การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา...

159
การศึกษาศักยภาพการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร ในเขตพื้นที่ชลประทาน : กรณีศึกษา จังหวัดบุรีรัมย สุวิทย พันธสุมา ปราโมท พลพณะนาวี อัมพร ราตรี ธนากร ธนบวรเกียรติ จาตุรนต ทองหวั่น รายงานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิชา รอ.800 สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการสําหรับนักบริหาร หลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ภาคพิเศษ นครราชสีมา รุนที8 คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ..2549

Upload: others

Post on 21-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

การศึกษาศักยภาพการพ่ึงพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร ในเขตพ้ืนที่ชลประทาน : กรณีศึกษา จังหวัดบุรีรัมย

สุวิทย พันธสุมา ปราโมท พลพณะนาวี

อัมพร ราตร ีธนากร ธนบวรเกียรติ จาตุรนต ทองหว่ัน

รายงานวิจัยนี้เปนสวนหนึง่ของการศึกษาวิชา รอ.800 สัมมนาเชิงปฏบัิติการเก่ียวกับการจัดการสําหรับนักบริหาร

หลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ภาคพิเศษ นครราชสีมา รุนท่ี 8 คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

พ.ศ.2549

Page 2: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

การศึกษาศักยภาพการพ่ึงพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร ในเขตพ้ืนที่ชลประทาน : กรณีศึกษา จังหวัดบุรีรัมย

สุวิทย พันธสุมา 4720126020 ปราโมท พลพณะนาวี 4720126033 อัมพร ราตรี 4720126065 ธนากร ธนบวรเกียรติ 4720126069 จาตุรนต ทองหว่ัน 4720126082

เสนอ รศ.ดร. กิตติ บุนนาค

รายงานวิจัยนี้เปนสวนหนึง่ของการศึกษาวิชา รอ.800 สัมมนาเชิงปฏบัิติการเก่ียวกับการจัดการสําหรับนักบริหาร

หลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ภาคพิเศษ นครราชสีมา รุนท่ี 8 คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

พ.ศ.2549

Page 3: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บทคัดยอ การศึกษา “ศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน กรณีศึกษา : จังหวัดบุรีรัมย” นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงปจจัยท่ีสัมพันธกับการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกรตลอดจนความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอปจจัยเหลานั้น การศึกษาคร้ังนี้เลือกศึกษากลุมตัวอยางเปน 2 กลุม ตามวิธีการเก็บขอมูล คือ 1. กลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถาม เปนเกษตรกรที่อยูในเขตพื้นท่ีชลประทานในจังหวัดบุรีรัมยท่ีไดรับน้ําจากโครงการชลประทานที่กรมชลประทานบริหารจัดการน้ํา ซ่ึงกระจายอยูในจังหวัดบุรีรัมย จํานวน 16 แหง มีพื้นท่ีชลประทานรวม 213,310 ไร จํานวน 360 ตัวอยาง 2. กลุมตัวอยางท่ีไดสัมภาษณในเชิงลึก ประกอบดวยเกษตรกรทั่วไป เกษตรกรแกนนําและตัวแทนหนวยงานภาครัฐท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวของกับเกษตรกรในจังหวัดบุรีรัมย กรอบแนวคิดท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ประยุกตจากทฤษฎีศักยภาพในการพัฒนาและการแพรกระจาย กับทฤษฎีการพึ่งพาตนเองของชุมชนชนบทเปนหลัก ไดตัวแบบ ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกร 6 ปจจั ย ไดแก ปจจัยด านเทคโนโลยี ปจจัยด านเศรษฐกิจ ปจจั ยด านทรัพยากรธรรมชาติ ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย ปจจัยดานสังคมและการเมือง และปจจัยการสนับสนุนและความสัมพันธกับองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน โดยต้ังสมมติฐานวามีความสัมพันธเชิงบวกกับศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร ผลการศึกษาพบวา 1. ปจจัยดานเทคโนโลยี เกษตรกรมีความจําเปนตองพึ่งพาเคร่ืองจักรกลการเกษตร เพื่อใชเปนเคร่ืองทุนแรง โดยรถไถนาเดินตามมีความจําเปนตอการเตรียมแปลงซ่ึงเปนกระบวนแรกของการเพาะปลูก เกษตรกรสวนใหญมีรถไถนาเดินตามเปนของตนเอง ท่ีไมมีก็จะอาศัยการวาจาง ซ่ึงเกษตรกรมีความพึงพอใจท่ีจะใชรถนาเดินตาม แทนการใชแรงงานสัตวท่ีมีขอจํากัดอยูหลายอยาง ดังนั้นการเล้ียงสัตวจึงเพื่อไวขาย ในดานของความรูขอมูลขาวสารเกษตรกรมีแหลงขอมูลขาวสาร ความรูมากมายท่ีจะเปนประโยชนตออาชีพของตน มีความรูความเขาใจและสนใจท่ีจะนําวิธีการผลิตแบบใหมท่ีจะทําใหเกิดผลประโยชนมากกวาท่ีทําอยูในปจจุบันและพรอมท่ีจะปรับเปล่ียน 2. ปจจัยดานเศรษฐกิจ เกษตรกรสวนใหญยังตองพึ่งพาเงินกูจากภายนอก เปนทุนและใชสอยในชีวิตประจําวนั และชําระคืนเงินกูเม่ือขายผลผลิตได ซ่ึงการกูเงินนั้นสวนใหญจะกูจากธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร จากสหกรณการเกษตร และจากกองทุนหมูบาน ซ่ึงเกษตรกรสามารถกูเงินไดงายและสะดวกขึน้ ในดานของรายไดรายจาย เกษตรกรมีคาใชจายในการ

Page 4: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

(2) จาง แรงงานเพราะแรงงานในครอบครัวไมพอ ตองซ้ือปุยท่ีมีราคาแพง ทําใหผลกําไรท่ีเกษตรกรไดรับเหลือนอย จากการที่ชวงเวลาทํานามีเพียงปละ 3 – 4 เดือน เกษตรกรสวนใหญจะตองประกอบอาชีพอ่ืนๆ เชน การรับจาง ไปพรอมกันดวยจึงมีเวลามาทําการเกษตรไมเต็มที่จึงตองจางคนอ่ืน 3. ปจจัยทรัพยากรธรรมชาติ เกษตรกรสวนใหญมีท่ีดินเปนของตนเอง และยังตองปรับปรุงดินใหมีความอุดมสมบูรณอยางตอเนื่อง เกษตรกรในเขตชลประทานมีขอไดเปรียบท่ีมีแหลงน้ําจากชลประทานอุดมสมบูรณ สวนพันธุขาวสวนใหญจะปลูกขาวหอมมะลิ ท่ีมีผลผลิตสูงกวาคาเฉล่ียท่ัวไปมาก และพันธุขาวยังมีคุณภาพดีเพราะจะมีการนําพันธุดีมาใชอยูตลอดเวลา 4. ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย เกษตรกรมีปญหาขาดแรงงานในการทําการเกษตรในแตละกระบวนการการผลิต สืบเนื่องมาจากสมาชิกในครอบครัวในวัยทํางานตองไปทํางานอ่ืนๆ เชน รับจาง ทําใหมีสมาชิกท่ีทําการเกษตรเพียง 1 – 2 คน ซ่ึงสวนใหญไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานราชการใหมีความรูในดานท่ีเกี่ยวกับการเกษตร การใชน้ําชลประทาน แตยังเห็นวาไมมีประโยชนซ่ึงอาจเปนเพราะเกษตรกรมีอายุมาก และไมไดนําความรูไปปรับปรุงพัฒนาการผลิตอยางจริงจัง 5. ปจจัยดานสังคมและการเมือง เกษตรกรทุกคนจะเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ําชลประทาน นอกจากนั้นยังเปนสมาชิกกลุมอ่ืนๆ อีกดวย จึงมีความคุนเคยในการทํากิจกรรมรวมกับผูอ่ืน ซ่ึงเกษตรกรใหความรวมมือในการทํากิจกรรมตางๆ รวมกันเปนอยางดี 6. ปจจัยการสนับสนุนและความสัมพันธกับองคการภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนที่ไดมีสวนสงเสริมสนับสนุนเกษตรกรในดานตางๆ เชนการแนะนํา ฝกอบรม การดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรู และการสนับสนุนปจจัยการผลิตเพื่อการทําการเกษตร ซ่ึงเกษตรกรมีพฤติกรรมสนองตอบตอความสัมพันธกับองคการภายนอกเปนอยางดี เม่ือสรุปผลการศึกษาปจจยัท้ัง 6 ประการ พบวาทุกปจจัยมีผลดีตอศักยภาพในการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร ยกเวนปจจัยดานทรัพยากรมนุษยท่ีเกษตรกรคอนขางเปนผูสูงอายุ ท่ีอาจเปนอุปสรรคในการพัฒนา แตก็สามารถแกไดโดยใชการกระตุนท่ีเหมาะสม อยางตอเนื่องและใชวิ ธีการทํางานเปนกลุมท่ีเกษตรกรคุนเคย สรางแกนนําเกษตรกรท่ีมีความสามารถ ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยในอนาคต การสัมภาษณเชิงลึก จะไดรับขอมูลความรูมากมายจากเกษตรกร ผูวิจัยควรท่ีศึกษาวิถีชีวิตของเกษตรกรโดยการสังเกตพฤติกรรมดวย จะทําใหไดรับทราบขอมูลดานอ่ืนๆ ดวย

Page 5: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยฉบับนี้ สําเร็จลงได ดวยความกรุณาและความเอ้ือเฟอจากบุคคลหลายทาน ไดแก คณาจารยของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรทุกทาน ท่ีไดถายทอดความรูท่ีมีคุณคาอยางยิ่งตอคณะผูวิจัย ตลอดจนเจาหนาท่ีของคณะรัฐประศาสนศาสตรทุกทาน ท่ีไดใหความรวมมือ ประสานงาน อํานวยความสะดวกในดานตางๆ นอกจากนี้ ขอขอบคุณ ผูบริหารและเจาหนาท่ีของโครงการชลประทานบุรีรัมย และโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาลํานางรอง ท่ีไดอํานวยความสะดวก และชวยเหลือสนับสนุนในการสํารวจขอมูลแบบสอบถาม ตลอดจนผูท่ีไดใหความรวมมือตอบแบบสอบถาม และผูที่ไดใหสัมภาษณทุกทาน ท่ีทําใหไดขอมูลท่ีเปนประโยชนอยางยิ่งตองานวิจัยในคร้ังนี้ บุคคลสําคัญท่ีสุด ท่ีคณะผูวิจัยตองขอกราบขอบพระคุณไวเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้ คือ รศ. ดร. กิตติ บุนนาค ผูซ่ึงเปนอาจารยท่ีปรึกษาการวิจัยคร้ังนี้ ท่ีไดใหคําแนะนํา ช้ีแนะในทุกดาน จนทําใหคณะผูวิจัยมีความรู สามารถดําเนินงานวิจัยไดจนสําเร็จสมบูรณ คณะผูวิจัย

31 สิงหาคม 2549

Page 6: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

คํานํา เกษตรกรเปนกลุมประชากรสวนใหญท่ีสุดของประเทศท่ีเปนท่ีทราบกันท่ัวไปวามีฐานะ

ยากจน ซ่ึงการวัดความยากจนของเกษตรนั้นมักวัดกันท่ีรายไดและสภาพของการเปนหนี้สินของเกษตรกร แนวทางการแกปญหาจึงมักมุงไปในดานการแกปญหาหนี้สินของเกษตรกร ท้ังท่ีหนี้สินนั้นเปนผลลัพธสุดทาย ไมใชสาเหตุที่แทจริง เพราะยังมีปจจัยอ่ืนๆ มากมายท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงการแกไขปญหาตองแกท่ีสาเหตุไมใชแกท่ีผลลัพธ

ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกรในการทําเกษตรกรรม ท่ีเปนส่ิงท่ีมีความสําคัญมีอยูหลาย

ประการ ท้ังในลักษณะของทุนและกระบวนการดําเนินงานและความสัมพันธกับองคการอื่นๆ ซ่ึงจะตองมีการผสมผสานปจจัยเหลานั้นเพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอเกษตรกร ใหสามารถดํารงชีพอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ท้ังนี้สภาพชีวิตความเปนอยูของเกษตรกรยอมจะสงผลตอสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศดวย

คณะผูวิจัยหวังวา ผลการวิจัยคร้ังนี้จะเปนประโยชนตอเกษตรกรและองคการภาครัฐและ

เอกชนท่ีจะสัมพันธเกี่ยวของกับเกษตรกร ไดรูจักศักยภาพของเกษตรกรในการที่จะประสานงาน เพื่อสงเสริมสนับสนุนในแนวทางท่ีเหมาะสม เพื่อเกษตรกรไดเกิดการพัฒนาในลักษณะท่ีพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน

คณะผูวจิัย

31 สิงหาคม 2549

Page 7: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1)

กิตติกรรมประกาศ (3)

คํานํา (4)

สารบัญ (5)

สารบัญตาราง (8)

สารบัญภาพ (9) บทท่ี 1 บทนํา 1.1 ความสาํคัญของเร่ืองท่ีศึกษา 1 1.2 วัตถุประสงคในการวจิัย 2

1.3 ขอบเขตของการวิจยั 2 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวจิัย 3 1.5 ขอจํากัดในการวจิัย 3 1.6 นิยามศัพทท่ัวไป 4 1.7 การนําเสนอเร่ือง 5

บทท่ี 2 ลักษณะท่ัวไปและยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดบุรีรัมย 2.1 ลักษณะท่ัวไปของจังหวัดบุรีรัมย 7 2.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 12

2.3 ยุทธศาสตรจังหวัดบุรีรัมย 14 2.4 การชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย 15

Page 8: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

(6)

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทท่ี 3 การทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎี องคความรู และงานวิจัย 3.1 ทฤษฎีและองคความรูเกี่ยวกับการพฒันา 19 3.2 ทฤษฎีศักยภาพในการพัฒนาและการแพรกระจาย 30 3.3 ทฤษฎีการพึ่งพาตนเองของชุมชนชนบท 32 3.4 งานวิจยัท่ีเกีย่วของ 37 3.5 แนวคิดทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอเพยีง 40 3.6 การขับเคล่ือนวาระแหงชาติเกษตรอินทรียตามแนวเศรษฐกิจพอเพยีง 45 3.7 ตัวแบบที่ใชเปนกรอบในการวิเคราะห 49 3.8 ความสัมพันธเชิงตรรกะระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม 50

บทท่ี 4 ระเบียบวิธีวิจัย 4.1 วิธีการวิจยั 52 4.2 ประชากร กลุมตัวอยางและการสุมตัวอยาง 52 4.3 เคร่ืองมือท่ีใชในการวจิัย 54 4.4 การเก็บรวบรวมขอมูล การแปลผลและการวิเคราะหขอมูล 55 4.5 การจัดทําขอมูล เกณฑท่ีใชในการแปลผล และสถิติท่ีใชในการวิเคราะห 56 4.6 ตัวช้ีวดัของตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม 58 4.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 59 บทท่ี 5 ผลการศึกษา 5.1 การศกึษาและประเมินผลการศึกษาปจจัยตัวแปรอิสระ (X) 63

ท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 5.2 การศึกษาและประเมินผลการศึกษาปจจยัตัวแปรตาม (Y) 75

ท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 5.3 สรุปขอมูลจากการสัมภาษณกลุมตัวอยาง 87

Page 9: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

(7)

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทท่ี 6 บทสรุปและขอเสนอแนะ 6.1 บทสรุปจากผลการวิจัย 97

6.2 ขอเสนอแนะจากผลการวิจยั 101

6.3 ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยในอนาคต 105

บรรณานุกรม 107

ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามท่ีใชสํารวจขอมูลสําหรับการวิจยั 110

ภาคผนวก ข สรุปการสัมภาษณ 117

ภาคผนวก ค รายงานการประชุมแนวทางปฏิบัติสําหรับการวิจัย 142

Page 10: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา 2.1 ลักษณะการแบงเขตการปกครอง จังหวัดบุรีรัมย 10 4.1 ตารางแสดงตัวช้ีวัดของตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม 58 5.1.1 ลักษณะทางประชากรโดยท่ัวไปของเกษตรกรพืน้ท่ีชลประทาน 64 5.1.2 ลักษณะสภาพโดยรวมที่เกี่ยวของกับดานเทคโนโลยีของเกษตรกร 66 5.1.3 ลักษณะสภาพโดยรวมที่เกี่ยวของกับดานเศรษฐกิจของเกษตรกร 68 5.1.4 ลักษณะสภาพโดยรวมที่เกี่ยวของกับดานทรัพยากรธรรมชาติของเกษตรกร 71 5.1.5 ลักษณะสภาพโดยรวมที่เกี่ยวของกับปจจัยดานทรัพยากรมนษุยของเกษตรกร 73

5.1.6 ลักษณะสภาพการมีสวนรวมท่ีเกีย่วของกับปจจัยดานสังคมและการเมืองของ 74 เกษตรกร 5.2.1 ความสามารถทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร 76 5.2.2 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานทรัพยากรธรรมชาติของเกษตรกร 78 5.2.3 แสดงความหมายของระดับคาเฉล่ีย และระดับความพึงพอใจท่ีใชในการแปลผล 79 5.2.3.1 แสดงผลความพึงพอใจปจจัยดานเทคโนโลยีท่ีมีตอศักยภาพ 80 การพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน 5.2.3.2 แสดงผลความพึงพอใจปจจัยดานเศรษฐกิจท่ีมีตอศักยภาพ 81 การพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน

5.2.3.3 แสดงผลความพึงพอใจปจจยัดานทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีตอศักยภาพ 82 ในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน 5.2.3.4 แสดงผลความพึงพอใจปจจยัดานทรัพยากรมนษุยท่ีมีตอศักยภาพ 83 การพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน 5.2.3.5 แสดงผลความพึงพอใจปจจยัดานสังคมและการเมืองท่ีมีตอศักยภาพ 84 การพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน 5.2.3.6 แสดงผลความพึงพอใจการสนับสนุนและความสัมพันธกับองคกร 85 ภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชนท่ีมีตอศักยภาพ การพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน

Page 11: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

ภาพ 2.1 แผนท่ีการแบงเขตการปกครองของจังหวดับุรีรัมย 8

ภาพ 2.2 แผนท่ีแสดงท่ีต้ังโครงการชลประทานในจังหวดับุรีรัมย 18 ภาพ 3.1 ตัวแบบท่ีใชเปนกรอบในการวเิคราะห 49

Page 12: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความสําคัญของเรื่องท่ีศึกษา

ในสังคมไทยนั้นประชากรสวนใหญเปนเกษตรกรที่มีฐานะยากจน ประชากรเหลานี้อยูในชนบท การพัฒนาชนบทสงผลตอการพัฒนาประเทศโดยทางออม ซ่ึงแนวทางการพัฒนาเทาท่ีผานมา มุงพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ท่ีเปนปจจัยท้ังทางตรงและทางออม ท่ีจะเกิดผลตอการพัฒนาอาชีพ ความเปนอยูท่ีดีข้ึนของประชาชน การพัฒนาดานตางๆ จะไมอาจประสบผลสําเร็จตราบใดท่ีประชาชนยังตองเผชิญกับปญหาอุปสรรคตางๆ ไมวาจะเปนปญหาดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ท่ีสําคัญคือปญหาดานเศรษฐกิจเกี่ยวกับการเพ่ิมรายไดของเกษตรกร

จังหวัดบุรีรัมยเปนจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีอาชีพเกษตรกรที่เปนประชากรสวนใหญ มีความผันแปรอยูตลอดเวลาอยางตอเนื่อง ผลผลิตและรายไดจากการเพาะปลูก ข้ึนอยูกับสภาพดินฟาอากาศท่ีมีความแปรปรวนเกือบทุกป ปญหาราคาพืชผลและสัตวไมแนนอน สงผลตอความม่ันคงในอาชีพ ซ่ึงเปนสาเหตุท่ีทําใหประชากรของจังหวัดบุรีรัมยมีความยากจนเปนลําดับตนๆ ของประเทศ การสงเสริมปลูกพืชเศรษฐกิจและเล้ียงสัตวเศรษฐกิจท่ีเหมาะสม ตลอดจนการมีองคกรตางๆ เขามามีบทบาทสําคัญในการสงเสริมพัฒนา แกไขปญหาดานเศรษฐกิจและชวยเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกร

การทําการเกษตรนั้นจะแบงพื้นท่ีออกเปน 2 ประเภท คือ พื้นท่ีท่ัวไปท่ีเกษตรกรอาศัยน้ําฝนหรือน้ําจากแหลงน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติในการเพาะปลูก กับพื้นท่ีในเขตชลประทานท่ีอาศัยน้ําท่ีเก็บกักหรือทดไวจากโครงการชลประทานประเภทตางๆ ท่ีไดสรางข้ึนมาซ่ึงสวนใหญดําเนินการโดยกรมชลประทาน โดยเกษตรกรจะไดรับน้ําจากระบบกระจายนํ้า ไดแก คลองสงน้ําและคูน้ํา เสริมน้ําฝนเม่ือฝนท้ิงชวงหรือฝนแลง พื้นท่ีในเขตชลประทานจึงมีน้ําทําการเกษตรอุดมสมบูรณกวาพื้นท่ีการเกษตรนอกเขตชลประทาน รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยไดทุมเทงบประมาณจํานวนไมนอยในการสนับสนุนปจจัยหลัก 4 ประการท่ีจําเปนตอการทําการเกษตร คือ น้ํา ดินหรือ

