเปลว กองจันทร ผอท. คณะทํางาน 7. นายนิรันดร นาคทับทิม ผบร.ชป.7 คณะทํางาน 8. นายอุกฤษฏ ถาวรไกรกุล ผบร.ชป.10 คณะทํางาน 9. นายพงศศักดิ์ อรุณวจิิตรสกุล ผบร.ชป.11 คณะทํางาน 10. นายสิริวิชญ กล่ินภักดี ผบร.ชป.15 คณะทํางาน 11. นายสมเจต พานทอง ผปษ. คณะทํางาน 12. นายอภนินท สนธยานนท กพ.จน. คณะทํางาน 13. นางจิรา สุขกลํ่า กว.อท. คณะทํางาน 14. นายธาดา พูนทว ี ศป.จน. คณะทํางาน 15. นายชัชชม ชมประดิษฐ กจ.จน. คณะทํางาน 16. นายสมบัต ิ สาลีพัฒนา ผยศ.สช. คณะทํางาน 17. นางสาวอรญา เขียวคุณา กห.ปษ. คณะทํางาน 18. นายสิโรจน ประคุณหังสิต ผนช. คณะทํางาน 19. นายธีระพล ตั๊งสมบุญ วิศวกรชลประทานชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน 20. นายสมบัต ิ วานิชชินชัย นายชางชลประทานชํานาญงาน คณะทํางาน 21. นายสถิต โพธ์ิดี วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 22. นายสันติ เต็มเอ่ียม วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 23. นายอุลิต รัตนต้ังตระกูล วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 24. นายธวัชชัย ไตรวารี วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 25. นายสรณคมน ชางวิทยาการ วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 26. นางพัชรวรี สุวรรณิก วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 27. นางสาววีรียา วิทยะ นักอุทกวิทยาชํานาญการ คณะทํางาน

Page 45: คู มืิบัติอการปฏ งาน (Work Manual)ridceo.rid.go.th/buriram/download/manual-07.pdf · 2011-08-26 · 3.5 ความต องการของระบบปฏิบัติ

43

28. นายวัชระ เสือดี ผพช.วพ. คณะทํางานและเลขานุการ 29. นายคมสันต ไชโย วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

30. นายรสุ สืบสหการ วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ 31. นายอัศฎา กิจพยุง วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ คณะทํางานและผูชวยเลขานกุาร 32. นายธเรศ ปาปะกัง วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ คณะทํางานและผูชวยเลขานกุาร 33. นายวัชรพล ศรีจิตร วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 34. นายชนนิทร คงใหญ วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 35. นางสาวธัญญาพร ใยบัณฑิตย วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 36. นายวชิระ สุรินทร วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 2. คณะทํางานยอยจัดทําคูมือการคํานวณการใชน้ําของพชื

1. นายนิรันดร นาคทับทิม ผูอํานวยการสวนจดัสรรน้ําและบํารุงรักษา สํานักชลประทานท่ี 7 2. นายธีระพล ตั๊งสมบุญ วิศวกรชลประทานชํานาญการพิเศษ

สวนการใชน้ําชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา 3. นางสาววีรียา วิทยะ นักอุทกวิทยาชํานาญการ

สวนบริหารจดัการน้ํา สํานกัอุทกวิทยาและบริหารน้ํา