Page 13: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

2

ท่ีดิน พืช และการจัดการของเกษตรกร เพื่อหวังจะทําใหเกษตรกรมีความเปนอยูท่ีดีข้ึนหลุดพนจากความยากจนแตก็ยังไมสามารถแกปญหาความยากจนดังกลาวใหหมดไปได แมแตเกษตรกรท่ีอยูในเขตพื้นท่ีชลประทานท่ีมีน้ําคอนขางอุดมสมบูรณเอง ก็มีสภาพชีวิตความเปนอยูไมไดแตกตางไปจากเกษตรกรนอกเขตชลประทานมากนัก ในการวิจัยคร้ังนี้ คณะผูวิจัยสนใจศึกษาศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร โดยมุงเนนศึกษาในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน โดยเลือกศึกษาเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย เพื่อประเมินความเปนไปไดในการพัฒนาของเกษตรกรในพ้ืนท่ีท่ีไดศึกษาในแนวทางพึ่งพาตนเองแบบย่ังยืน ท่ีไดมีผูดําเนินการประสบผลสําเร็จในระดับตางๆ ไปแลวหลายแหง เพื่อเปนแนวทางในการสงเสริมสนับสนุนเกษตรกรในแนวทางท่ีถูกตองเหมาะ เพื่อยกระดับความเปนอยูของเกษตรกรใหดีข้ึนตอไป

1.2 วัตถุประสงคในการวิจัย 1.2.1 เพ่ือศึกษาศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองแบบย่ังยืนของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ี

ชลประทานในเขตจังหวัดบุรีรัมย 1.2.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจที่มีตอปจจัยหรือตัวแปรท่ีจะสนับสนุนการพ่ึงพา

ตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร 1.2.3 นําผลการศึกษาเปนแนวทางในการสนับสนุนสงเสริมเกษตรกรในแนวทางท่ี

เหมาะสมตอไป

1.3 ขอบเขตของการวิจัย

คณะผูวจิัยไดกําหนดขอบเขตในการศกึษาดังนี ้1.3.1 ขอบเขตของเร่ืองท่ีจะทําการวจิัย คือ ศึกษาถึงปจจัยสําคัญท่ีจะมีความสัมพันธหรือ

เกี่ยวของกับการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทานในเขตจังหวดับุรีรัมย ซ่ึงประกอบดวย 1.3.1.1 ปจจัยดานเทคโนโลย ี 1.3.1.2 ปจจัยดานเศรษฐกิจ 1.3.1.3 ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ

Page 14: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

3

1.3.1.4 ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย 1.3.1.5 ปจจัยดานสังคมและการเมือง 1.3.1.6 การสนับสนุนจากองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน

1.3.2 ขอบเขตของผูท่ีใหขอมูลในการวิจัย แบงเปน 2 กลุม คือ ผูใหสัมภาษณ และผูตอบแบบสอบถาม)

1.3.2.1 กลุมผูใหสัมภาษณ ไดแก เกษตรกรและเกษตรกรแกนนํา หวัหนาสวนราชการและเจาหนาท่ีท่ีทํางานประสานเกีย่วของกับเกษตรกร ผูนําทองถ่ิน

1.3.2.2 กลุมผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทานในเขตจังหวดับุรีรัมย

1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย 1.4.1 ผลประโยชนตอหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ท่ีจะประสาน สนับสนุน หรือสงเสริมเกษตรกรในดานตางๆ ไดเขาใจและรูถึงศักยภาพของเกษตรกร ในดานความสามารถในการรับการพัฒนาในดานตางๆ ท่ีเหมาะสมไดเพียงใด 1.4.2 ผลประโยชนตอเกษตรกร เปนการกระตุนเกษตรกรใหเกิดการต่ืนตัวในการพิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทางการดําเนินชีวิตในรูปแบบท่ีจะทําใหเกิดการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน เพื่อยกระดับความเปนอยูใหดีข้ึน 1.4.3 ผลประโยชนตอสังคม เกษตรกรเปนคนสวนใหญในสังคม หากเกษตรกรมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีข้ึนสามารถพึ่งพาตนเองได จะมีผลทําใหประเทศหรือสังคมโดยรวมดีข้ึนดวย

1.5 ขอจํากัดในการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้มีขอจํากัดในเร่ืองระยะเวลาในการทําการวิจัยท่ีมีจํากัด คณะผูวิจัยไมไดทําวิจัยแบบเต็มเวลา จึงตองวางแผนกําหนดข้ันตอนการทํางาน และแบงความรับผิดชอบกันอยางรัดกุม ตองบริหารเวลาท่ีมีจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด อีกท้ังพื้นท่ีชลประทานนั้นกระจายอยูใน

Page 15: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

4

เกือบทุกอําเภอของจังหวัดบุรีรัมย การสุมเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามจากเกษตรกรจึงเปนไปดวยความยากลําบาก คณะผูวิจัยดําเนินการไดบางสวน จึงไดประสานกับหนวยงานชลประทานในพื้นท่ี ขอรับการสนับสนุนเจาหนาท่ีชวยเก็บรวบรวมขอมูลแบบสอบถามสวนท่ีเหลือดวย โดยคณะผูวิจัยไดแนะนําข้ันตอนและวิธีการในการเก็บขอมูลดังกลาว คณะวิจัยจึงไดลงไปเนนในสวนของการสัมภาษณเปนพิเศษ

1.6 นิยามศัพทท่ัวไป

1.6.1 ศักยภาพ หมายถึง สามารถ ภาวะแฝง อํานาจหรือคุณสมบัติท่ีมีแฝงอยูในส่ิงตางๆ อาจทําใหพัฒนาหรือใหปรากฏเปนส่ิงท่ีประจักษได

1.6.2 เกษตรกร หมายถึง ผูทําเกษตรกรรม และเกษตรกรรม หมายถึง ใชท่ีดินเพาะปลูก

พืชตางๆ เล้ียงสัตว การประมงและการปาไม

1.6.3 พื้นท่ีชลประทาน หมายถึง พื้นท่ีเพาะปลูกที่ไดรับน้ําจากโครงการชลประทาน

1.6.4 เคร่ืองจักรกล หมายถึง เคร่ืองจักรกลท่ีมีไว เพื่อเปนประโยชนในการทําเกษตรกรรม

1.6.5 กลุม หมายถึง การรวมตัวกันของเกษตรกรเพื่อทํากิจกรรมรวมกันโดยเปนกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกรรม

1.6.6 เงินกูนอกระบบ หมายถึง เงินกูท่ีเกษตรกรกูยืมจากนายทุนเงินกู

1.6.7 เงินกูในระบบ หมายถึง เงินกูท่ีเกษตรกรกูยืมจากสถาบันการเงิน เชน ธนาคาร จากกองทุนหรือโครงการ ท่ีใหการสนับสนุนดานการเงินใหแกเกษตรกรกูยืม

Page 16: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

5

1.7 การนําเสนอเรื่อง คณะผูวิจัยขอเสนอเร่ืองโดยเรียงตามลําดับดังนี้ 1.7.1 บทท่ี 1 บทนํา เปนการนําเสนอความสําคัญของเร่ืองท่ีตองการศึกษา วัตถุประสงค ขอบเขต ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ขอจํากัดของการวิจัย รวมถึงนิยามศัพทท่ัวไป และลําดับการนําเสนอเร่ือง

1.7.2 บทท่ี 2 ลักษณะท่ัวไป และยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดบุรีรัมย กลาวถึงลักษณะท่ัวไปของจังหวัดบุรีรัมย แสดงใหเห็นถึงภาพรวมทางกายภาพขอจังหวัดบุรีรัมย เกี่ยวกับ ท่ีต้ัง ขนาด อาณาเขต การปกครอง และประชากร ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ ภาพรวมทางเศรษฐกิจ และสังคม ยุทธศาสตรการพัฒนาของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ยุทธศาสตรจังหวัดบุรีรัมย และการชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย

1.7.3 บทท่ี 3 การทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎี องคความรู และงานวิจัยตางๆ เปนการทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎี องคความรู ท่ีเกี่ยวของกับปจจัยดานเทคโนโลยี

ปจจัยดานเศรษฐกิจ ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย ปจจัยดานสังคมและการเมือง การสนับสนุนจากองคการภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมท้ังงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ อีกท้ังไดเสนอตัวแบบท่ีใชเปนกรอบในการวิเคราะหและความสัมพันธเชิงตรรกะระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

1.7.4 บทท่ี 4 ระเบียบวิธีวิจัย เปนการนําเสนอเร่ืองประชากร กลุมตัวอยางและเทคนคิการเลือกกลุมตัวอยาง เคร่ืองมือท่ี

ใชในการวิจยั การเก็บรวบรวม การแปลผล และการวิเคราะหขอมูล การจัดทําขอมูล เกณฑท่ีใชในการแปรผล และสถิติท่ีใชในการวิเคราะห รวมถึงตารางแสดงตัวช้ีวัดของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม และนิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

1.7.5 บทท่ี 5 ผลของการศึกษาขอมูลและการแปรผล

มุงเนนการนําเสนอผลของขอมูลท่ีไดจากการศึกษา และวเิคราะหตัวแปรอิสระ ( X ) และตัวแปรตาม (Y)

Page 17: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

6

1.7.6 บทท่ี 6 บทสรุปและขอเสนอแนะ เปนการนําเสนอบทสรุปของการวิจัยและขอเสนอแนะ ท่ีควรนําไปใชในการปรับปรุง

หรือพัฒนาปจจัยท่ีเกี่ยวของกับพัฒนาพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร ท้ังโดยตัวเกษตรกรเองและผูท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกร เชน ภาคราชการ หรือภาคเอกชน

Page 18: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บทที่ 2

ลักษณะทั่วไปและยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดบุรีรัมย

2.1 ลักษณะท่ัวไปของจังหวัดบุรีรมัย

2.1.1 ภาพรวมทางกายภาพของจังหวัดบุรีรัมย

2.1.1.1 ท่ีตั้ง ขนาด อาณาเขต การปกครอง และประชากร (ขอมูลจากท่ีทําการปกครองจังหวัดบุรีรัมย ณ วันท่ี 3 มิถุนายน 2548)

ท่ีตั้ง จังหวัดบุรีรัมยต้ังอยูทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดย

ต้ังอยู ทางตอนใตของภาค ระหวางเสนรุงท่ี 14 องศา 15 ลิปดา เหนือ กับ 15 องศา 45 ลิปดา เหนือ และเสนแวงท่ี 102 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก กับ 103 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก อยูหางจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนตประมาณ 412 กิโลเมตรและ ทางรถไฟประมาณ 376 กิโลเมตร

ขนาด จังหวัดบุรีรัมยมีขนาดพื้นท่ีประมาณ 10,393.945 ตารางกิโลเมตร หรือ

6,496,215.625ไร คิดเปนรอยละ 6.11 ของพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และรอยละ 2.01 ของพื้นท่ีประเทศ

อาณาเขต จังหวัดบุรีรัมยมีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดและประเทศใกลเคียงดังนี้

ทิศเหนือ ติดตอกบัจังหวดัขอนแกน มหาสารคามและสุรินทร ทิศตะวนัออก ติดตอกับจังหวัดสุรินทร ทิศใต ติดตอกับจังหวัดสระแกว และราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวนัตก ติดตอกับจังหวัดนครราชสีมา

Page 19: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

8

ภาพ 2.1 แผนท่ีการแบงเขตการปกครองของจังหวัดบุรีรัมย

Page 20: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

9

การปกครอง จังหวดับุรีรัมยแบงการปกครองออกเปน 21 อําเภอ 2 กิ่งอําเภอ 188 ตําบล 2,526 หมูบาน 25 เทศบาล 183 องคการบริหารสวนตําบล

ประชากร จังหวัดบุรีรัมยมีประชากรรวมท้ังหมด 1,524,261 คนเปนหญิง 763,467 คน ชาย 760,794 คน มีกําลังแรงงานรวม 839,167 คน ผูมีงานทํา 821,323 คน

2.1.1.2 ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิประเทศจังหวัดบุรีรัมย เปนท่ีสูงทางดานทิศใตซ่ึงเปนเขตเทือกเขาเปนแนวยาวติดตอกันจากตะวันตกจรดตะวันออก ไดแกเทือกเขาสันกําแพง และเทือกเขาพนมดงเร็ก พื้นท่ีลาดเอียงไปทางเหนือทําใหเกิดภูมิประเทศ 3 ลักษณะ คือ 1) พื้นท่ีสูงและภูเขาทางตอนใต มีพื้นท่ีประมาณรอยละ 25 มีความสูง 200 – 685 เมตรเทียบกับระดับน้ําทะเลปานกลาง

2) พื้นท่ีลูกคล่ืนลอนต้ืนตอนกลาง มีพื้นท่ีประมาณรอยละ 60 มี ความสูง 150 – 200 เมตรเทียบกับระดับน้ําทะเลปานกลาง

3) พื้นท่ีราบลุมริมฝงแมน้ํามูล มีพื้นท่ีประมาณรอยละ 15 มีความสูง นอยกวา 150 เมตรเทียบกับระดับน้ําทะเลปานกลาง

ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดบุรีรัมยมีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอน มี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน เร่ิมต้ังแตเดอืนกุมภาพันธ ถึง พฤษภาคม ฤดูฝน เร่ิมต้ังแตเดอืนมิถุนายน ถึง กันยายน ฤดูหนาว เร่ิมต้ังแตเดอืนตุลาคม ถึง มกราคม อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ีย 36 องศาเซลเซียส อุณหภูมิตํ่าสุดเฉล่ีย 21 องศาเซลเซียส ปริมาณฝนตกเฉล่ีย 1,200 มิลลิเมตรตอป จํานวนวนัท่ีฝนตกเฉล่ีย 120 วัน

ความช้ืนสัมพัทธเฉล่ียรอยละ 74

Page 21: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

10

ตาราง 2.1 ลักษณะการแบงเขตการปกครอง จังหวัดบุรีรัมย

อําเภอ เนื้อที ่

(ตร.กม.) ระยะทางจาก

อําเภอถึงจังหวัด จํานวน เทศบาล

จํานวน องคการบริหาร สวนตําบล

จํานวนตําบล

จํานวน หมูบาน

เมืองบุรีรัมย 718,235 1 1 18 19 320

คูเมือง 442,000 33 2 7 7 106

กระสัง 652,700 37 1 11 11 167

นางรอง 914,000 54 1 15 15 188

หนองกี ่ 385,000 83 1 10 10 108

ละหานทราย 669,000 99 2 5 5 80

ประโคนชัย 890,121 44 1 16 16 182

บานกรวด 583,000 66 2 9 9 111

พุทไธสง 329,000 64 1 7 7 97

ลําปลายมาศ 802,950 32 2 15 16 213

สตึก 803,000 40 1 12 12 179

ปะคํา 296,029 78 1 4 5 73

นาโพธิ ์ 255,000 76 1 5 5 65

หนองหงส 335,000 54 1 7 7 100

พลับพลาชัย 306,670 40 1 5 5 67

หวยราช 174,500 15 1 7 8 80

โนนสุวรรณ 189,650 65 1 4 4 56

ชํานิ 242,000 70 - 6 6 63

บานใหมไชยพจน 178,000 85 1 5 5 55

โนนดินแดง 448,000 92 1 3 3 36

กิ่งอําเภอบานดาน 159,000 18 - 4 4 59

กิ่งอําเภอแคนดง 298,000 60 1 4 4 54

เฉลิมพระเกียรติฯ 350,000 76 1 4 5 67

รวม 10,393.945 25 183 188 2,526

ที่มา : ที่ทําการปกครองจังหวัดบุรีรัมย ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2548

Page 22: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

11

2.1.2 ภาพรวมทางเศรษฐกิจ และสังคม

2.1.2.1 ภาพรวมทางเศรษฐกิจ

เกษตรกรรม ประชากรในจังหวัดบุรีรัมย ประมาณรอยละ 87 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม สวนใหญประกอบอาชีพทํานา ทําไร ทําสวน ซึ่งพืชเศรษฐกิจ ท่ีปลูกกันมาก ไดแก ขาว มันสําปะหลัง ปอ ออย หมอน ยางพารา และผลไมตาง ๆ

ปศุสัตวและประมง ชาวบุรีรัมยยังประกอบอาชีพเล้ียงสัตว สวนใหญเล้ียงกันในครัวเรือน สัตวท่ีนิยมเล้ียงกันมากไดแก ไก สุกร กระบือ โค และหาน สําหรับอาชีพประมงในจังหวัดบุรีรัมยมีการเพาะเล้ียงปลาน้ําจืดและกุงกามกรามในบางพื้นท่ี

การอุตสาหกรรม ในจังหวัดบุรีรัมย มีอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เชน โรงสีขาว ผลิตภัณฑแปรรูปไม โรงโมหิน โรงงานสุรา โรงงานผลิตอาหารสําเร็จรูป โรงงานนํ้าตาล โรงงานทําวิกผม และโรงงานผลิตไหมพรม เปนตน

การทองเท่ียว จังหวัดบุรีรัมยเปนจังหวัดท่ีเปนแหลงรวมของอารยธรรมท่ีเกาแกท้ังดานประวัติศาสตรและโบราณคดี มีโบราณสถานและโบราณวัตถุมากมาย 2.1.2.2 ภาพรวมทางสังคม

กลุมชาติพนัธุ จังหวดับุรีรัมยมีกลุมชาติพันธุท่ีเปนพืน้เมืองเดิม 4 กลุม คือกลุมไทยโคราชหรือไทยนางรอง กลุมอีสานหรือไทยลาว กลุมไทยเขมร และกลุมไทยสวย ภาษาทองถ่ินจึงมีตามชาติพนัธุคือ ภาษาลาวอีสาน เขมร ไทยโคราช ละสวย

ศาสนา ประชาชนนับถือศาสนาพุทธ 99 % มีวัด 808 แหง สํานักสงฆ

504 แหง โบสถคริสต 14 แหง มัสยดิ 1 แหง

Page 23: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

12

2.1.3 การใชท่ีดิน การใชท่ีดินในจังหวดับุรีรัมย จําแนกไดดังนี้ พื้นท่ีท้ังหมดของจังหวดั 6,451,178.125 ไร พื้นท่ีถือครองทําการเกษตร 3,873,378 ไร

พื้นท่ีทํานา 3,173,450 ไร พื้นท่ีปลูกพืชไร 456,256 ไร พื้นท่ีปลูกพืชผัก 9,624 ไร พื้นท่ีปลูกไมผล ไมยืนตน 89,171 ไร

ท่ีปศุสัตว 4,199 ไร ท่ีรกรางวางเปลา 64,244 ไร พื้นท่ีปาไม 331,250 ไร พื้นท่ีอ่ืนๆ 2,248,268 ไร

2.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 2.2.1 ยุทธศาสตรกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง กลุมที่ 1

2.2.1.1 วิสัยทัศนของกลุมจังหวัด (Vision)

“ประตูอีสานสูสากล” (Northeast Gateway to Global communicaties)

2.2.1.2 เปาประสงคของกลุมจังหวัด (Goals)

“สังคมเขมแข็งประชาชนม่ันคง”

Page 24: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

13

2.2.1.3 ประเด็นยุทธศาสตรของกลุมจังหวัด (Strategic Issues)

1) การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต 2) การพัฒนาสินคาเกษตรอนิทรียและการพัฒนาการแปรรูปสินคาเกษตร 3) การพัฒนาผลิตภัณฑผาไหมและอุตสาหกรรมส่ิงทอ

4) การพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเท่ียว

2.2.1.4 ยุทธศาสตร/กลยุทธของกลุมจังหวัด (Strategic)

1) การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต การยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมยานยนตแบบบูรณาการและย่ังยืน

2) การพัฒนาสินคาเกษตรอนิทรียและการพัฒนาการแปรรูปสินคาเกษตรเพ่ือการสงออก (ขาวหอมมะลิ แปงมันสําปะหลัง) (1) การเพิ่มศักยภาพในการผลิต (2) เพิ่มความเขมแข็งและเช่ือมเครือขายสถาบันเกษตรกรเพื่อการแปรรูป และการตลาด

(3) การเพิ่มศักยภาพในการผลิตและการสงออก (4) การรักษาส่ิงแวดลอม

3) การพัฒนาผลิตภัณฑผาไหมและอุตสาหกรรมส่ิงทอ การพัฒนาผลิตภัณฑผาไหม

(1) การตลาดนําการผลิต (2) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑผาไหม (3) การสงเสริมภูมิปญญาทองถ่ิน

การพัฒนาอุตสาหกรรมส่ิงทอ (4) การสงเสริมการลงทุนดานอุตสาหกรรมส่ิงทอ (5) การปรับปรุงกระบวนการเรียนรู (6) การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ

4) การพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเท่ียว (1) การเพิ่มรายไดจากการทองเท่ียว (2) การพัฒนาศักยภาพแหลงทองเท่ียวแลกิจกรรม

Page 25: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

14

(3) การเพิ่มศักยภาพสินคาและบริการ (4) การพัฒนาปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานและส่ิงอํานวยความสะดวก (5) การพัฒนาผูมีสวนรวมในการทองเท่ียว

2.3 ยุทธศาสตรจังหวัดบุรีรัมย วิสัยทัศน “เปนสังคมเกษตรท่ีมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีบานเมืองนาอยู และเปนศูนยกลางการทองเท่ียวอารยธรรมขอม” เปาประสงค “สังคมเขมแข็ง ประชาชนม่ันคง” ประเด็นยุทธศาสตร และแนวทางการพัฒนา

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 1 สังคมเกษตรท่ีมีคุณภาพชีวิตท่ีดี - พัฒนาปจจัยพื้นฐานการเกษตร - สงเสริมการเพ่ิมผลผลิต และพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนใหมีคุณภาพ - สงเสริมคุณภาพชีวติ และความเขมแข็งของชุมชน สงเสริมดานการตลาด

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2 บานเมืองนาอยู

- การจัดการผังเมืองท่ีเปนระบบ - การจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดลอมท่ี - การบริหารจดัการบานเมืองท่ีดี - สงเสริมความม่ันคงและความปลอดภยัในชีวิตและทรัพยสิน

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 การทองเท่ียว - พัฒนาแหลงทองเท่ียว - พัฒนาเครือขายการเช่ือมโยงการทองเที่ยว - พัฒนาสินคาและบริการการทองเท่ียว

Page 26: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

15

2.4 การชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย

กรมชลประทานไดพัฒนาแหลงน้ําในจังหวัดบุรีรัมยมาต้ังแต ป พ.ศ. 2495 ซ่ึงในปจจุบันไดแบงความรับผิดชอบการจัดการน้ําในเขตจังหวัดบุรีรัมย ออกเปน 2 สวน

2.4.1 ความรับผิดชอบของโครงการชลประทานบุรีรัมย

2.4.1.1 การแบงสวนราชการ โครงการชลประทานบุรีรัมยอยูในสังกัดบังคับบัญชาของ สํานักชลประทานท่ี 8

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

2.4.1.2 สถานท่ีตัง้ โครงการชลประทานบุรีรัมย ต้ังอยูท่ีหัวงานอางเก็บน้ําหวยจระเขมาก ตําบลบาน

บัว อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย โดยเขาไปจากปากทาง ซ่ึงอยูท่ี กิโลเมตรท่ี 10 ของทางหลวงสาย บุรีรัมย - ประโคนชัย ประมาณ 3 กิโลเมตร

2.4.1.3 หนาท่ีความรับผิดชอบ

1) โครงการชลประทานบุรีรัมยเปนตัวแทนในการปฏิบัติภารกิจตางๆของกรมชลประทาน ในเขตจังหวัดบุรีรัมย ใหสอดคลอง กับวิสัยทัศน และพันธกิจ ตลอดจนแผนแมบทการพัฒนาลุมน้ําท่ีกรมชลประทานกําหนด รวมเปนคณะกรรมการคณะทํางานตางๆ ตามท่ีจังหวัดแตงต้ัง

2) ประสานงานและรวมมือกับหนวยงานอื่น ท้ังภาคราชการ เอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตลอดจนประชาสังคม เพื่อการพัฒนาแหลงน้ํา ใหมีศักยภาพในการกักเก็บน้ําและการใชประโยชนสูงสุด สงเสริมกิจกรรมในการแกปญหาการขาดแคลนนํ้าและปญหาการเกิดอุทกภัย 3) รับผิดชอบการจัดการน้ํา การซอมแซมบํารุงรักษาและปรับปรุงโครงการชลประทาน ขนาดกลางและโครงการพิเศษท่ีไดรับ มอบหมาย การสนับสนุนเคร่ืองสูบน้ําในกิจกรรมตาง ๆ

Page 27: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

16

2.4.1.4 โครงการชลประทานขนาดกลางในความรับผิดชอบของโครงการชลประทานบุรีรัมย ตอไปนี้

1) อางเก็บน้ําหวยจระเขมาก อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกัก 27.2 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 12,500 ไร 2) อางเก็บน้ําหวยตลาด อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 27.8 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 15,400 ไร 3) อางเก็บน้ําหวยสวาย อําเภอกระสัง จังหวดับุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 13.5 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 8,600 ไร 4) ฝายระบายน้ําบานไพศาล อําเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย เพื่อการอุปโภค บริโภค 5) อางเก็บน้ําหวยเมฆา อําเภอบานกรวด จังหวดับุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 4.6 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 3,200 ไร 6) อางเก็บน้ําหนองทะลอก อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 3.5 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 2,100 ไร 7) อางเก็บน้ําหนองตาหมู อําเภอนางรอง จังหวดับุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 0.4 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 90 ไร 8) อางเก็บน้ําหวยข้ีหน ูอําเภอลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 1.6 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 500 ไร 9) อางเก็บน้ําหวยนอย อําเภอลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 1.2 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 810 ไร 10) อางเกบ็น้ําหวยใหญ อ.ลําปลายมาศ จังหวดับุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 1.3 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 1,400 ไร 11) สถานีสูบน้ําลําปลายมาศ อําเภอลําปลายมาศ จงัหวัดบุรีรัมย พื้นท่ีชลประทาน 5,000 ไร 12) ประตูระบายนํ้าลําพงัชู อําเภอนาโพธ์ิ จังหวดับุรีรัมย พื้นท่ีชลประทาน 20,000 ไร 13) ฝายระบายน้ําบานยางนอย อําเภอพุทไธสง จังหวดับุรีรัมย เพื่อการอุปโภค บริโภค 14) ฝายยางบานเขวา อําเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย พื้นท่ีชลประทาน 12,900 ไร

Page 28: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

17

15) อางเกบ็น้ําลําตะโคง อําเภอสตึก จงัหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกัก 7.5 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 20,000 ไร 16) ฝายระบายน้ําบานกุดชุมแสง อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย เพื่อการอุปโภค บริโภค 17) อางเกบ็น้ําหวยตาเขียว อ.อําเภอบานกรวด จังหวดับุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกัก 1.9 ลานลูกบาศกเมตร(พืน้ท่ีชลประทานตามแผน 1,100 ไร) 18) อางเกบ็น้ําหวยยาง อําเภอหนองกี ่จังหวดับุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกัก 13.8 ลานลูกบาศกเมตร(พืน้ท่ีชลประทานตามแผน 12,000 ไร) 2.4.2 ความรับผิดชอบของโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาลํานางรอง

2.4.2.1 สถานท่ีตั้ง โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาลํานางรอง ต้ังอยูท่ีตําบลโนนดินแดง อําเภอโนน

ดินแดง จังหวัดบุรีรัมย 2.4.2.2 โครงการชลประทานในความรับผิดชอบ รับผิดชอบการจัดการน้ํา การ

ซอมแซมบํารุงรักษาและปรับปรุงโครงการชลประทาน ดังตอไปนี้

1) เข่ือนลํานางรอง อําเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกัก 121 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 68,410 ไร

2) อางเก็บน้ําคลองมะนาว อําเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกกั 2.8 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 700 ไร

3) อางเก็บน้ําลําปะเทีย อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกัก 25.4 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 27,700 ไร

4) อางเก็บน้ําลําจงัหัน อําเภอละหานทราย จงัหวัดบุรีรัมย ความจุน้ําเก็บกัก 36 ลานลูกบาศกเมตร พื้นท่ีชลประทาน 14,000 ไร

Page 29: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

18

ภาพ 2.2 แผนท่ีแสดงท่ีต้ังโครงการชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย

Page 30: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บทที่ 3

การทบทวนวรรณกรรม ทฤษฎี องคความรู และงานวจิัยตางๆ

ในการวิจัยคร้ังนี้ คณะผูวิจัยไดศึกษาคนควา ทฤษฎี องคความรู และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

โดยแบงเนื้อหาออกเปนหัวขอยอย ดังนี้

3.1 ทฤษฎีและองคความรูเกี่ยวกับการพัฒนา คําวา พัฒนา พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายไววา ทําใหเจริญ

การพัฒนาเปนความพยายามปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน เราสามารถมองการพัฒนาใน 3 ระดับท่ีสืบเนื่องและเกี่ยวของกันอยางแยกไมออก กลาวคือ การพัฒนาในระดับประเทศ การพัฒนาในระดับองคการ และการพัฒนาในระดับบุคคล (วีระวัฒน ปนนิตามัย, 2548 : 1)

ผลการพัฒนาที่เนนเฉพาะในเร่ืองของเศรษฐกิจ เกิดผลในทางลบคือ ความเส่ือมโทรมของ

สังคม และทรัพยากรธรรมชาติ แมในทางเศรษฐกิจเองก็เกิดความเหล่ือมลํ้าในรายไดและระดับความเจริญท่ีแตกตางกันระหวางสังคมเมืองกับสังคมชนบท ซ่ึงนับวันจะแตกตางกันมากยิ่งข้ึน (สมัชชา โยชนชัยสาร, 2543 : 11)

การพัฒนาสังคมท่ีใชกระบวนทรรศนเกา คือ คิดแบบเกา แยกกนัคิด และแยกกนัทําแบบ

"ตัวใครตัวมัน" หรือบางคร้ังก็เปนปรปกษตอกันระหวางผูท่ีทํางานในเร่ืองเดียวกนั ผลก็คือไมประสบความสําเร็จ กระบวนทรรศนใหมในการพัฒนา (New Development Paradigm) เปนกระบวนการความคิดและการปฏิบัติ ท่ีทุกฝายเขามาเรียนรูรวมกนัโดยการทํางานรวมกัน ใชความคิดและความพยายามรวมกัน โดยไมเปนปฏิปกษตอกัน กระบวนทรรศนใหมในการพัฒนาจึงเปนกระบวนการทางความคิดท่ีตองอาศัยความรวมมือรวมใจจากทุกฝายในสังคม(สุพล วังสินธ), 2543 : 15-16)

Page 31: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

20

พ ี ในยุคแรกของการพัฒนานัน้ การพัฒนา หมายถึงการทําใหทันสมัยเหมือนอยางตะวนัตก ผานการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และการเมือง หรือท่ีเรียกขานกันวา ทฤษฎีทําใหทันสมัย

ตอมาพบวาการพัฒนาเพื่อทําใหทันสมัยอยางตะวันตกนั้น นําปญหามากมายมาสูสังคมของประเทศโลกท่ีสามหรือประเทศดอยพัฒนา ไมวาจะเปนปญหาสภาพแวดลอมเปนพิษ ปญหาความยากจนในชนบทท่ีเพิ่มข้ึน และท่ีสําคัญคือประเทศโลกท่ีสามตองพึ่งพิงประเทศตะวันตกในแ ทบทุกดานมากยิ่งข้ึน จนนํามาสูแนวคิดการตอตานทฤษฎีการทําใหทันสมัยในชวงหลัง (พีระพจน รัตนมาลี, 2545 : 64)

ยุบลวรรณ ประมวญรัฐการ (2542 : 45-46) กลาวถึงลักษณะการพัฒนาในภาคการเกษตร

ของไทยวา การพัฒนาเกษตรท่ีผานมาท่ีประเทศไทยมีแผนพัฒนา ตัวอยางเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติถือไดวาเปนการพัฒนาการเกษตรในยุคปฏิวัติเขียว ซ่ึงเปนการเปล่ียนแปลงวิถีการผลิต คือ การใชพันธุพืชพันธุสัตวใหม การเตรียมดิน การใชเคร่ืองมือท่ีทันสมัย การชลประทาน การใชสารเคมีและการใชยากําจัดศัตรูพืชเปนการตอบสนองนโยบายการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไดเนน 3 กลยุทธ คือเนนการสงออก ไดแกพืชเศรษฐกิจเพียงไมกี่ชนิด ซ่ึงตองใชพื้นท่ีขนาดใหญเนนประสิทธิภาพการผลิตหรือผลิตผลตอไร ซ่ึงตองลงทุน ใชเทคโนโลยีสมัยใหม เคร่ืองจักรกล เคร่ืองมือการเกษตร ปุย สารเคมีและมีผลตอดินจืด เพราะใชสารเคมีนานตอเนื่องกัน ประการสุดทาย เนนการเกษตรแบบครบวงจร ซ่ึงเปนเกษตรอุตสาหกรรม อันเปนธุรกิจขนาดใหญซ่ึงมีผลกระทบตอการสูญเสียท่ีดินของเกษตรกรรายยอย ทําใหเกษตรกรลงทุนสูงข้ึนในขณะท่ีคาตอบแทนไมไดสูงตาม

ชินรัตน สมสืบ (2539 : 6-8) ไดสรุปแนวคิดในการพัฒนาวา การใหความหมายของการพัฒนา (Development) มีหลากหลายแตกตางกันมากมายและไมมีความหมายใดท่ีสามารถครอบคลุมถึงเจตนารมยของการปรับปรุงความเปนอยูของมนุษยหรือความเจริญเติบโต และการเปล่ียนแปลงท่ีดีไดอยางแทจริง และเปนท่ียอมรับโดยท่ัวไปได แนวคิดการพัฒนาท่ีสําคัญมีดังนี้

1. ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ : แนวทางการกระจายความเจริญ (Economic Growth

: The Trickle – Down Approach) แนวความคิดนี้ประสงคในการเพิ่มผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) และรายไดตอหัวของประชาชน (Percapita

income)

2. ความจําเปนพื้นฐาน : แนวทางสวัสดิการ (Basic Needs : Welfare Approach) ควรใหความสนใจส่ิงท่ีจะสนองตอความจําเปนพื้นฐาน เชน อาหาร เคร่ืองนุงหม ท่ีอยูอาศัย

Page 32: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

21

การศึกษา การสาธารณสุข ของประชาชนเปนอันดับแรก แทนที่จะใชทรัพยากรไปลงทุนดานอุตสาหกรรม

3. มนุษยนิยม : แนวทางจริยธรรม (Humanism : The Ethical Approach) แบงปนผลประโยชน ความพยายามและความเสียสละ เพื่อใหการพัฒนามุงแกไขความยากลําบาก มีความตอเนื่อง สรางความยุติธรรม

4. เสรีภาพ : แนวทางการปฏิวัติ (Liberation : The Revolutionary Approach) เนนความมีอิสระของคนจากพันธนาการของส่ิงท่ีไมเกี่ยวของ

3.1.1 การพัฒนาแบบย่ังยืน

การพัฒนาใหเกิดความยั่งยนืจะตองเอามนษุยในสังคมเปนตัวต้ังและตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝายในสังคมท้ัง 3 ภาคสวน คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน (ธรรมรักษ การพิศิษฏ, 2546 : 41)

วัลลี หลีสันติพงศ (2542 :11 - 12) อธิบายเกี่ยวกับ การพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable

Development) วา การพัฒนาที่ถูกตองจะตองใหเศรษฐกิจไปดวยดี และส่ิงแวดลอมก็อยูไดดวย การพัฒนาตองใหครบ 2 องคประกอบ และมีดุลยภาพตอกัน และตองรวมการพัฒนาทางวัฒนธรรม (Cultural Development) ซ่ึงเปนการพัฒนาเชิงวัฒนธรรมท่ีเอาคนเปนศูนยกลาง พจนา เอื้องไพ

นิยามการพัฒนาท่ียั่งยืน ในระดับสากลที่ไดรับการอางถึงมากท่ีสุด คือนิยามของสมัชชาโลกวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา (World Commission on Environment and

Development : WCED) (พจนา เอ้ืองไพบูลย, 2546 : 41) ท่ีวา การพัฒนาท่ียั่งยืน เปนการพัฒนาท่ีสนองตอบตอความตองการของคนในรุนปจจุบัน โดย

ไมทําใหคนรุนตอไปในอนาคตตองประนีประนอมยอมลดความสามารถของเขาท่ีจะสนอง ตอบความตองการของตนเอง” นอกจากน้ี ในป 2545 การประชุมสุดยอดของโลกวาดวยการพัฒนา ท่ียั่งยืน (“World Summit on Sustainable Development : WSSD) ใหนิยามการพัฒนาท่ียั่งยืนวา การพัฒนาท่ียัง่ยืนในบริบทไทย เปนการพัฒนาท่ีตองคํานึงถึงความเปนองครวมของทุกๆ ดานอยางสมดลุ บนพื้นฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย ดวยการมีสวน

Page 33: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

22

รวมของประชาชนทุกกลุม ดวยความเอื้ออาทร เคารพซ่ึงกันและกัน เพื่อความสามารถในการพึ่งตนเองและคุณภาพชีวิตท่ีดีอยางเทาเทียม

ประชา เตรัตน (2543) ไดกลาวถึง แนวทางการพัฒนาท่ียั่งยืนวา ปญหาการพัฒนาท่ีผานมา การพัฒนาอาชีพของกลุมเกษตรกรและผูยากจน แนวทางการพัฒนามิไดมุงใหผูถูกพัฒนาพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืน เปนการแจกพันธุพืช สัตว ปุย ยาเคมี ฯลฯ ใหเกษตรกรแบบใหเปลา ประชาชนไมเห็นคุณคาของส่ิงท่ีไดรับแจกและไมกระตือรือรนในการดําเนินงานตามวัตถุประสงคของทางราชการอยางจริงจัง นอกจากนั้นเกิดชองวางใหขาราชการทุจริต สูญเสียงบประมาณปละจํานวนมหาศาล

แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ตองพัฒนาใหประชาชนสามารถพ่ึงตนเองได ยกเลิกการแจกแบบใหเปลา ยกเวนกรณีท่ีประชาชนเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทางราชการมีหนาท่ีใหความสนับ สนุนสงเสริมในรูปแบบการใหยืม เชน การยืมเงินทุน พันธุพืช พันธุสัตว แกกลุมเกษตรกร และไมคิดดอกเบ้ีย โดยมีขอตกลงเม่ือไดผลผลิตแลวใหสงใชเปนเงินหรือพันธุพืช พันธุสัตว คืน

ยุบลวรรณ ประมวญรัฐการ (2542 : 57-58) กลาวถึง การพัฒนาแบบยั่งยืน วาคือ การ

พัฒนาท่ีสามารถพิทักษรักษาธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมของวันนีใ้หดํารงอยูอยางยัง่ยืนยาวนานไปถึงอนาคต 1. หลักการสําคัญของการพัฒนาแบบยั่งยืน 1.1 การพัฒนาจะตองประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ 1.2 การพัฒนาตองเปนไปเพ่ือประชาชน 1.3 การพัฒนาจะตองใหความสําคัญแกสตรี 1.4 แสวงหาความจาํเปนข้ันพื้นฐานของมนุษย 1.5 การกระจายอํานาจ การพัฒนาท่ียั่งยนืตองพยายามกระจายอํานาจออกไปในกระบวนการตัดสินใจการใชสอยทรัพยากร แผนงานตาง ๆ จะตองมาจากประชาชน 1.6 ประชาธิปไตยจากกลุมพื้นฐาน

1.7 สรางสันติภาพและการไมใชความรุนแรง 2. วิธีการไปสูการพัฒนาท่ียั่งยืน 2.1 เร่ิมจากตัวเราเอง โดยดูแลรางกายและจิตใจตนเองใหแข็งแรงและสดช่ืนสวยงาม 2.2 พยายามสรางเสริมใหประชาชนมีพลังมากข้ึน

Page 34: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

23

2.3 สนับสนุนองคการประชาชนโดยเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาสรางความม่ันใจ ความเคารพตนเอง 2.4 ตองนําหลักการประชาธิปไตยไปปฏิบัติท้ังในครอบครัว ชุมชนและหนวยงาน 2.5 ตองพยายามพึ่งตนเองในทุกดาน 2.6 สรางระบบซ่ึงประสานกลมกลืนกับธรรมชาติ 2.7 ตองสรางเครือขายท่ีดีในทุกระดับ 2.8 ยืนหยัดในหลักการของความยุติธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ความงามและความรัก

3.1.2 การพัฒนากับการมีสวนรวม

ศิริกุล กสิวิววิัฒน (2546 : 20-21 ) ไดใหความหมายเก่ียวกับเร่ืองการมีสวนรวม วา การมีสวนรวม หมายถึง การที่ประชาชนเขามามีสวนรวมกิจกรรมพัฒนาดวยความสมัคร

ใจต้ังแตเร่ิมตนจนส้ินสุด เพื่อพัฒนาชุมชนของตนดวยความรูสึกรับผิดชอบรวมกัน และไดรับประโยชนจากการพัฒนานั้น

กระบวนการมีสวนรวม หมายถึง ประชาชนจะตองเขามามีสวนรวมในทุกข้ันตอนการปฏิบัติงาน ต้ังแตคนหาปญหา วางแผน ดําเนินการ การไดรับประโยชนจากการพัฒนา และติดตามประเมินผล

การสงเสริมการมีสวนรวมเปนกระบวนการสรางจิตสํานึก แรงจูงใจใหประชาชนตระหนักถึงการเขามามีสวนรวมในการพัฒนา

การบริหารแบบมีสวนรวม(Participative Management) คือ กระบวนการบริหารของ

การใหคนในองคกรมีสวนเกี่ยวของในกระบวนการตัดสินใจใชความคิดและการบริหารงานใหบรรลุวัตถุประสงคหรือแกไขปญหาท่ีเกิดจากการบริหารงาน (จารุพงศ พลเดช, 2546 : 14-15)

จรัส สุวรรณมาลา (2546 : 2-3) ไดกลาวถึงการมีสวนรวมของพลเมืองวา ปจจุบัน

ประเทศตางๆ นิยมจัดการปกครองตนเองของชุมชนแบบประชาธิปไตย ท่ีเรียกวา “การปกครองทองถ่ิน” ต้ังอยูบนพื้นฐานของการใหประชาชนพลเมืองในชุมชนรวมกันรับผิดชอบการดําเนิน

Page 35: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

24

กิจการสาธารณะของชุมชน ซ่ึงเรียกวา “ความรับผิดชอบรวมกันของพลเมือง” ภาษาอังกฤษเรียกวา “Collective” ลักษณะของการมีสวนรวมของพลเมืองในการปกครองทองถ่ินท่ีต้ังอยูบนพื้นฐานของความรับผิดชอบรวมกันนั้น ควรจะมีคุณสมบัติท่ัวไปอยางนอย 5 ประการคือ 1. คนในชุมชนรวมกนัคิดและกําหนดวาชุมชนควรมีหรือทํากิจกรรมสาธารณะอะไรบาง

2. คนในชุมชนรวมกันสรรหา คัดเลือกบุคคลหรือคณะบุคคลในชุมชนมาทําหนาท่ีเปนตัวแทนของคนในชุมชนเกี่ยวกับกิจการสาธารณะของชุมชน

3. คนในชุมชนรวมกันคิดและกําหนดวาจะชวยกันแบกรับภาระหรือคาใชจายอันเกิดจากการจัดทํากิจการสาธารณะของชุมชนตามท่ีไดตกลงกันไวอยางไร

4. คนในชุมชนรวมกันตรวจสอบ เกี่ยวกับผลของการดําเนินกิจการสาธารณะของชุมชน ผลักดันใหมีการแกไขขอบกพรอง 5. คนในชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของทรัพยสินหรือกิจการสาธารณะของชุมชนเสมือนหนึ่งเปนของตนเอง

การพัฒนาคนโดยการเพ่ิมขีดความสามารถและพลังของชุมชนในการจัดการหรือบริหาร

ชุมชนของตนเองเพราะชุมชนถือไดวาเปนรากฐานของการพัฒนา วิถีทางหนึ่งก็คือการใหคนในชุมชนไดรูจักเรียนรูท่ีจะรวมกันคิด รวมกันทํา รวมกันเปนเจาของ เพื่อประโยชนของตนเอง(ชุมชน)และสวนรวม(ประเทศชาติ) (จุลศักดิ์ ชาญณรงค, 2546 : 80)

วินิจ เกตุขํา และคมเพชร ฉัตรศุภกุล ( 2522 : 22) ไดกลาวถึงคุณคาของกระบวนการกลุมไวดังนี้ ในการดําเนินการกลุมนั้น มีส่ิงท่ีเกิดข้ึนอยูสองอยาง อยางหนึ่งคือ ความสําเร็จของกลุม หรือท่ีเรียกวาผลิตผล (Product) ซ่ึงจัดวาเปนผลงงานท่ีกลุมสรางออกมา อีกประการหนึ่งคือกระบวนการทํางานของกลุม (Process) คุณคาของกระบวนการกลุมจะอยูในขณะท่ีดําเนินงานกลุม บุคคลในกลุมหรือกลุมเองจะไดรับการเปล่ียนแปลงหรือพัฒนาการไปในทางท่ีดีข้ึน สรุปไดดังนี้

1. คุณคาในดานการพัฒนาการ (Developmental Values)

1.1 การสนองความตองการพื้นฐานของบุคคล ท้ังในทางรางกายและจิตใจ เชนความตองการเปนสวนหนึ่งของกลุม ความตองการความปลอดภัยเม่ืออยูในกลุม ความตองการความยอมรับจากหมูคณะ เปนตน

1.2 การสรางพัฒนาการดานอารมณและสังคม ไดรูจักเรียนรูเร่ืองการปฏิบัติงานในสังคม และการควบคุมอารมณ

Page 36: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

25

1.3 การพัฒนาการดานทัศนคติ ความสนใจ ความสามารถและปทัสฐานทางสังคมในการดํารงชีวิตอยูในสังคม จะตองมีทัศนคติท่ีดีตอบุคคลอ่ืน มีความเคารพบุคคลอ่ืน แสดงพฤติกรรมใหเหมาะสม

2. คุณคาในการวินิจฉัย (Diagnostic Values) การเขากลุมเปดโอกาสใหบุคคลประเมินคาตนเองในสถานการณทางสังคม ทําใหแตละคนคนพบตนเอง และมีความเขาใจตนเองเกิดข้ึน

3. คุณคาในการบําบัด (Therapeutic Values) การเขากลุมชวยทําใหคนท่ีมีปญหาทางอารมณรูจักควบคุมอารมณ สรางความพึงพอใจในการปฏิสัมพันธกับคนอ่ืน

4. คุณคาทางดานการศึกษา (Education Values) ทําใหเกิดการเรียนรูรวมกัน ไดใชความสามารถของตนรวมงานและแบงปนกับบุคลอ่ืน

5. คุณคาในการปฏิบัติงาน ทําใหมีโอกาสคิดรวมกัน วางแผนรวมกัน ประสานงาน และดําเนินงานรวมกัน

การพัฒนาชนบทในดานตางๆ ท่ีผานมานั้นยังไมสัมฤทธ์ิผลเทาท่ีควรเพราะในอดีตการทํางานมักมีปญหาและอุปสรรคท่ีสําคัญหลายประการ ไดแก ประการแรก ภาคราชการมีการปฏิบัติงานท่ีลาชา ประการท่ีสอง ประชาชนสวนใหญขาดแรงกระตุนใหเขามีสวนรวมคิดปญหา (พีรพล ไตรทศาวิทย, 2544 : 41)

(วรวิทย อวิรุทธวรกุล, 2544 : 18-26) ความเขมแข็งของชุมชน หมายถึง การที่ประชาชน

ในชุมชนตาง ๆ ของเมือง หรือชนบทรวมตัวกันเปน องคกรชุมชน โดยมีการเรียนรู การจัดการ

และการแกไขปญหารวมกันของคนในชุมชน แลวถึงไดเกิดการเปล่ียนแปลง หรือการพัฒนาท้ังทางดานเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และส่ิงแวดลอมภายในชุมชนตลอดจนมีผลกระทบสูภายนอกชุมชนท่ีดีข้ึนตามลําดับ

สวน องคกรชุมชน หมายถึง กลุม หรือชมรม หรือสหกรณ หรือในช่ืออ่ืนใด โดยจะมีการจดทะเบียนตามกฎหมายหรือไมก็ตาม อันเปนองคกรท่ีเกิดจากการรวมตัวดวยความสมัครใจของประชาชนจํานวนหนึ่งท่ีมีวัตถุประสงคและอุดมคติรวมกัน มีมิตรภาพและความเอ้ืออาทรตอกัน

การดําเนนิงานขององคกรชุมชนแตละชุมชนจะมีความเขมแข็ง หรือออนแอมากนอยเพียงใดยอมข้ึนอยูกับองคประกอบภายในขององคกรชุมชนท่ีสําคัญ ๆ ดังนี ้ 1. การมีอุดมการณรวมกันของสมาชิกในชุมชน 2. การมีเปาหมายและวตัถุประสงครวมกัน 3. การมีผลประโยชนรวมกันและมีการกระจายผลประโยชนอยางเปนธรรม

Page 37: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

26

4. สมาชิกขององคกรชุมชนและคนท่ัวไปในชุมชน 5. การบริหารจัดการ 6. กิจกรรมการดําเนินงานขององคกรชุมชน 7. งบประมาณการดําเนินงาน

ชุมชนเขมแข็ง นําไปสูการพัฒนาท่ียั่งยืนท้ังนี้ เนื่องจากชุมชนเขมแข็งจะมีศักยภาพในการพึ่งตนเองสูง และการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง มีความเปนปกแผนแนนแฟน สามารถควบคุมและ

บริหารจัดการกับปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนไดดวยตนเอง เปนสวนใหญ ซ่ึงผลกระทบจากการดําเนินการนั้นจะทําให 1. สามารถท่ีจะพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพ่ึงตนเองและลดความยากจนในชุมชนไดงาย 2. สามารถควบคุมและจัดระเบียบทางสังคมของชุมชน ใหเอ้ือตอท่ีสมาชิกของชุมชนจะอยูรวมกันอยางสันติสุข สามัคคี เอ้ือเฟอและชวยเหลือเกื้อกูลกันไดงาย 3. สามารถแกไขปญหาดวยสติปญญา มีการแลกเปล่ียนความรูกันอยางกวางขวาง และตอเนื่องมีการสืบสานภูมิปญญา ความรู มีความเช่ือม่ันในศักยภาพ ภูมิปญญาและมีความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง 4. สามารถจัดระบบดูแลและแบงสรรหาทรัพยากรธรรมชาติ ใหเกิดประโยชนและเปนธรรมแกสมาชิกของชุมชน และสรางระบบการจัดการทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุดแกชุมชนไดดี 5. สามารถเปนแบบอยางดานการบริหารจัดการท่ีดีในการดําเนินงานหรือการแกไขปญหาของชุมชนท่ีออนแอ

กํานัน ผูใหญบาน : ผูนําประชาชนในทองถ่ิน สาโรจน คัชมาตย (2544 : 38) ให

ความเห็นวา ในการพัฒนาทองถ่ิน กํานัน ผูใหญบานจะมีบทบาทสําคัญ 2 บทบาทในเวลาเดียวกัน คือ บทบาทหนึ่ง จะเปนผูแทนของรัฐในทองถ่ินท่ีทําหนาท่ีในการรักษาความสงบเรียบรอย และถายทอดนโยบายของรัฐไปสูประชาชนในพ้ืนท่ี อีกบทบาทหนึ่งคือ การเปนผูนําทองถ่ินท่ีไดรับการยอมรับท้ังจากประชาชนและประชาสังคมในพื้นท่ี กํานัน ผูใหญบานจึงเปนตัวจักรสําคัญในการเช่ือมโยงประชาสังคมในพื้นท่ี ใหสามารถรับบริหารสาธารณะจากรัฐ และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตลอดจนสนับสนุนการทํางานของหนวยงานราชการทั้งสวนทองถ่ิน และอ่ืน ๆ ใหดําเนินงานไดอยางราบร่ืนและมีประสิทธิภาพเปนประโยชนแกคนในพื้นท่ี รวมท้ังรวมกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน สงเสริมใหประชาสังคมเกิดศักยภาพในการชวยเหลืองานสวนรวม และรวมกันคิด รวมกันตัดสินใจ รวมทํา รวมรับประโยชน

Page 38: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

27

3.1.4 การพัฒนากับทรัพยากรมนุษย

การพัฒนาท่ีมีเปาหมายอยูท่ีประชาชนซ่ึงเปนทรัพยากรคน(Human Resource) โดยมุงเนนใหเกิดการปรับเปล่ียนพฤติกรรม(Behavior) ของคนในลักษณะท่ีพึ่งพิงอยูกับฐานแหงความถูกตอง และระบบคุณธรรม (Morality) อันไดแก ความอดทนอดกล้ัน ความเสียสละ การมีวินัย การมีความคิดสรางสรรคเพื่อสังคม (ยอดชาย ชุติกาโม, 2544 : 57)

ศิริ ทิวะพันธุ (2544 : 93) ไดกลาวถึงการพัฒนาคนมีสวนสรางสังคมท่ีเขมแข็ง โดยสังคม

ท่ีเขมแข็ง และมีดุลยภาพใน 3 ดาน คือ 1. สังคมคุณภาพ ท่ียึดหลักความสมดุล พอดีและพ่ึงตนเองได โดยการสรางคนดี คนเกง มีความรับผิดชอบ มีการพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน พัฒนาเมืองและชนบทใหมีความนาอยู มีการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมท่ีดี มีระบบการเมืองการปกครองท่ีโปรงใส มีกระบวนการยุติธรรมเปนท่ีพึ่งของประชาชน 2. สังคมแหงภูมิปญญา และเรียนรู โดยพัฒนาคนใหคิดเปน ทําเปน เรียนรูตลอดชีวิต มีเหตุผลและพรอมรับการเปล่ียนแปลงมีการเสริมสรางฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีนวัตกรรมและความคิดริเร่ิมสรางสรรค เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศควบคูกับการสืบสานประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา 3. สังคมสมานฉันทและเอ้ืออาทรตอกัน ท่ีมีการดํารงไวซ่ึงคุณธรรมและคุณคาของสังคมไทยท่ีพึ่งพาและเกื้อกูลกัน มีการดูแลกลุมผูดอยโอกาสและยากจน รักษาไวซ่ึงสถาบันครอบครัวเปนสถาบันหลักของสังคมและพัฒนาเครือขายชุมชนใหเขมแข็งเพื่ออยูดีมีสุขของคนไทย

ปจจัยทางดานทรัพยากรมนุษย ท่ีกอใหเกิดการพัฒนาท่ียั่งยืน ประเทศท่ีสังคมเต็มไปดวยผู

มีสติปญญามีท้ังความรูความสามารถ สังคมตั้งอยูบนรากฐานของความรู ยอมสามารถสรางการพัฒนาท่ียั่งยืนไดดีกวาประเทศท่ีสังคมปราศจากฐานความรู ไมมีการเรียนรูรวมกันอยางบูรณาการ แตกแยกความคิดกัน เปนสังคมที่เต็มไปดวยมนุษยท่ีแยกสวนเปนเขาเปนเรา บริหารกันตามภาระหนาท่ี เปนฝกเปนฝาย (ธรรมรักษ การพิศิษฏ, 2546 : 40)

(นิตยา กมลวัทนนิศา, 2545 : 13) การพัฒนาความรูหรือการศึกษายังเปนส่ิงสําคัญ

สําหรับการไดมาซ่ึงความอยูดีมีสุขของคนดวย เพราะการศึกษาเปนเร่ืองสําคัญในการเสริมสราง

Page 39: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

28

โอกาสพัฒนาสติปญญาและกระบวนการเรียนรูของคนให “คิดเปน ทําเปน” พึ่งตนเองได สามารถปรับตัวใหดํารงชีวิตอยูในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วไดอยางมีประสิทธิภาพ การพัฒนามนุษยตองพัฒนา 2 ความหมายคือ ความหมายแรก ในฐานะเปนทรัพยากรมนุษย เปนปจจัยหรือทุนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพราะถามนุษยมีคุณภาพดี มีความรูความสามารถ ยอมเปนแรงงานท่ีมีฝมือ มีจิตใจดี เชน ขยันหม่ันเพียร มีความรับผิดชอบ ยอมชวยพัฒนาเศรษฐกิจไดดี สําหรับความหมายท่ีสอง เราจะตองพัฒนามนุษยในฐานะเปนมนุษยโดยมุงหมายใหคนเปนคนมีคา มีชีวิตท่ีดีงาม เปนมนุษยท่ีสมบูรณ มีความสุขและมีอิสรภาพ (วัลลี หลีสันติพงศ, 2542 : 12)

การพัฒนาท่ีสําคัญประการหนึ่งในยุคนี้ ท่ีตองควบคูไปกับการพัฒนาคน และทีมของ

องคการ คือ การปรับเปล่ียนวัฒนธรรม ความคิด ความเช่ือ การแสดงออกรวมกันของคนในองคการ ใหมีลักษณะอานออกเขียนได ทันโลกทันกาล โดยไมเสียเอกลักษณ รากเหงาดั้งเดิมของตนเอง (วีระวัฒน ปนนิตามัย, 2548 : 8)

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2546 : 30-41) ไดวิเคราะหลักษณะอุปนิสัยของคนไทยท่ีเปน

อุปสรรคตอการพัฒนาประเทศวา มีอยู 30 ประการ ดังตอไปนี้ 1. เช่ือเร่ืองเวรกรรม จึงทําใหคนไทยปลอยตัวปลอยใจไมมุมานะดิ้นรนตอสู ไม

ทะเยอทะยาน 2. ถอมตัวและยอมรับชนช้ันในสังคม ไมเพียงเพิ่มชองวางระหวางชนช้ันในสังคมใหมาก

ข้ึนเทานั้นหากผูมีอํานาจหรือผูปกครองขาดซ่ึงความยุติธรรม 3. ยึดถือระบบอุปถัมภ ระบบนี้มี 2 ลักษณะ คือ ผูอุปถัมภหรือผูนํา ผูถูกอุปถัมภ 4. ไมยอมรับคนท่ีมีอายุเทากันหรือตํ่ากวา ลักษณะอุปนิสัยนี้เปนอุปสรรคในแงท่ีกําลัง

ความคิดและกําลังกายของมนุษยสวนหนึ่งไมไดนําเอามาใชใหเปนประโยชนอยางเต็มท่ี 5. พึ่งพาพึ่งพิงคนอ่ืน จึงทําใหคนไทยขาดความเช่ือม่ันในตัวเอง ขาดความคิดริเร่ิม

สรางสรรคไมกลาแสดงความคิดเห็น 6. ไมรูจักประมาณตนเอง หรือทําอะไรโดยไมคํานึงถึงฐานะของตน ผลลัพธคือ คนไทย

เปนหนี้มากข้ึนและยิ่งจนลง 7. รักอิสระเสรี ไมยอมอยูในระเบียบ อันทําใหการพัฒนาประเทศขาดประสิทธิภาพ 8. ไมชอบคาขาย จึงทําใหการคาขายของคนไทยไมเขมแข็งเพียงพอยอมเปนอุปสรรคตอ

การพัฒนาประเทศ

Page 40: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

29

9. เอาตัวรอดและชอบโยนความผิดใหคนอ่ืน 10. ไมชอบรวมกลุมและขาดความรวมมือประสานงาน ยอมประสบความสําเร็จไดยาก 11. ขาดการวางแผนอยางเปนทางการ ชอบมองโลกในแงดี จึงทําใหการทํางานไมมี

ทิศทาง ไมรอบคอบหละหลวมและลมเหลวไดงาย 12. ชอบเลนการพนัน ดื่มเหลาและชอบความสนุกสนาน 13. เกียจคราน เพราะถาประชาชนไมชอบทํางานหนัก ไมมุมานะ ไมอดทน ไมขยัน

และไมมีความเพียรแลวก็ยากท่ีจะทําสําเร็จได 14. ไมชอบความเปล่ียนแปลง และตอตานการเปล่ียนแปลง ซ่ึงจะทําใหการพัฒนา

ประเทศไปไดยาก เนื่องจากการรับและนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขาไปจะถูกตอตาน 15. เห็นแกตัวและเอาแตได โดยเหน็แกประโยชนสวนตนมากกวาสวนรวม 16. ลืมงาย ใหอภัยงายและเห็นอกเห็นใจ ดังนั้นผูกระทําความผิดก็อาจหวนกลับมา

กระทําความผิด ซํ้าอีก 17. ชอบอภิสิทธิ จึงสรางความเหล่ือมลํ้าไมเทาเทียมกัน ชองวางระหวางคนรวยและคน

จนมีมากข้ึน 18. ฟุมเฟอย ไมตระหนี่ถ่ีเหนียว ไมประหยัดอดออม จึงทําใหคนไทยมีฐานะยากจนมาก

ยิ่งข้ึน 19. ไมรูจักแพชนะ จึงทําใหเกิดความวุนวายเสียเวลาและแตกความสามัคคี 20. ไมยกยองผูหญิง จึงทําใหทรัพยากรมนุษยท่ีเปนผูหญิงเปนจํานวนมากไมไดถูก

นํามาใชประโยชนอยางเต็มท่ี 21. มีจิตใจคับแคบ และมองโลกในแงราย จึงไมมีใครอยากเขามารวมทํางานกับผูท่ีมี

จิตใจคับแคบเห็นแกตัว 22. ชอบสรางอิทธิพล สรางอาณาจักรและชอบแสดงความเปนเจาของโดยเฉพาะในสวน

ท่ีความคิดและวิธีการในการพัฒนาประเทศถูกผูกขาดเฉพาะกลุมและเพื่อประโยชนเฉพาะกลุม 23. ชอบประนีประนอม ชอบการผสมกลมกลืน 24. ไมตรงตอเวลา ไมใหความสําคัญกับเวลา การผัดผอนเร่ืองเวลา 25. ไมรักษาสาธารณสมบัติ หรือไมทํานุบํารุงหรือรักษาของสวนรวม 26. ชอบพูดมากกวาทํา ชอบพูดมากกวาเขียน ชอบติเพื่อทําลาย ทําใหผูท่ีทํางานจริง ๆ

หมดกําลังใจ ไมคิดท่ีจะติดตอรวมมือทํางานดวยการพัฒนาประเทศไมเจริญกาวหนาเทาท่ีควร 27. ยกยองวัตถุ ยอมทําใหคนไทยแลงน้ําใจ ขาดนํ้าใจ หรือขาดจิตใจเสียสละเพ่ือ

สวนรวม

Page 41: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

30

28. ชอบของฟรี ของแถมชอบการรอรับหรือการสงเคราะหโดยไมยอมพึ่งพาตนเอง 29. สอดรูสอดเห็น โดยอุปนิสัยนี้เปนรากฐานของการอิจฉาริษยากัน และสงผลตอการ

ทํางานหรือนําเวลาไปใชในเร่ืองท่ีไมเกิดประโยชนของสวนรวม 30. ขาดจิตสํานึกและอุดมการณ เพื่อชาติบานเมือง ทําใหการทํางานใด ๆ มุงแตประโยชน

สวนตนเทานั้นไมคิดถึงประโยชนสวนรวม

การพัฒนาประเทศไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร สวนหนึ่งเกิดจากความไมเขาใจลักษณะอุปนิสัยของคนไทยวามีบางสวนท่ีเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประเทศ

3.2 ทฤษฎีศักยภาพในการพัฒนาและการแพรกระจาย ในการท่ีประเทศหน่ึงหรือสังคมหนึ่งสังคมใดจะมีความพัฒนาหรือเจริญกาวหนานั้นจะตองมีปจจัยหลายอยางสนับสนุน สัญญา สัญญาวิวัฒน (2542 : 32-39) ไดกลาวถึงทฤษฎีศักยภาพในการพัฒนาและการแพรกระจาย สรุปไดวา

ทฤษฎีศักยภาพในการพัฒนาและการแพรกระจาย คัดเลือกตัวแปรเหลานั้นมา 6 ตัวดวยกัน

คือ ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน ทรัพยากรมนุษย องคการทางสังคม ภาวะผูนําในหมูบาน การติดตอสัมพันธระหวางชาวบานกับขาราชการของรัฐ และการฝกอบรม โดยสวนท่ีเปนศักยภาพของชุมชนประกอบดวย 5 ปจจัยแรก สวนปจจัยท่ี 6 เปนสวนของทฤษฎีการแพรกระจายนวัตกรรม

ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึงส่ิงอันเปนกายภาพท้ังหลายท่ีมนุษยมิไดเปนผูประดิษฐข้ึนมา

เชน ดิน น้ํา อากาศ สินแร พืชพันธุไม และสัตว เปนตน ณ ท่ีนี้มุงแตเร่ืองของดินท่ีมีความสําคัญเปนแหลงเพาะปลูก หากชาวนาของชุมชนใดไดเปนกรรมสิทธ์ิในท่ีดินท่ีตนทํามาหากินอยูมากเทาใดก็ยอมจะทําใหชุมชนนั้นมีศักยภาพในการท่ีจะพัฒนากาวหนาไปไดมาก เม่ือเปนเจาของแลวเขาก็จะตองพยายามปรับปรุงดินของตนใหมีคุณภาพดี

Page 42: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

31

ทรัพยากรมนุษย มีสวนสําคัญตอการพัฒนาประเทศ ศาสตราจารยการเซีย แหงอาเจนตินา กลาวไววา “ปญหามูลฐานแทๆของพัฒนาการ ทุกส่ิงทุกอยางท่ีสําคัญเกี่ยวของกับมันหมด นั่นคือ ตัวมนุษยเอง” ปริมาณของประชากรอยางเดียวอาจไมชวยในการพัฒนาหรืออาจเปนอุปสรรคเสียดวยซํ้า เชนประเทศอินเดียและจีน สวนท่ีมีคาแกการพัฒนาคือปริมาณคนในวัยทํางาน (อายุระหวาง 15 - 64 ป)

องคการทางสังคม มีความหมายเปนท้ังกระบวนการทางสังคม และองคกรอยางหนึ่งอัน

เปนผลจากกระบวนการนั้น ท่ีเปนกระบวนการเพราะองคการเปนกระบวนการการกระทําระหวางบุคคลและเปนการตกลงรวมกันในสภาวการณตางๆ ทางสังคม ในการท่ีจะทํางานรวมกันใหบรรลุเปาหมายท่ีต้ังไว บุคคลท่ีเขารวมกระบวนการจะตองสรางความคิดและบรรทัดฐานการปฏิบัติรวมกันข้ึนมาเพื่อเปนแนวทาง ผลท่ีตามมาคือองคกรทางสังคมดังกลาว

ภาวะผูนําในหมูบาน มนุษยเปนสัตวสังคมท่ีจะตองอาศัยอยูเปนหมูเปนเหลา และในภาวะ

เชนนี้จําเปนตองมีผูนํา ในงานพัฒนาน้ันโดยปกติผูนําจะทําหนาท่ีหลักอยูสองประการ คือ ประการแรก ทําการเลือกเปาหมายและควบคุมดําเนินการใหบรรลุเปาหมาย ประการท่ีสอง มีหนาท่ีในการเสริมพลังและบํารุงรักษาความเปนปกแผนของกลุมหรือขององคการ ผูนําจึงมีบทบาทในการรวมคนใหปฏิบัติงานตามเปาหมายรวมกัน

การติดตอสัมพันธระหวางชาวบานกับขาราชการของรัฐ ชุมชนใดท่ีมีปริมาณการติดตอ

กับขาราชการมาก ก็จะมีศักยภาพท่ีจะเจริญกาวหนาไดมากกวาชุมชนท่ีชาวบานติดตอขาราชการนอยกวา เพราะยอมจะมีลูทางจะกาวหนาไดมากกวา โดยภาครัฐเปนแหลงสนับสนุนความชวยเหลือดานตางๆ

การฝกอบรม ถือเปนตัวแปรแทรก กลาวคือการศึกษา การฝกอบรมจะชวยเรงปจจัย

ตางๆ ท่ีกลาวมาแลว ใหมีแรงผลักดันใหชุมชนมีความกาวหนามากยิ่งข้ึน เพราะการฝกอบรมทําใหเกิดความรูเกิดทักษะ สมาชิกองคกรท่ีมีความรูความชํานาญยอมจะรูจักมีสวนรวมกับองคการไดดี ชวยแสดงความคิดเห็นและปฏิบัติงานท่ีเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากกวา

Page 43: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

32

3.3 ทฤษฎีการพ่ึงพาตนเองของชุมชนชนบท สัญญา สัญญาวิวัฒน (2542 : 67-74) ไดกลาวถึงทฤษฎีการพึ่งพาตนเองของชุมชนชนบท สรุปไดดังนี้ ทฤษฎีเร่ืองการพ่ึงพาตนเองของชุมชนชนบทน้ี สืบเนื่องมาจากงานวิจัยกําหนดหัวขอ (Commission Research) ท่ีสภาวิจัยมอบหมายใหสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดําเนินการในป 2529 โดยใชช่ือโครงการวา การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจในชนบท เร่ิมจากการหาตัวแบบ (Model) จากการวิจัยเอกสารและการศึกษาชุมชนแบบกวาง แลวเสนอรายงานในป 2533 ซ่ึงเปนผลจากการนําตัวแบบไปทดลองปฏิบัติกับชุมชนชนบท 5 ชุมชนท่ัวประเทศไทย และไดผลเปนท่ีนาพอใจ

ทฤษฎีนี้เปนตัวอยางของการสรางทฤษฎีประเภทวิจัยแลวสรางทฤษฎี (Research – then –

theory) และไดขอสรุปวา การท่ีชุมชนชนบทจะพ่ึงตนเองได จะตองมีการพึ่งพาตนเองใน 5 ดานดวยกัน คือ

พึ่งตนเองไดทางเทคโนโลยี หมายถึง การมีปริมาณและคุณภาพของเทคโนโลยีทาง

วัตถุ เชน เคร่ืองไมเคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกล และเทคโนโลยีทางสังคม เชน การรูจักวางโครงการ รูจักจัดการ เปนตน การรูจักใชอยางมีประสิทธิภาพ และการบํารุงรักษาใหคงสภาพดีอยูเสมอเพ่ือการใชงาน ซ่ึงรวมท้ังของสมัยใหมและของดั้งเดิมของทองถ่ินท่ีเรียกวา ภูมิปญญาชาวบานดวย จะทําใหชุมชนสามารถประกอบอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมวาจะเปนการทํานา ทําไร หรือรวมท้ังการทําอุตสาหกรรมในครัวเรือน การติดตอคาขาย หรือแมการประกอบอาชีพดานการบริการ ซอมแซมเคร่ืองจักรเคร่ืองมือ ชวยในการส่ือสารติดตอกับภายนอกชุมชน ทําใหไดขาวสารท่ีดี ทันตอเหตุการณ รวมไปถึงการใชเทคโนโลยีทางสังคม การเปนผูนําชุมชนท่ีดี การรูจักการวางโครงการการบริหารโครงการ การประชาสัมพันธ เปนตน

พึ่งตนเองไดทางเศรษฐกิจ หมายถึง ความสามารถดํารงชีวิตทางเศรษฐกิจ(การทํามาหา

เล้ียงชีพ) ท่ีมีความม่ันคงสมบูรณพูนสุขพอควร ประชาชนในชุมชนเล้ียงตัวเองได มีรายไดพอเพียงสามารถซ้ือหาอาหารหรือปจจัย 4 อยางอ่ืนได สามารถซ้ือส่ิงของ ยาแกปวยไข ไปหาหมอรักษาไข หาเคร่ืองกีฬามาเลนทําใหสุขภาพแข็งแรง ซ้ืออุปกรณการศึกษามาชวยตัวเองและลูกหลานในการศึกษาเลาเรียน

Page 44: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

33

พึ่งตนเองไดทางทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงใดๆ ท่ีมีอยูโดยธรรมชาติ ในชุมชน หรือสามารถหามาได การพึ่งตนเองไดทางทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การมีทรัพยากรธรรมชาติ ความสามารถในการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ใหดํารงอยูไมใหเส่ือมไปจนหมดส้ิน หรือไมใหเสียสมดุลธรรมชาติมากนัก ตัวอยางเชน ดิน น้ํา ปา สัตวบกและนํ้า รวมท้ังแรธาตุตางๆท่ีมีคาและความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย

พึ่งตนเองไดทางจิตใจ หมายถึง สภาพจิตใจท่ีกลาแข็งในการท่ีจะตอสูกับปญหา

อุปสรรคในการหาเล้ียงชีพ การพัฒนาชีวิตใหเจริญกาวหนายิ่งข้ึน ในการปกครองตนเอง ในการปองกันกิเลสตัณหา ไมโลภ โกรธ หลง หรืออยากได อยากดี จนเกินความสามารถของตน โดยตองเปนคนเขมแข็ง ปลงใจและปกใจ ม่ันใจวาจะชวยตนเองได พึ่งตนเอง และยังเปนคนรูจักพอ

พึ่งตนเองไดทางสังคม หมายถึง ภาวการณท่ีคนกลุมหนึ่งๆ มีความเปนปกแผนเหนียวแนน มีผูนําท่ีมีประสิทธิภาพสามารถนํากลุมคนเหลานี้ปฏิบัติหนาท่ีตางๆ ของตนไปสูเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพโดยกลุมของตนเอง หรืออาจขอความชวยเหลือจากภายนอกก็ได ซ่ึงเปนการสืบเนื่องมาจากปจจัยอ่ืนอีกทอดหน่ึง เชนการศึกษา การส่ือสารระหวางกัน ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ

ในขณะท่ี บุญทัน ดอกไธสง (2533 อางถึงใน ไพบูลย ชางเรียน, 2539: 29 - 33) ได

กลาวถึง เทคโนโลยี กลุมทางสังคมและการเมืองในทองถ่ิน และทรัพยากร วา เทคโนโลยี หมายถึง การรับเอาความรู วิชาการ ส่ิงประดิษฐ หรือเทคนิคมาจากภายใน

หรือภายนอกทองถ่ินมาประยุกตใช เทคโนโลยีสามารถแบงออกเปน เทคโนโลยีท่ีเปนวัตถุ เชนพวกเครื่องทุนแรง เคร่ืองจักรตางๆ และเทคโนโลยีท่ีเปนความรูดานการบริหารงานตางๆ

ลักษณะของเทคโนโลยีท่ีสนับสนุนการบริหารงานพัฒนา 1) ศรัทธาเช่ือม่ันวา เทคโนโลยีมีความสําคัญและมีประโยชนตอการบริหารงาน

พัฒนา 2) เปนเทคโนโลยีระดับชาวบานหรือระดับกลาง 3) มีความเปนไปไดท่ีจะนํามาใช

4) เปนท่ียอมรับของประชาชน 5) เหมาะกับสภาพของทองถ่ิน 6) สอดคลองกับความเช่ือ หรือวัฒนธรรมทองถ่ิน

Page 45: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

34

ลักษณะของเทคโนโลยีท่ีไมสนับสนุนการบริหารงานพัฒนา คือ 1) เปนวิชาความรู หรือวัตถุส่ิงของท่ียากตอการเขาใจและนําไปใช 2) มีราคาสูง 3) ไม เปนท่ียอมรับของทองถ่ินเนื่องจากไมสอดคลองกับความเช่ือ หรือ

วัฒนธรรมทองถ่ิน

ทรัพยากร หมายถึง ความรูความสามารถของคน รวมตลอดไปถึงส่ิงตางๆ และกําลังคนท้ัง

จากภายในและภายนอกทองถ่ิน [ทรัพยากรมนุษย] ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติตางๆ น้ํา ปาไมและดิน

ลักษณะของทรัพยากรที่สนับสนุนการบริหารงานพัฒนา คือ 1) ศรัทธาเช่ือม่ันวา ทรัพยากรมีความสําคัญตอการบริหารงานพัฒนาและตอความ

เปนอยูของประชาชน 2) เปนทรัพยากรท่ีเกี่ยวของใกลชิดและมีประโยชนกับทองถ่ิน เชน ทรัพยากรน้ํา

ปาไม และดิน 3) สามารถนําไปใชประโยชนได 4) ในทองถ่ินมีทรัพยากรมากเพียงพอ 5) ใชทรัพยากรอยางประหยัดและใหบังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 6) มีบุคคลหรือองคกรท้ังภาครัฐและภาคเอกชนจากภายในและภายนอกทองถ่ิน

ชวยดูแลรักษา อนุรักษ และพัฒนาทรัพยากร ลักษณะของทรัพยากรที่สนับสนุนการบริหารงานพัฒนา คือ

1) กลุมตางๆ ในทองถ่ินหรือประชาชนไมเห็นความสําคัญของการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากร

2) ขาดแคลนทรัพยากรที่สําคัญในการประกอบอาชีพ 3) ไมสามารถนําเอาทรัพยากรมาใชประโยชนไดเนื่องจากขาดวิชาความรู หรือ

ทุนสนับสนุน 4) ใชทรัพยากรอยางฟุมเฟอย 5) ไมดูแล อนุรักษ หรือพัฒนาทรัพยากรในทองถ่ิน

Page 46: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

35

กลุมทางสังคมและการเมืองในทองถ่ิน หมายถึง สภาพทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง การบริหาร และการจัดองคกรในทองถ่ิน ซ่ึงรวมไปถึงการมีกลุมกิจกรรมตางๆ ในทองถ่ิน อันไดแก กลุมทางเศรษฐกิจ เชน กลุมสหกรณ กลุมออมทรัพย กลุมเกษตรกร ศูนยสาธิตการตลาด กลุมทางดานสังคมและวัฒนธรรม เชน กลุมสตรี กลุมเยาวชน กลุมศาสนา กลุมพัฒนา และกลุมทางดานการเมืองการปกครอง เชน คณะกรรมการหมูบาน คณะทํางานเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตําบล คณะกรรมการสภาตําบล หรือกลุมกิจกรรม ท่ีสนับสนุนการเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยตางๆ

ลักษณะของกลุมทางสังคมและการเมืองในทองถ่ิน ท่ีสนับสนุนการบริหารงานพัฒนา คือ

1) ศรัทธาเช่ือม่ันวา กลุมมีพลังและมีความสําคัญ พรอมท้ังเช่ือม่ันวาพลังของกลุมสามารถนําไปใชประโยชนในการสรางสรรคได 2) ใชประโยชนจากกลุมกิจกรรมตางๆ ท่ีมีอยูในทองถ่ิน

3) สมาชิกกลุมมีอุดมการณ มีความรับผิดชอบ มีความสัมพันธระหวางสมาชิก และทํากิจกรรมอยางตอเนื่อง 4) จํานวนไมมากหรือนอยเกินไป 5) มีความขัดแยงระหวางกลุมไมมาก 6) รวมมือกันระหวางกลุม 7) ปราศจากการแทรกแซงดวยอิทธิพลหรือการเงิน 8) ฝกอบรมในเร่ืองการรวมกลุม

9) มีปจจัยสําคัญท่ีชวยใหการรวมกลุมเขมแข็ง เชน คนมีประสิทธิภาพพรอมท้ังมีความรูทางวิชาการ และเงินทุนสนับสนุน

10) มีกิจกรรมทางการเมือง การเลือกต้ัง การรักษาสิทธิหนาท่ี และผลประโยชน ตลอดจนการสรางอํานาจตอรอง การสงเสริมและปลูกฝงประชาธิปไตยในทองถ่ิน

11) กลุมกิจกรรมตางๆ จัดต้ังข้ึนสอดคลองกับวัฒนธรรมหรือสภาพความเปนอยูของประชาชนในทองถ่ิน

ลักษณะของกลุมทางสังคมและการเมืองทองถ่ินท่ีไมสนับสนุน การบริหารงาน

พัฒนา คือ 1) กลุมท่ีเขมแข็งมีนอยมาก 2) สมาชิกเขามาอยูในกลุมเพื่อมุงแสวงหาประโยชนสวนตัว

Page 47: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

36

3) เกิดความขัดแยงระหวางกลุมมาก 4) ถูกครอบงําดวยอิทธิพลตางๆ

5) กลุมเกิดข้ึนจากการจัดต้ัง หรือบังคับใหจัดต้ังข้ึน โดยท่ีประชาชนไมเห็นถึงความสําคัญของการรวมกลุม

6) ไมสนใจกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการเมือง การปกครอง หรือการรักษาผลประโยชนของประชาชน

นอกจากนี้ ณัฐนพันธ นวมสําราญ (2544 : 16 – 20) ไดกลาวถึง ระบบการพึ่งตนเองของ

ชุมชน ประกอบดวยองคประกอบ 3 ประการ คือ 1. องคประกอบดานครอบครัว ครอบครัวคือผูวางแผนการผลิตทางการเกษตรท่ี

สัมพันธกับการบริโภค และความจําเปนพื้นฐานของสมาชิกในครอบครัว และการจัดการผลผลิต การถนอมอาหารเพ่ือใหเพียงพอตอครอบครัว และสัมพันธกับชวงเวลาหรือฤดูกาล

2. องคประกอบดานชุมชนหรือองคกรชุมชน หรือระบบการจัดการในระดับชุมชน ท่ีเกิดจากการรวมมือของชาวบานในชุมชนหลายครอบครัวรวมกัน เพื่อจัดการกับผลผลิตสวนเกินความจําเปนพื้นฐานของครอบครัว กระจายความพอเพียงใหกับทุกครอบครัวในชุมชน

3. องคประกอบดานความสัมพันธระหวางชุมชน หรือเครือขายองคกรชุมชน คือระบบการแลกเปล่ียนและการพึ่งพาระหวางชุมชนหรือองคกรชุมชน ในดานความรูและประสบการณผลผลิต ทรัพยากร เงินทุน และพัฒนาความรวมมือระหวางองคกรชุมชน ม

กระบวนการพัฒนาชุมชนเพื่อการพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืนนั้นยุทธศาสตรเร่ิมแรกก็คือ สรางองคกรชุมชน แตไมมุงเนนรูปแบบกิจกรรมตางๆ เปนการรวมตัวแบบธรรมชาติ เขามาพูดคุยปรึกษาหารือรวมกันถึงสภาพปญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนและกระทบตอครัวเรือน วิเคราะหสาเหตุทางเลือกสรางกระบวนการเรียนรู การจัดการใหบรรลุวัตถุประสงครวมกัน โดยภาคีหรือเครือขายท้ังจากภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรเอกชน นักวิชาการ เขามาชวยเหลือสนับสนุนใหกําลังใจในการดําเนินการจัดทําแผนชุมชนพ่ึงตนเองในแตละข้ันตอน โดยคนในชุมชนตองมีความสมานฉันท และเขมแข็ง มุงม่ันท่ีจะพัฒนาชุมชนของตนเอง ทําใหสามารถสรางแนวทางการพัฒนาขึ้นในชุมชนตลอดจนพึ่งพาองคกรท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรเอกชน ท้ังนี้ การพึ่งพาตนเองและการพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกันนั้น จะเกิดกระบวนการเรียนรูและถายทอดไปสูชุมชน เปนการเรียนรูท่ีผสมผสานจากภูมิปญญาชาวบานผสมผสานความรูสากล และนําไปพัฒนาใหสอดคลองกับการ

Page 48: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

37

ดําเนินชีวิตของชุมชนนั้นๆ ผลการรวมกลุมจะสรางศักยภาพหรือความเขมแข็งของชุมชนได เปนชุมชนพ่ึงชุมชน บริหารดวยภูมิปญญาของคนในชุมชน (มานิตย ทวีกสิกรรม, 2544 : 17)

(อดิศักดิ์ นอยสุวรรณ, 2543 : 80-81) ยุทธศาสตรเพื่อนําไปสูการปฏิบัติงานเศรษฐกิจชุมชนพ่ึงตนเอง สรุปหลักแหงแนวคิดเพื่อการดําเนินการ คือ การที่จะปฏิบัติใหเกิดผลสําเร็จอยางเปนรูปธรรม และบังเกิดผลตามความมุงหมายของยุทธศาสตรเศรษฐกิจชุมชนพ่ึงตนเองนั้น มีแนวทางในการดําเนินการ 3 ดาน คือ การผลิต การจําหนาย และการบริโภค 1. การผลิต จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองสงเสริมสนับสนุนใหใชปจจัยการผลิตใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ซ่ึงมีปจจัยการผลิตท่ีสําคัญ คือ

1.1 การใชท่ีดิน และนํ้าอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด

1.2 การใชแรงงาน 1.3 การสนับสนุนและสงเสริมในดานทุน 1.4 การบริหารและการจัดการ

2. การจําหนาย ในการสงเสริมเศรษฐกิจชุมชนพ่ึงตนเอง เพื่อใหเกษตรกรและประชาชนในชนบทรูจักการทํามาหากิจ เพื่อใหมีความพออยูพอกิน และสามรถดํารงชีพอยูไดตามแนวพระราชดํารัฐฯ เศรษฐกิจพอเพียง 3. การบริโภค เปนการปลูกฝงแนวความคิดมิใหมีการใชจายฟุมเฟอย และมีการบริโภคเกินความจําเปนข้ันพื้นฐาน เพื่อการสงเสริมการผลิตและการบริโภคภายในทองถ่ิน เพื่อลดการพึ่งพาจากภายนอก

3.4 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

3.4.1 การศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกแหลงเงินทุนเพ่ือแกไขปญหาความยากจน กรณีศึกษา : อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย

ทินกร การรักษาและคณะ (2548) ไดเสนอรายงานการวิจัย เร่ือง “การศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกแหลงเงินทุนเพื่อแกไขปญหาความยากจน กรณีศึกษา : อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย” ซ่ึงสรุปผลไดวา

Page 49: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

38

1) ในดานของแหลงเงินทุน มีแหลงเงินทุนของรัฐบาลชวยสนับสนุนใหเกิดอาชีพ รวมท้ังเปนการชวยสนับสนุนสงเสริมการสรางกระบวนการเรียนรูในชุมชน/หมูบานดานการบริหารจัดการเงินทุน ตลอดจนอํานวยความสะดวกในการกูยืมสําหรับประชาชนมากกวาแหลงเงินทุนอ่ืนๆ แตยังมีปญหา ถาหากหมูบาน/ชุมชนที่มีขนาดใหญแลวแหลงเงินทุนดังกลาวก็จะไมเพียงพอตอการกูยืมของราษฎร

2) การไดรับการสนับสนุน สงเสริมการดําเนินงานเกี่ยวกับแหลงเงินทุน ในสวนของงบประมาณน้ัน ถาเปนหมูบาน/ชุมชนขนาดเล็กถือวาเพียงพอ มีการสนับสนุนบุคลากรในการฝกอบรมการบริหารจัดการกองทุน ดานการจัดทําบัญชี มีการติดตาม ตรวจเยี่ยม นิเทศ และประเมินผล มีกฎ ระเบียบ ขอบังคับ เพื่อใหเกิดการหมุนเวียนคณะกรรมการบริหารกองทุน มีการจัดประชุมเพื่อเสริมสรางกระบวนการเรียนรู การทํางานเปนทีมเพื่อสรางความเขมแข็งในหมูบาน/ชุมชน สนับสนุนขอมูลเอกสารวิชาการ วัสดุอุปกรณท่ีเกี่ยวของ ประสานงานการแกไขปญหา ขอขัดแยงและขอรองเรียน เปนตน

3) ความเขาใจของประชาชนเกี่ยวกับแหลงเงินทุน พบวาประชาชนสวนใหญมีความคิดเห็นวาแหลงเงินทุนมีประโยชนตอการลงทุนในระดับปานกลาง รอยละ 49.55 และมีความคิดเห็นวาแหลงเงินทุนสามารถชวยแกปญหาความยากจนไดในระดับปานกลาง รอยละ 50 สวนแหลงเงินทุนท่ีเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของประชาชนสวนใหญ คือ แหลงเงินทุนของภาครัฐ รอยละ 75.25 รองลงมา คือ แหลงเงินทุนของนายทุนเงินกู รอยละ 71.50 สําหรับรูปแบบในการนําเงินทุนไปใชในการดําเนินชีวิตของประชาชนนั้นสวนใหญนําไปชําระหนี้ท่ีมีอัตราดอกเบ้ียท่ีสูงกวา รอยละ 68 รองลงมาเปนการนําไปใชในการซ้ืออาหารเพื่อการบริโภค รอยละ 67.50

4) การจูงใจของแหลงเงินทุน พบวาเหตุผลท่ีทําใหประชาชนตัดสินใจกูเงินจากแหลงทุนมาใชจายสวนใหญ

รอยละ 57.50 ไดแก ความงายในการกูยืม สวนการอํานวยความสะดวกของแหลงเงินทุนท่ีมีการจูงใจประชาชนใหตัดสินใจเลือกใชบริการ สวนใหญรอยละ 41.00 เปนเร่ืองความรวดเร็วในการใหบริการ

3.4.2 การศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไพบูลย ชางเรียน (2539) ไดนําเสนอรายงานการวิจัยหัวขอ “การศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” โดยศึกษาความคิดเห็นของประชาชนในภาค

Page 50: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

39

ตะวันออกเฉียงเหนือตอการการปลูกพืชและเล้ียงสัตวเศรษฐกิจ รวมท้ังองคกรดานการตลาดของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในชวง 10 ป ขางหนา โดยศึกษาจากตัวอยาง 8 กลุม ไดแก (1) เกษตรกร (2) กรรมการสภาตําบล (3) ผูนําชุมชนหรือผูนํากลุมในระดับตําบล (4) ขาราชการประจํา ซ่ึงหมายถึงพัฒนากร และเกษตรตําบล (5) ส.ส. หรือ อดีต ส.ส. (6) นักวิชาการหรืออาจารยในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกร (7) นักพัฒนาขององคกรพัฒนาเอกชน (8) นักธุรกิจหรือพอคาท่ีทําการคาเกี่ยวกับการเกษตร ทําการสุมตัวอยาง จาก 9 อําเภอ ใน 9 จังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยใชตัวอยาง จํานวน 499 คน ผลการศึกษาพบวา ตามความคิดเห็นของประชาชนตัวอยางนั้น

1. ปจจุบันพืชเศรษฐกิจท่ีทํารายไดใหแกเกษตรกรมากท่ีสุดในตําบลหรืออําเภอ ไดแก ขาว มันสําปะหลัง ขาวโพด และถ่ัวเหลือง สวนสัตวเศรษฐกิจท่ีทํารายไดใหแกเกษตรกรมากท่ีสุดในตําบลหรืออําเภอ ไดแก โคเน้ือ สุกร ไกเนื้อ และปลา

2. ปจจุบันปญหาของพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ คือ ปญหาเกี่ยวกับความแหงแลง ปุยและโรคพืช สวนปญหาของสัตวเศรษฐกิจท่ีสําคัญ คือปญหาเกี่ยวกับโรคสัตว อาหารสัตว สถานท่ีเล้ียงและพอแมพันธุ รวมท้ังการถูกกดราคา

3. สวนปญหาท่ีทําใหเกิดปญหาของพืชเศรษฐกิจดังกลาวเกิดจากการขาดแหลงน้ํา ฝนไมตกตามฤดูกาล ปุยและยาราคาแพง ขาดผูใหคําแนะนํา ไมมีการประกันราคาพืชผล ไมมี สหกรณ และสหกรณไมเขมแข็ง

4. สําหรับแนวทางแกไขปญหาของพืชเศรษฐกิจ คือ พัฒนาแหลง ต้ังสหกรณเพื่อจําหนายปุยและยาราคาถูก จัดเจาหนาท่ีแนะนําเพิ่ม ประกันราคาพืชผล ตัดพอคาคนกลาง และต้ังตลาดกลางหรือสหกรณ เชนเดียวกัน แนวทางแกไขปญหาของสัตวเศรษฐกิจ คือต้ังสหกรณเพื่อจําหนายยาและอาหารสัตวราคาถูก ฝกอบรมและจัดเจาหนาท่ีแนะนําเพิ่ม สนับสนุนเอกชนใหเขามาดําเนินการ ตัดพอคาคนกลางต้ังตลาดกลางหรือสหกรณ

5. องคกรดานการตลาดท่ีมีอยูในทุกจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีสําคัญคือสหกรณการเกษตร โดยปญหาที่องคกรดานการตลาดประสบอยู คือปญหาดานการเงิน วัสดุอุปกรณ และปญหาดานการตลาด โดยบทบาทขององคกรดานการตลาดดังกลาวอยูในระดับตํ่า มีการใหความรูแกเกษตรกรในระดับปานกลาง และองคกรไมไดชวยใหราคาพืชผลทางการเกษตรสูงข้ึน 6. เม่ือศึกษาถึงปจจัยท่ีมีผลตอขีดความสามารถในการบริหารงานพัฒนาขององคกรดานการตลาด ท้ัง 10 ปจจัย หรือ COP IS TERMS [Coordination, Objective, Public

Page 51: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

40

Relations, Information, Structure, Technology, Economic Status, Resource, Mentality,

Social and Political Organization] พบวา ทุกปจจัย อันไดแก 6.1 การประสานงานและการไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ 6.2 การมีจุหมายดานการตลาดท่ีแนวแนเพื่อเกษตรกร 6.3 การประชาสัมพันธเผยแพรผลงานแกเกษตรกร 6.4 การใหขอมูลขาวสารดานการเกษตรแกเกษตรกร 6.5 การมีโครงสรางการจัดองคการที่เอ้ือประโยชนตอเกษตรกร 6.6 การสนับสนุนดานเทคโนโลยี คือ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชและวิชาความรูดานการเกษตรแกเกษตรกร 6.7 การท่ีองคกรมีฐานะทางเศรษฐกิจดี 6.8 การมีทรัพยากรหรือกรรมการขององคกรมีความรูความสามารถดานการตลาดเพียงพอท่ีจะใหแกเกษตรกร 6.9 การเสียสละเพื่อสวนรวมและทุมเททํางานเพ่ือเกษตรกรของกรรมการองคืกรดานการตลาด 6.10 การสนับสนุนการรวมกลุมและการมีสวนรวมท่ีเกี่ยวกับการตลาดของเกษตรกร ลวนมีสวนชวยสงเสริมใหการบริหารงานพัฒนาขององคกรดานการตลาดมีขีดความสามารถสูงข้ึน ยิ่งไปกวานั้น ยังเปนการแสดงนัยใหเห็นดวยวา ประชาชนตัวอยาง สวนใหญมีแนวโนมยอมรับ COP IS TERMS ในฐานะเปนตัวแบบหนึ่งท่ีสามารถนํามาประยุกตใชสําหรับพิจารณาความสามารถในการบริหารงานพัฒนาขององคกรดานการตลาดไดดวย 3.5 แนวคิดทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอเพียง

สุวัฒน ชางเหล็ก (2545) ไดสรุปจากหนังสือ 50 ป แหงการพัฒนาตามโครงการอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว (กปร. 2539 อางใน เกษม วัฒนชัย,2545) ในเร่ืองพระราชดําริ ทฤษฎีใหม)

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมีพระราชปณิธานท่ีจะ

ชวยเหลือและบรรเทาทุกขพสกนิกรท่ีประสบทุกขยากไร โดยเฉพาะประชาชนสวนใหญของประเทศท่ีเปนเกษตรกร โดยทรงใชหลักวิชาท่ีถูกตองแมนยําในการพัฒนาและแกไขปญหาดวย

Page 52: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

41

พระองคเอง เม่ือทรงทดลองไดผลจนเปนท่ีพอพระราชหฤทัยแลว จึงทรงขยายผลและเผยแพรไปสูพสกนิกรใหเกิดการเรียนรูและนําไปปฏิบัติอยางไดผลดวยตนเอง

3.5.1 หลักวิชาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ใชหลักวิชาการพัฒนาโดยท่ัวไป ไดแก

1.1 การพัฒนาตองเกิดจากภายในจึงจะมีความม่ันใจ ทรงใชคําวา"ระเบิดจากขางใน" 1.2 การพัฒนาตองเกิดข้ึนเปนข้ันตอนตามลําดับ มิใชกระโดดขามข้ัน 1.3 ความสามารถพึ่งตนเอง ทรงแนะแกนักพัฒนาวา"ควรยึดหลักสําคัญวา เราจะชวย

เขาเพื่อใหเขาสามารถชวยตัวเองตอไป" 1.4 การศึกษาทดลองเพ่ือหาวิธีท่ีเหมาะสมโดยเร่ิมจากขนาดเล็กกอน 1.5 การพัฒนาท่ียั่งยืนตองอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติควบคูกันไป 1.6 การพัฒนาท่ีดีตองไมเกิดมลภาวะแกสภาพแวดลอม 1.7 การพัฒนาจะไดผลดีตองเปนไปตามลักษณะภูมิศาสตรและสังคมศาสตรของ

ทองถ่ิน 1.8 การพัฒนาจะไดผลดีตองอาศัยหลักวิชาการและเทคนิควิธีท่ีเหมาะสม 1.9 การพัฒนาจะไดผลดีตองทําเปนรูปแบบโครงการ 1.10 การพัฒนาจะไดผลดีตองมีการประสานงานและบูรณาการ 1.11 โครงการพัฒนาจะดําเนินการไดตองมีสํานักงานรับผิดชอบ 1.12 การพัฒนาจะสําเร็จไดตองอาศัยความขยันอดทนอยางตอเนื่องและยาวนาน

3.5.2 ทฤษฎีใหม (NEW THEORY)

จุดเร่ิมตนของทฤษฎีใหมเกิดจากการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จเยี่ยมราษฎร ทรงเห็นสภาพความยากลําบากของราษฎรในการทําการเกษตรในพ้ืนท่ีอาศัยน้ําฝน มีความเส่ียงตอในการเสียหายจากความแปรปรวนของดินฟาอากาศ จึงทรงรวบรวมขอมูลนํามาวิเคราะห และไดพระราชทานพรราชดําริเพื่อใหสามารถผานพนชวงวิกฤติการณขาดแคลนน้ําไดโดยไมเดือดรอนและยากลําบากนัก พระราชดํารินี้ทรงเรียกวา “ทฤษฎีใหม” อันเปนแนวทางที่จัดการท่ีดินและน้ําเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ไดทรงทดลองเปนแหงแรกท่ีวัดมงคลชัยพัฒนา ตําบลหวยบง อําเภอเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดสระบุรี เม่ือป พ.ศ. 2537 ไดผลสรุปแนนอนวาการเพาะปลูกท่ีมีแหลงน้ําเพียงพอจะทําใหเกษตรกรไทยรายยอยสามารถปลูกขาวไดพอดี ปลูกพืชผักผลไมไดผลดี มี

Page 53: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

42

รายไดเสริมเพียงพอสําหรับครอบครัวท่ีขยัน ใชจายอยางประหยัด แมจะไมรํ่ารวยมากแตก็จะมีพอกินพอใชไมอดอยาก 3.5.2.1 ขั้นตอนของทฤษฎีใหม

ทฤษฎีใหมขั้นท่ี 1 การผลิตเพื่อพึ่งตนเองได โดยแบงพื้นท่ีของเกษตรกรมีนอยประมาณ 10 – 15 ไร ออกเปน 4 สวน อัตรา 30 : 30 : 30 : 10 ท่ีสามารถยืดหยุนปรับไดตามความเหมาะสม

พื้นท่ีสวนท่ีหนึ่ง ประมาณ 30 % ขุดสระเก็บน้ํา เพื่อใชเก็บกักน้ําฝนและใชปลูกพืชฤดูแลงรวมท้ังการเล้ียงสัตวและพืชน้าํตางๆ

พื้นท่ีสวนท่ีสอง ประมาณ 30 % ปลูกขาวในฤดูฝน เพือ่เปนอาหารสําหรับครอบครัว เปนการลดคาใชจายเพื่อใหเกษตรกรสามารถพ่ึงตนเองได

พื้นท่ีสวนท่ีสาม ประมาณ 30 % ปลูกไมยนืตน พืชผัก พชืไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหารประจําวัน หากเหลือบริโภคก็สามารถนําไปจําหนายเปนรายได

พื้นท่ีสวนท่ีส่ีประมาณ 10 % สําหรับเปนท่ีอยูอาศัย เล้ียงสัตว และโรงเรือนอ่ืนๆ

ทฤษฎีใหมขั้นท่ี 2 การรวมกลุม เปนการดําเนินงานท่ีมุงเนนความพอเพียงระดับชุมชน ใหมีการรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ เพื่อรวมแรงรวมใจกันในดาน การผลิต การตลาด การเปนอยู สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา ทฤษฎีใหมขั้นท่ี 3 การดําเนนิการดานธุรกจิ เปนการติดตอประสานงานและการรวมมือกับองคกรนอกกลุมเกษตรกร เพื่อจัดหาทนุหรือแหลงเงินสําหรับเพิ่มพูนประสิทธิภาพการผลิต การตลาด และการบริโภค

3.5.2.2 ประโยชนของทฤษฎใีหม

1. ใหประชาชนพออยูพอกิน สมควรแกอัตภาพและเลี้ยงตนเองได 2. ในหนาแลงมีน้ํานอยก็สามารถเอาน้ําท่ีเก็บไวในสระมาปลูกพืชผักตาง ๆ โดยไมตองอาศัยชลประทาน 3. ในปท่ีฝนตกตามฤดูกาล ทฤษฎีใหมก็สามารถสรางรายไดใหรํ่ารวยข้ึน 4. ในกรณีท่ีเกดิอุทกภยั ก็สามารถท่ีจะฟนตัวและชวยตัวเองไดในระดบัหนึ่ง

Page 54: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

43

3.5.3 ระบบเศรษฐกิจพอเพียง (SUFFICIENCY ECONOMY) สุเมธ ตันติเวชกุล (2543) กลาวถึงการดําเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว

พระราชดําริสรุปไดวา เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศหรือภูมิภาคหนึ่งๆ ในการผลิตสินคาและบริการเพื่อเล้ียงสังคมน้ัน ๆ ไดโดยพยายามหลีกเล่ียงท่ีจะตองพึ่งพาปจจัยตาง ๆ ท่ีเราไมไดเปนเจาของ ตองมี “การพึ่งตนเอง” เปนหลัก

3.5.3.1 ปญหาท่ีถาโถมสูไทยอยางรวดเร็ว 1. ในขณะท่ีเศรษฐกิจของประเทศไดเกิดภาวะผันผวนอยางรุนแรง ทําใหการลงทุนสะดุดหยุดชะงัก เกิดภาวะวางงานข้ึนท่ัวประเทศอยางรุนแรงแบบท่ีไมเคยปรากฏมากอน 2. แผนพัฒนาประเทศในอดีตท่ีผานมามุงเนนความเจริญทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) เปนหลักสําคัญ ทุมเทขยายการผลิตดานอุตสาหกรรมมากกวาดานเกษตรกรรม 3. ไทยตกอยูใตกระแสโลกาภิวัตน (Globalization) ทําใหคนไทยหลงกระแสเกิดความเช่ือวา ของสากล หรือของฝรั่งเปนของดี จนหลงลืมพื้นฐานทุนสังคม สภาพแวดลอม และวิถีชีวิตไทยของตนเอง มุงเขาเปล่ียนแปลงระบบตาง ๆ ตลอดจนเปดตลาดเสรีตามแฟช่ันโดยเฉพาะดานการเงิน การคลัง โดยปราศจากความพรอมใด ๆ ไมวาดานบริการ ดานกฎหมาย ฯลฯ 4. ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจท่ีเกิดขึ้นคร้ังนี้รุนแรงและรวดเร็วเกินกวาท่ีภาครัฐบาลและภาคเอกชนจะต้ังรับไดทัน 5. ทิศทางของการดํารงชีพอยูอยางประคองตัว เพื่อลุกข้ึนยืนหยัดดวยลําแขงของตนเองดวยวิธีการแบบท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเรียกวา "เศรษฐกิจแบบพอเพียงกับตัวเอง" (Relative Self - Sufficient Economy) 6. เม่ือคนพบการดํารงชีพ "เศรษฐกิจแบบพอเพียง" แลวควรมุงมาตรฐาน "พออยูพอกิน" ตามพระราชดําริดวยจึงจะพัฒนา และพ่ึงตนเองไดเพิ่มข้ึนในอนาคต

Page 55: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

44

3.5.3.2 การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุกดานท่ีไมจําเปน ลดละความฟุมเฟอยในการดํารงชีพอยางจริงจัง 2. ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตองสุจริต แมจะตกอยูในภาวะขาดแคลนในการดํารงชีพก็ตาม 3. ละเลิกการแกงแยงผลประโยชน และแขงขันกันในทางการคาขายประกอบอาชีพแบบตอสูกันอยางรุนแรงดังอดีต 4. ไมหยุดนิ่งท่ีจะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากคร้ังนี้ โดยตองขวนขวายใฝหาความรูใหเกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงข้ันพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ 5. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดลีดละส่ิงช่ัวใหหมดส้ินไป

3.5.3.3 แนวคดิระบบเศรษฐกิจพออยูพอกินจะชวยแกไขวิกฤติทางเศรษฐกิจและปญหาทางสังคมของเกษตรกรไทย ทางออกของการแกปญหาวิกฤติทางหนึ่งในสวนของชนบท คือ จะตองชวยใหประชาชนท่ีอยูในภาคเกษตรและท่ีกลับคืนสูภาคเกษตรมีงานทํา มีรายได ในขณะเดียวกันก็จะตองสรางรากฐานของชนบทใหแข็งแรงเพียงพอท่ีจะสามารถพ่ึงตนเองไดในระยะยาว แนวคิดระบบเศรษฐกิจพอเพียงสําหรับเกษตรกร ตามแนวพระราชดําริ ต้ังอยูบนพื้นฐานของหลักการ "ทฤษฎีใหม" 3 ข้ัน คือ ขั้นท่ีหนึ่ง มีความพอเพียง เล้ียงตัวเองไดบนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใชจาย ขั้นท่ีสอง รวมพลังกันในรูปกลุมเพื่อทําการผลิต การตลาด การจัดการ รวมท้ังดานสวัสดิการ การศึกษา การพัฒนาสังคม ฯลฯ ขั้นท่ีสาม สรางเครือขายกลุมอาชีพ และขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหหลากหลาย

ณรงค โชควัฒนา (2543 :27-28) ไดกลาวถึง แนวทางบนัได 3 ข้ัน สูความพอเพยีง สรุปได

วา ชวงแรก ตองพึ่งเงินออมของตัวเองกอน เม่ือไดเงินออมแลวจึงทําจากเล็กไปใหญ

และระหวางสะสมเงินก็สะสมประสบการณไปดวย

Page 56: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

45

ชวงท่ี 2 คือเงินออมในชุมชน ชุมชนมีเงินออมแลวพิจารณาใหกับคนในชุมชนท่ีมีความสามารถใชคืนท้ังตนท้ังดอก เงินของชุมชนพวกเขาดูแลกันเอง

ชวงสุดทาย คือเงินออมของประเทศ ถาชุมชนมีศักยภาพมากข้ึนในทางการบริหารจัดการดานการผลิต การตลาด จึงจะสามารถมาเอาเงินออมจากคนท้ังประเทศ

จุลศักดิ์ ชาญณรงค (2546: 81-83) ไดกลาวถึง แนวพระราชดําริท่ีนํามาประยุกตใชสรุป

ไดวา แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดทฤษฎีใหมตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ความเปนเจาของรวมกันเปนจุดเนนสําคัญของแนวคิดดังกลาวสําหรับธุรกิจชุมชน กําไรอาจมิใชเพียงตัวเงินแตอาจเปนการสรางรายไดสรางงานใหแกคนในชุมชนจึงถือวาเปนธุรกิจชุมชนท่ีแทจริงแนวการพัฒนาชีวิต และอาชีพตามแนวคิดทฤษฎีใหมนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระราชดําริไว 3 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 การผลิตมีหลักการท่ีสําคัญของการปฏิบัติคือรูจักการบริหารและจัดการดินและนํ้าซ่ึงเปนทรัพยากรธรรมชาติรวมกับการบริหารเวลาเงินทุนและกําลังคน ข้ันตอนท่ี 2 การรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณคือ เกษตรกรจําเปนตองปรับปรุงตนเองรวมกลุมกันในรูปกลุมหรือสหกรณรวมแรงกันทํางานในดานตางๆ เชน การผลิต การตลาด การศึกษาเปนตน ข้ันตอนท่ี 3 การรวมมือกับแหลงเงินและกับแหลงเปนการสรางและพัฒนาเครือขายระหวางของคนภายในชุมชนและกลุมภายนอก ซ่ึงก็คือแนวทางการประกอบธุรกิจชุมชนในดานสินคาเกษตรนั่นเอง 3.6 การขบัเคลื่อนวาระแหงชาติเกษตรอินทรียตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง วิชัย สุภาโสต (2549) ไดอธิบายไวในเอกสารเผยแพรของกรมชลประทานเก่ียวเร่ืองเกษตรอินทรียดังนี้ เกษตรอินทรีย คือ การทําการเกษตรดวยหลักธรรมชาติ บนพื้นท่ีการเกษตรท่ีไมมีสารพิษตกคางและหลีกเล่ียงการปนเปอนของสารเคมีทางดิน ทางน้ําและอากาศ เพื่อสงเสริมความอุดมสมบูรณของดิน ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศนและฟนฟูส่ิงแวดลอมใหกลับคืนสูสภาพสมดุลธรรมชาติ และเปนการทําการเกษตรท่ีไมใชสารเคมีสังเคราะห หรือใชส่ิงท่ีมาจากการตัดตอพันธุกรรม เปนการทําการเกษตรโดยใชปจจัยการผลิตท่ีมีแผนการจัดการอยางเปนระบบ ภายใตมาตรฐานการผลิตท่ีแนนอน

Page 57: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

46

ประโยชนท่ีไดจากการทําเกษตรอินทรีย 1. ทําใหอาหารปลอดสารพิษ สําหรับชีวิตท่ีดกีวา 2. ทําใหตนทุนการผลิตท่ีตํ่ากวา เพื่อเศรษฐกจิท่ีดีกวา 3. ทําใหคุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตท่ีดีกวา 4. ทําใหผืนดนิท่ีอุดมสมบูรณกวา 5. ทําใหส่ิงแวดลอมและมีการรักษาระบบนิเวศนทางธรรมชาติท่ีดีกวา 6. ทําใหคุณภาพผลผลิตการเกษตรที่ดีกวา

จากเอกสารเผยแพรของ สวนปรับปรุงบํารุงรักษา สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน (2548) ไดกลาวถึงการขับเคล่ือนวาระแหงชาติเกษตรอินทรีย วาเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือ 4 มกราคม 2548 เห็นชอบในหลักการยุทธศาสตรเกษตรอินทรีย ใหเปนวาระแหงชาติ โดยมีเปาหมายเพื่อแกปญหาความยากจน โดยการกําหนดเปาหมายระยะแรกเม่ือถึงป พ.ศ. 2552 ไววา

1) ลดการนําเขาปุยเคมี สารเคมีทางการเกษตรใหได 50 % 2) พื้นท่ีท่ีมีการปรับเปล่ียนใชสารอินทรียทดแทนสารเคมีทางการเกษตร เนื้อท่ี 85

ลานไร (เกษตรอินทรีย 1 ลานไร ลดการใชสารเคมี 84 ลานไร) 3) เกษตรกรจํานวน 4.25 ลานรายใชสารอินทรียทดแทนสารเคมีทางการเกษตร 4) เกษตรกรมีรายไดสุทธิเพิ่มข้ึน 20 % 5) ปริมาณมูลคาสงออกสินคาเกษตรอินทรียเพิ่มข้ึน 100 %

ยุทธศาสตรหลัก 5 ประการในการดําเนินงานเกษตรอินทรีย

1. ยุทธศาสตรดานรณรงค ประชาสัมพันธ ไดแก การจดัส่ือมวลชนสัญจร ดูงานเกษตรอินทรีย จัดเวทีเสวนา ผลิต

รายการ สารคดี สปอรตโทรทัศน วิทยุ ส่ือตางๆ คัดเลือกเกษตรกรท่ีมีภูมปญญาดานเกษตรอินทรียและเศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ

2. ยุทธศาสตรดานการวิจัย ไดแก การวิจัยและพัฒนาการผลิตปุยอินทรียจากขยะมูลฝอยอยางครบวงจร

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการทําเกษตรอินทรีย การวิจัยและพัฒนาการผลิตปศุสัตวในระบบเกษตรอินทรีย การวิจัยและพัฒนาดานจุลินทรียและปุยชีวภาพ การวิจัยเศรษฐกิจการพัฒนา เกษตรอินทรีย ฯลฯ

Page 58: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

47

3. ยุทธศาสตรดานการสรางเครือขายแกนนําเกษตรกร ไดแก สัมมนาเชิงปฏิบัติการวิทยากร เจาหนาท่ีของรัฐเพื่อเตรียมความ

พรอมเปนวิทยากร อบรมเกษตรกรแกนหลักขับเคลื่อนวาระแหงชาติเกษตรอินทรียตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ฝกอบรมใหความรูแกเจาหนาท่ีและเกษตรกร สรางระบบเครือขายเกษตรกร ฯลฯ

4. ยุทธศาสตรดานการสนับสนุน ไดแก การสงเสริมการผลิตและใชสารอินทรียทดแทนสารเคมีทางการเกษตร

พัฒนาฐานขอมูลเกษตรอินทรีย ผลิตเมล็ดพันธุขาวอินทรีย สงเสริมพืชอินทรีย ปศุสัตวอินทรียและประมงอินทรีย ฯลฯ

5. ยุทธศาสตรดานการรับรองมาตรฐานและสงเสริมตลาด ไดแก พัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย พัฒนาและรับรอง

มาตรฐานปจจัยการผลิตเกษตรอินทรียหรือเกษตรลดการใชสารเคมี ตรวจสอบรับรองการผลิตอินทรีย และรับรองปจจัยการผลิตพืชอินทรีย สงเสริมการตลาดสินคาเกษตรอินทรียสูตางประเทศ ฯลฯ

โครงการชีววิถีเพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืน จากเอกสารเผยแพร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (2545: บทนํา) ไดกลาวถึงการสนับสนุน “โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน” ซ่ึงเปนโครงการเผยแพรความรู ประสบการณ ตลอดจนการขยายผลดานการเกษตรชีวภาพ ออกไปสูประชาชน หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ชุมชนตางๆ โรงเรียน และหนวยงานภายในของการไฟฟาฯ เอง ท่ีประสบความสําเร็จเปนอยางสูง วา

คณะผูบริหารของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดเยี่ยมชมหมูบานตัวอยาง บานโนนสวรรค อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เห็นความสําเร็จอยางสูงของเกษตรกรที่ไดรับการสงเสริมแนวทางการดําเนินชีวิตดวยเกษตรธรรมชาติและเศรษฐกิจพอเพียง จากศูนยอํานวยการประสานงานโครงการพัฒนาเพื่อความม่ันคงเฉพาะพ้ืนท่ีปาดงนาทามอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดอุบลราชธานี จึงมีแนวคิดวาจัดทําโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนข้ึน

Page 59: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

48

ผลจากการดําเนินงานโครงการดังกลาวสามารถสงเสริมวิถีชีวิตของคนไทย ทําใหประชาชนพอมีพอกินและพึ่งตนเองได มีอาหารเพียงพอตอการบริโภคภายในครัวเรือน มีผลผลิตเหลือไวจําหนายสรางเสริมรายไดจุนเจือครอบครัว และพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังทําใหเกิดความเอ้ือเฟอเกื้อกูลกัน ทําใหชุมชนเขมแข็ง ดวยการพึ่งพาตนเอง มีเศรษฐกิจชุมชน ดานสุขภาพท่ีดีข้ึนท้ังเกษตรกรผูผลิตและประชาชนผูบริโภคผลผลิตท่ีปลอดสารพิษ นอกจากน้ีการเกษตรแบบธรรมชาติ สามารถลดตนทุนจากการใชสารเคมี ลดการใชสารเคมีดวยการเกษตรชีวภาพ ทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตรวมกับธรรมชาติโดยไมทําลายซ่ึงกันและกัน อันเปนแนวทางแหงการพัฒนาอยางยั่งยืน

พลเดช ปนประทีป และคณะ (2547 : 48) กลาวถึง เกษตรกรรมกับการแกปญหาความ

ยากจนวา เกษตรกรรมรายยอยสวนใหญท่ีทําเกษตรเคมีหรือเกษตรเชิงเดี่ยว ยิ่งทํายิ่งเปนหนี้ เนื่องจากตองพึ่งพาปจจัยการผลิตจากภาบนอก ท้ังเคร่ืองจักร เคร่ืองทุนแรง สารเคมีตางๆ ปุย สารฆาแมลง เมล็ดพันธุ ฯลฯ ทําใหตนทุนการผลิตสูง แตไมสามารถควบคุมราคาผลผลิตไดเพราะตลาดโลกเปนผูกําหนดราคา ตองเผชิญความผันผวนของราคา บางคร้ังตองขายผลผลิตในราคาตํ่ากวาทุนเปนเหตุตองเขาสูวงจรของการเปนหนี้และปญหาความยากจน

ในขณะท่ีการผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนรูปแบบตางๆ มีหลักการที่สําคัญคือ การพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพาปจจัยการผลิตจากภายนอก ทําใหตนทุนการผลิตตํ่า ยึดหลักผลิตอาหารใหเพียงพอกับการบริโภคในครัวเรือนเม่ือเหลือจึงขาย ทําใหเปนการลดคาใชจายในครัวเรือนดานอาหารไดอยางมาก เกษตรกรจํานวนมากท่ีเปล่ียนมาสูระบบเกษตรกรรมยั่งยืนจึงพึ่งพาตนเองได ลดภาระหน้ีสินท่ีมีอยูหรือไมมีหนี้ มีอาหารที่มีคุณภาพทางโภชนาการและมีปจจัยเพื่อการดํารงชีวิตพื้นฐานท่ีเพียงพอ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน หลุดพนจากปญหาความยากจน

Page 60: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

49

3.7 ตัวแบบท่ีใชเปนกรอบในการวิเคราะห

จากการศึกษาทฤษฎี และองคความรูดานตางๆ รวมถึงการศึกษาผลวิจัยท่ีเกี่ยวของ ดังท่ีไดกลาวถึงมาแลวในตอนตน คณะผูวิจัยจึงนําเสนอตัวแบบที่ใชเปนกรอบในการวิเคราะห จากตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม ท่ีมีความสัมพันธและเกี่ยวของกับการวิจัยคร้ังนี้ ดังนี้

ภาพ 3.1 ตัวแบบท่ีใชเปนกรอบในการวเิคราะห

ศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองแบบย่ังยืน ในเชิงปริมาณ วัดจาก 1. ความสามารถทางดานเศรษฐกิจ 2. ความสามารถทางดานการผลิต ในเชิงคุณภาพ วัดจาก ความพึงพอใจตอปจจัยดานตางๆของเกษตรกร 1. ดานเทคโนโลยี 2. ดานเศรษฐกิจ 3. ดานทรัพยากรธรรมชาติ 4. ดานทรัพยากรมนุษย 5. ดานสังคมและการเมือง 6. ดานการสนับสนุนจากองคการภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

X1 : ปจจัยดานเทคโนโลยี

X2 : ปจจัยดานเศรษฐกิจ

X3 : ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ

X4 : ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย

X5 : ปจจัยดานสังคมและการเมือง

X6 : การสนับสนุนจากองคการภายนอก ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน

ตัวแปรอิสระ (X)

ตัวแปรตาม (Y)

Page 61: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

50

3.8 ความสัมพันธเชิงตรรกะระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม

X1 : ปจจัยดานเทคโนโลยี มีความสัมพันธโดยตรงกับกับศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน ซ่ึงไดแก การมีเคร่ืองจักรกลการเกษตรท่ีเพียงพอกับการทํากิจกรรมสอดคลองกับชวงเวลาและฤดูกาลเพาะปลูก โดยเฉพาะอยางยิ่งการเตรียมแปลงเพาะปลูก การมีความรูมีทักษะ ท่ีจะดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ การไดรับทราบขอมูลขาวสารที่จําเปนท้ังเชิงคุณภาพและปริมาณท้ังในดานการตลาดและการเกษตร การนําวิธีการผลิตแบบใหมมาใชเพื่อลดตนทุน เพื่อเพิ่มผลผลิต และทําใหมีสุขภาพอนามัยท่ีดี โดยปจจัยดังกลาวนี้ตองอาศัยการเรียนรูใหเกิดการยอมรับและนําไปปฏิบัติในท่ีสุด

X2 : ปจจัยดานเศรษฐกิจ มีความสัมพันธโดยตรงกับกับศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน ซ่ึงเกี่ยวของกับราคาผลผลิตท่ีจะสัมพันธกับคุณภาพของผลิตผลการเกษตรที่ผลิตออกมา การมีแหลงเงินทุนท่ีเพียงพอ เพื่อใหกิจกรรมตางๆ ดําเนินไปได อยางราบร่ืน และจะตองมีการสรางแหลงเงินทุนของชุมชนตนเองใหเกิดข้ึนมาใหได เพื่อลดการพึ่งพาจากภายนอก ตองมีการจัดการการตลาดท่ีดี เพื่อใหรูวาตองผลิตอะไรใหแกตลาดใด ราคาเปนเชนไร การปรับเปล่ียนการผลิตท่ีลดตนทุนใหมากท่ีสุด เพื่อใหมีกําไรเพิ่มข้ึน

X3 : ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ มีความสัมพันธโดยตรงกับกับศักยภาพในการพ่ึงพา

ตนเองแบบยั่งยืน ซ่ึงไดแกการมีท่ีดินเพียงพอ และท่ีดินมีความอุดมสมบูรณ การมีแหลงน้ําเพียงพอซ่ึงเกษตรกรในเขตชลประทานมีความไดเปรียบในเร่ืองน้ําอยูแลว การมีพันธุพืชท่ีมีคุณภาพดี ทุกส่ิงทุกอยางท่ีกลาวถึงนี้อาจกลาวไดวาเปนปจจัยหลักหรือหัวใจของการทําการเกษตรเลยท่ีเดียว ซ่ึงเปนส่ิงท่ีเกษตรกรตองไมละเลยการทํานุบํารุงรักษา และใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

X4 : ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย มีความสัมพันธโดยตรงกับกับศักยภาพในการพึ่งพา ตนเองแบบยั่งยืน แรงงานเปนส่ิงจําเปนในการทําการเกษตร ปญหาการขาดแคลนแรงงานทําใหเกษตรกรตองพึ่งพาเคร่ืองจักรกลทุนแรง แตเกษตรกรตองไมละเลยการพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถ มีความคิดอานที่จะนําพาตนเองและหมูคณะไปสูจุดมุงหมายรวมกันดวยการเสียสละเพื่อสวนรวม อีกท้ังการดํารงตนอยูในศีลธรรมอันดี มีความรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัวและสังคม มีความซ่ือสัตยสุจริต มีวินัย ส่ิงเหลานี้ลวนสัมพันธกับการท่ีเกษตรกรจะพัฒนาตนเองไปอยูในระดับท่ีสูงข้ึน

Page 62: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

51

X5 : ปจจัยดานสังคมและการเมือง มีความสัมพันธโดยตรงกับกับศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน ท้ังนี้เพราะในปจจุบันไมมีใครที่จะดํารงอยูไดโดยตนเอง ทุกคนตองมีความ สัมพันธพึ่งพากับคนอ่ืน การทํากิจกรรมใดๆ ในสังคมเกษตรกรหากไมมีการรวมกลุมกันอยางเขมแข็งก็ยากท่ีจะเอาชนะปญหาตางๆ ไดซ่ึงมีตัวอยางผูประสบความสําเร็จโดยการรวมกลุมใหเห็นมากมาย ความสามารถของกลุมจะข้ึนอยูกับความสามารถของผูนําหรือตัวแทนภายในกลุมท่ีจะทําใหการทํากิจกรรมภายในกลุมหรือการกับภายนอกสามารถดําเนินไปไดอยางตอเนื่อง อีกท้ังความพรอมท่ีจะสนองตอบตอนโยบายตางๆ ของภาครัฐและเอกชนท่ีจะกอใหเกิดประโยชนประโยชนตอพวกตน อีกท้ังการมีการสรางเครือขายกับกลุมหรือชุมชนอ่ืน ยอมเพิ่มความเขมแข็งใหเกิดมากยิ่งข้ึน

X6 : การสนับสนุนจากองคการภายนอกทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน มีความสัมพันธ

โดยตรงกับกับศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองแบบยั่งยืน กลุมหรือชุมชนที่มีการติดตอประสานงานกับหนวยงานตางๆ ไมวาภาครัฐหรือเอกชนมากกวา ยอมมีโอกาสที่จะทําใหเกิดการประสานหรือเห็นแนวทางที่จะไดรับการพัฒนาหรือการดูแลไดมากกวาผูท่ีไมไดมีความสัมพันธ เพราะภาครัฐและเอกชน จะสนับสนุน ความรู ผานโครงการฝกอบรมตางๆ อยูมากมาย ท่ีสําคัญคือการสนับสนุนขอมูลขาวสารดานการตลาด หรืออาจสนับสนุนปจจัยการผลิต เปนตน

Page 63: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บทที่ 4

ระเบียบวิธีวิจัย

4.1 วิธีการวิจัย การวิจัยเ ร่ือง “ศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบย่ังยืนของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน : กรณีศึกษา เกษตรกรในเขตพื้นท่ีชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย” คร้ังนี้ เปนการวิจัยแบบไมทดลอง (Non-Experimental Research) ซ่ึงจะเก็บรวบรวมขอมูลจากสภาพท่ีเปนอยูจริงจากประชากรท่ีศึกษา โดยใชรูปแบบการสัมภาษณเชิงลึก และการสํารวจสุมตัวอยาง(Survey

Sampling) ไมไดจัดกิจกรรม สรางกลุมควบคุมหรือกระตุนใหเกิดการเปล่ียนแปลงอะไร

4.2 ประชากร กลุมตัวอยางและการสุมตัวอยาง

4.2.1 ประชากร ประชากรที่ศึกษาในคร้ังนี้ แบงเปน 2 ประเภทคือ ประเภทท่ี 1 กลุมตัวอยางท่ีเปนเกษตรกร ในเขตพื้นท่ีชลประทานท่ีกรมชลประทาน

รับผิดชอบการบริหารจัดการน้ํา ในจังหวัดบุรีรัมย ประเภทที่ 2 กลุมตัวอยางท่ีมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนเกษตรกร ซ่ึงไดแก

ผูแทนของหนวยงานราชการ

4.2.2 กลุมตัวอยาง (Sampling) กลุมตัวอยางในการวจิัยคร้ังนี้ ผูวิจยัไดกําหนดกลุมตัวอยางเปน 2 กลุม คือ

Page 64: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

53

4.2.2.1 กลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถาม เปนเกษตรกรในเขตชลประทานในจังหวัดบุรีรัมยท่ีไดรับน้ําจากโครงการชลประทาน จํานวน 360 ราย

4.2.2.2 กลุมตัวอยางท่ีใหสัมภาษณเชิงลึก ประกอบดวย

1) ผูแทนของหนวยงานราชการ 1.1) โครงการชลประทานบุรีรัมย 1 ราย 1.2) โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาลํานางรอง 1 ราย 1.3) สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดบุรีรัมย 1 ราย 1.4) สํานักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย 2 ราย 1.5) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ 1 ราย 1.6) ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดบุรีรัมย 1 ราย

2) เกษตรกร 2.1) เกษตรกรทั่วไป 10 ราย 2.2) เกษตรกรแกนนํา 3 ราย

4.2.3 เทคนิคการเลือกกลุมตัวอยาง การเลือกกลุมตัวอยางในการวิจัยคร้ังนี้ คณะผูวจิัยไดดําเนินการเลือกกลุมตัวอยางโดยแบง

ตามวิธีการเกบ็ขอมูลเปน 2 กลุม คือ

1) กลุมตัวอยางท่ีตอบแบบสอบถาม เปนเกษตรกรทั้งหมด ใชชนิดการสุมตัวอยางโดยไมอาศัยความนาจะเปน (Non-probability Sampling) แบบโควตา (Quota

Sampling) โดยกําหนดจํานวนตัวอยาง 360 ราย ใหกระจายอยูในเขตพ้ืนท่ีสงน้ําของโครงการชลประทาน 16 แหงท่ีมีการบริหารจัดการน้ําแลว โดยกําหนดจํานวนตัวอยางแตละแหงเปนสัดสวนตามขนาดพ้ืนท่ี

2) กลุมตัวอยางท่ีใหสัมภาษณ ใชชนิดการสุมตัวอยางโดยไมอาศัยความนาจะเปน (Non-probability Sampling) ในสวนของผูแทนของหนวยงานราชการจะสัมภาษณผูท่ีรูขอมูลของหนวยงานเชิงนโยบายในสวนท่ีเกี่ยวของสัมพันธกับเกษตรกร โดยไมเจาะจงตัววาเปนหัวหนาหนวยงานหรือผูใด และในกลุมตัวอยางท่ีเปนเกษตรกรท่ัวไปและเกษตรกรแกนนําก็สุมตัวอยางลักษณะเดียวกันกับกรณีหนวยงานราชการ

Page 65: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

54

4.3 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังนี้ประกอบดวย 2 สวน คือ 4.3.1 แบบสอบถาม เปนส่ิงท่ีผูวิจัยไดสรางข้ึนเพื่อเก็บขอมูลความพึงพอใจของเกษตรกร

ดังแสดงไวใน ภาคผนวก ก โดยแบงเปน 4 สวนคือ สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม โดยเปนคําถามลักษณะคําถาม

แบบปลายปด (Closed - ended questions) จํานวน 3 ขอ เปนคําถามเก่ียวกับ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และเปนคําถามแบบปลายเปด (Open - ended questions) เกี่ยวกับจํานวนสมาชิกในครอบครัว

สวนท่ี 2 ขอมูลท่ัวไปของปจจัยท่ีเกีย่วของกับการประกอบอาชีพการเกษตร โดย

คําถามมีท้ังคําถามปลายปดและคําถามปลายเปดผสมกัน แบงออกเปน 5 สวน ไดแก 1. ปจจัยดานเทคโนโลยี ประกอบดวยคําถาม 4 ขอ 2. ปจจัยดานเศรษฐกิจ ประกอบดวยคําถาม 6 ขอ 3. ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบดวยคําถาม 4 ขอ 4. ปจจัยดานทรัพยากรมนษุย ประกอบดวยคําถาม 2 ขอ 5. ปจจัยดานสังคมและการเมือง ประกอบดวยคําถาม 1 ขอ

สวนท่ี 3 ศักยภาพในการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน คําถามสวนนี้ปนการวัดระดับความพึงพอใจท่ีมีตอศักยภาพในการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน โดยใชมาตรวัดลิเกิรต (Likert Scale) ดวยการแบงการวัดความพึงพอใจออกเปน 5 ระดับ คือ

ความพึงพอใจ มากท่ีสุด (ใหคะแนน =5) ความพึงพอใจมาก (ใหคะแนน =4 )

ความพึงพอใจปานกลาง (ใหคะแนน =3 ) ความพึงพอใจนอย (ใหคะแนน =2 ) ความพึงพอใจนอยท่ีสุด (ใหคะแนน =1 )

คําถามประกอบดวย 6 สวน คือ

Page 66: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

55

1. ปจจัยดานเทคโนโลยี ประกอบดวยคําถาม 4 ขอ 2. ปจจัยดานเศรษฐกิจ ประกอบดวยคําถาม 3 ขอ 3. ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบดวยคําถาม 3 ขอ 4. ปจจัยดานทรัพยากรมนษุย ประกอบดวยคําถาม 1 ขอ 5. ปจจัยดานสังคมและการเมือง ประกอบดวยคําถาม 3 ขอ 6. ปจจัยการสนับสนุนและความสัมพันธกับองคการภายนอกท้ังภาครัฐและ

ภาคเอกชน ประกอบดวยคําถาม 2 ขอ สวนท่ี 4 ขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับการท่ีจะทําใหเกิดการพัฒนาเพื่อพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนของเกษตรกร โดยใหผูตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นไดโดยอิสระ

4.3.2 การสัมภาษณเชงิลึก เปนการสัมภาษณเกษตรกรท่ัวไปและเกษตรกรแกนนํา และสัมภาษณตัวแทนสวนราชการท่ีเกี่ยวของ ลักษณะการสัมภาษณไมกาํหนดรูปแบบตายตัว แตเปนการถามเพ่ือใหไดคําตอบท่ีเกี่ยวของกับตัวแปรอิสระ และตัวแปรตามท่ีศึกษา

4.4 การเก็บรวบรวมขอมูล การแปลผล และการวิเคราะหขอมูล 4.4.1 การตอบแบบสอบถาม ในการวจิยัคร้ังนี้ ผูวจิัยไดเก็บรวบรวมขอมูลตามข้ันตอนตอไปนี ้ 4.4.1.1 ทําการสุมตัวอยางจากเกษตรกรในเขตชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย โดยใชชนิดการสุมตัวอยางโดยไมอาศัยความนาจะเปน (Non-probability Sampling) แบบโควตา (Quota Sampling) และใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถาม แตเพราะวากลุมตัวอยางกระจายอยูเกือบทุกอําเภอในจังหวัดบุรีรัมย คณะผูวิจัยจึงสามารถดําเนินการเก็บขอมูลแบบสอบถามเองเพียงสวนหน่ึง ท่ีเหลือไดรับการสนับสนุนจากโครงการชลประทานบุรีรัมย และโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาลํานางรองใหเจาหนาท่ีซ่ึงปฏิบัติงานในพื้นท่ีตางๆ เปนผูเก็บขอมูลให โดยคณะผูวิจัยเปนผูแนะนําวิธีการเก็บขอมูลให 4.4.1.2 คณะผูวิจัยตรวจสอบความครบถวนและความถูกตองของขอมูลในแบบสอบถาม 4.4.1.3 ผูวิจัยนําแบบสอบถามมาแปลผลขอมูลท่ีได เปนรหัสตามคูมือลงรหัสท่ีจัดเตรียมไว บันทึกขอมูลดวยคอมพิวเตอร

Page 67: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

56

4.4.1.4 วิเคราะหขอมูล 4.4.2 การสัมภาษณ 4.4.2.1 คณะผูวิจัยทําการสุมตัวอยางใชชนิดการสุมตัวอยางโดยไมอาศัยความนาจะเปน (Non-probability Sampling) จากกลุมตัวอยางท่ีมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนเกษตรกร จากกลุมตัวอยางท่ีไดกําหนดเปนกรอบเบ้ืองตนเอาไว แตไมเจาะจงตัวผูถูกสัมภาษณวาจะเปนใคร แลวขอสัมภาษณแบบเจาะลึกผูซ่ึงรูขอมูลท่ีเกี่ยวของ ผูวิจัยนําขอมูลจากการสัมภาษณมาเรียบเรียง

4.4.2.2 นําขอมูลไปใชประกอบการวิเคราะหรวมกับขอมูลท่ีไดจากแบบสอบถามขางตน

4.5 การจัดทําขอมูล เกณฑท่ีใชในการแปลผล และสถิติท่ีใชในการวิเคราะห 4.5.1 การจัดทําขอมูล 4.5.1.1 นําแบบสอบถามที่ไดรับกลับคืนมาท้ังหมดตรวจสอบความสมบูรณถูกตองของขอมูล 4.5.1.2 นําแบบสอบถามท่ีตรวจสอบสมบูรณแลว สวนท่ี 1 สวนท่ี 2 มารวบรวมไวในคอมพิวเตอร สวนแบบสอบถามสวนท่ี 3 คําถามสวนนี้ปนการวัดระดับความพึงพอใจท่ีมีตอศักยภาพในการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน ใหคะแนนดังนี้

ความพึงพอใจ มากท่ีสุด ใหคะแนน = 5 ความพึงพอใจมาก ใหคะแนน = 4 ความพึงพอใจปานกลาง ใหคะแนน = 3 ความพึงพอใจนอย ใหคะแนน = 2 ความพึงพอใจนอยท่ีสุด ใหคะแนน = 1

Page 68: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

57

4.5.1.3 นําขอมูลท่ีไดไปวิเคราะหดวยคอมพิวเตอร เพื่อวิเคราะหหาคาสถิติ ตามจุดมุงหมายท่ีกําหนดไว 4.5.2 เกณฑท่ีใชในการแปลผลคาเฉล่ียตัวแปรอิสระ (X) คณะผูวิจัยไดกําหนดความหมายของระดับคะแนนเฉล่ีย ระดับความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีมีตอปจจัยดานตางๆ ดังนี้ คาเฉล่ีย

1.00 - 1.49 หมายถึง พึงพอใจนอยท่ีสุด 1.50 - 2.49 หมายถึง พึงพอใจนอย 2.50 - 3.49 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 3.50 - 4.49 หมายถึง พึงพอใจมาก 4.50 - 5.00 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด

4.5.3 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลในการศึกษาคร้ังนี้ ผูวิจัยไดใชสถิติ ดังนี ้

4.5.3.1 สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เพื่อจัดเปนหมวดหมูเพื่อใหทราบถึงลักษณะขอมูลท่ัวไปของเกษตรกรผูตอบแบบสอบถาม , ขอมูลท่ัวไปของปจจัยท่ีเก่ียวของกับการประกอบอาชีพการเกษตร ไดแก 1) คารอยละ (Percentage) ใชในการรายงานขอมูลท่ัวไปท่ีเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของเกษตรกร , ขอมูลท่ัวไปของปจจัยท่ีเก่ียวของกับการประกอบอาชีพการเกษตร 2) คาเฉล่ีย (Mean) และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชรายงานผลคาเฉล่ีย และคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของเกษตรกรในดานปจจัยท่ีเก่ียวของกับการประกอบอาชีพการเกษตร รายขอและโดยรวม

Page 69: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

58

4.6 ตัวชี้วัดของตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม

ตาราง 4.1 ตารางแสดงตัวชีวั้ดของตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม

ตัวแปรอิสระ ตัวชี้วัด X1 : ปจจัยดานเทคโนโลย ี 1. เคร่ืองทุนแรง เชน เคร่ืองจักรกล สัตวเล้ียงใชงาน

2. ขอมูลขาวสาร 3. การนําการผลิตแบบใหมมาใช

X2 : ปจจัยดานเศรษฐกจิ 1. ราคาผลผลิต 2. แหลงเงินทุน เงินชวยเหลือ เงินอุดหนนุ 3. การจัดต้ังกลุมทางเศรษฐกิจ เพื่อการออม 4. การจัดการดานการตลาด 5. รายไดและการการเพ่ิมพนูรายได

X3 : ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ 1. ขนาดของที่ดิน 2. คุณภาพของดิน 3. มีแหลงน้ําเพียงพอ 4. พันธุพืชคุณภาพด ี

X4 : ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย 1. จํานวนแรงงาน 2. ความรูดานตางๆ ทักษะในการผลิต 3. ความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย ความมีวนิัย 4. ความเสียสละเพ่ือสวนรวม

X5 : ปจจัยดานสังคมและการเมือง 1. การจัดต้ังกลุมทางสังคมและวัฒนธรรม เชน กลุม สตรี กลุมเยาวชน กลุมศาสนา กลุมพัฒนา 2. การจัดต้ังกลุมทางการเมือง เชน คณะกรรมการ

หมูบาน ฯลฯ 3. การพัฒนาเครือขาย 4. นโยบายของรัฐท่ีเกี่ยวของในดานตางๆ

X6 : การสนบัสนุนจากองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน

1. การสนับสนุนฝกอบรมความรูตางๆ 2. การสนับสนุนดานเงินทุน 3. การสนับสนุนขอมูลขาวสารดานการตลาด

Page 70: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

59

4.7 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

4.7.1 ตัวแปร X1 : ปจจัยดานเทคโนโลย ี หมายถึง เคร่ืองทุนแรงพวกเคร่ืองจักรกลการเกษตร เคร่ืองมือเครื่องใช และความรูขอมูลขาวสารดานการเกษตรท่ีจําเปนแกเกษตรกร ไมวาจะเปนหนังสือ คูมือ เอกสาร และหนังสือราชการจากหนวยงานราชการ 4.7.2 ตัวแปร X2 : ปจจัยดานเศรษฐกิจ หมายถึง การมแีหลงเงินทุนท่ีใชเพื่อทําการเกษตร รายไดจากการขายผลผลิตและการเพิ่มรายไดอ่ืนๆ ราคาพืชผล ตลอดจนการมีการออมท่ีเหมาะสม

ตัวแปรตาม ตัวชี้วัด Y1 : ศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนเชิงปริมาณ

1.ขอมูลทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร 2.ขอมูลทางดานการผลิตของเกษตรกร

Y2 : ศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนเชิงคุณภาพ

1. ความพึงพอใจตอปจจัยดานเทคโนโลย ี2. ความพึงพอใจตอปจจัยดานเศรษฐกิจ 3. ความพึงพอใจตอปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ 4. ความพึงพอใจตอปจจัยดานทรัพยากรมนุษย 5. ความพึงพอใจตอปจจัยดานสังคมและการเมือง 6.ความพึงพอใจตอการสนับสนุนจากองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน

Page 71: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

60

4.7.3 ตัวแปร X3 : ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาต ิ หมายถึง การมีปจจัยพื้นฐานท่ีจําเปนแกการทําการเกษตรเหมาะสมเพียงพอ อันไดแก ท่ีดิน แหลงน้ํา และพันธุพืชพันธุสัตว 4.7.4 ตัวแปร X4 : ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย หมายถึง ตัวเกษตรกรเอง มีความสามารถในการเรียนรูการพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถในการทําการเกษตร 4.7.5 ตัวแปร X5 : ปจจัยดานสังคมและการเมือง หมายถึง การรวมมือรวมแรงรวมใจกันของเกษตรกร การรวมกลุมเพื่อทํากิจกรรมตางๆ รวมกัน การมีสวนรวมทางสังคม ตลอดจนการสนองตอบตอนโยบายของรัฐท่ีมีผลกระทบตอเกษตรกร 4.7.6 ตัวแปร X6 : ปจจัยดานการสนับสนนุจากองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน หมายถึง การติดตอประสานงาน การไดรับความชวยเหลือการสนับสนุนและสงเสริมในดานตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับการเกษตร แกเกษตรกรจากหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน 4.7.8 ตัวแปร Y ศักยภาพในการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน หมายถึง แนวโนมหรือความเปนไปไดท่ีท่ีจะทําใหใหเกษตรกรมีความเปนอยูท่ีดี หลุดพนจากภาวะความยากจน โดยสามารถพัฒนาปจจัยดานตางๆ จนพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน ประกอบดวย 4.7.8.1 ผลลัพธเชิงปริมาณของปจจัยท่ีเกี่ยวของ เปนเปาหมายเชิงตัวเลขของตัวช้ีวัดของตัวแปรอิสระ ท่ีวัดระดับจาก จํานวนเคร่ืองจักรกลเคร่ืองมือเคร่ืองใช จํานวนท่ีดินสําหรับทํากิน คุณภาพของพันธุขาว เร่ืองของรายได เงินทุน คาใชจาย จํานวนหนี้สิน จํานวนแรงงานท่ีมี โอกาสการไดรับการเรียนรูฝกอบรม การมีแหลงเรียนรูท่ีจะเปนแบบอยางได ระดับการรวมกลุมและการรวมมือในการทํากิจกรรมตางๆ ระดับการประสานงานกับองคกรภายนอก 4.7.8.2 ผลลัพธเชิงคุณภาพของปจจัยท่ีเกี่ยวของ เปนเปาหมายในเชิงทัศนคติท่ีเกษตรกรมีตอตนเอง ส่ิงแวดลอมท่ีอยูรอบขาง โดยวัดความพึงพอใจท่ีเกษตรกรมีตอปจจัยตางๆ ท่ีจะสงเสริมหรือสนับสนุนการพึ่งพาตนเองอยาง

Page 72: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

61

ยั่งยืนของเกษตรกร ซ่ึงไดแก ความพึงพอใจตอปจจัยดานเทคโนโลยี ดานเศรษฐกิจ ดานทรัพยากรธรรมชาติ ดานทรัพยากรมนุษย(การพัฒนาตัวเกษตรกรเอง) ดานสังคมและการเมือง ตลอดจนการติดตอประสานงานกับองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน

Page 73: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บทที่ 5

ผลการศึกษา

จากการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางท่ีใชเคร่ืองมือ 2 ประเภทคือ

1. การตอบแบบสอบถาม กลุมตัวอยางเปนเกษตรในเขตพ้ืนท่ีชลประทานจังหวดับุรีรัมย เพื่อนําผลขอมูลท่ีไดจากตัวแปรอิสระ (X) มาวิเคราะหรวบรวมขอมูลดานตางๆ ท่ีคณะผูวจิัยเห็นวายังรับไมครบถวน โดยการรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม จากการวิเคราะหตัวแปรอิสระ(X) และตัวแปรตาม(Y) ของผูวิจัย ทําใหไดผลการศึกษา ซ่ึงจะสรุปสาระสําคัญ ดังนี ้

1) ผลของขอมูลท่ีไดจากตัวแปรอิสระ(X) 1.1) ผลการวิเคราะหปจจยัดานเทคโนโลย ี 1.2) ผลการวิเคราะหปจจยัดานเศรษฐกจิ 1.3) ผลการวิเคราะหปจจยัดานทรัพยากรธรรมชาติ 1.4) ผลการวิเคราะหปจจยัดานทรัพยากรมนุษย 1.5) ผลการวิเคราะหปจจยัดานสังคม

1.6) การสนับสนุนจากองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชน 2) ผลของขอมูลท่ีไดจากตัวแปรตาม (Y)

2.1) การวัดผลลัพธศักยภาพการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนเชิงปริมาณ 2.2) การวัดผลลัพธศักยภาพการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนเชิงคุณภาพ

2. การสัมภาษณเชิงลึก โดยสัมภาษณกลุมตัวอยางท่ีเปน เกษตรกรและเกษตรกรแกนนําในเขตชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย ผูบริหารหรือผูแทนของหนวยงานภาครัฐท่ีดําเนินงานเกี่ยวกับเกษตรกร ในการศึกษาจะนําขอมูลท่ีไดจากตัวอยางท้ังหมดมาสรุปรวบรวมโดยใชกรอบการวิจัยเปนแนวทางสรุปท้ังนี้เพื่อนําขอมูลในเชิงปริมาณจากผลการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของเกษตรกร เชน คาลงทุน รายไดและผลกําไร มาประกอบการวิเคราะห ตัวแปรตาม (Y) เชิงปริมาณ

Page 74: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

63

5.1 การศึกษาและประเมินผลการศึกษาปจจัยตัวแปรอิสระ (X) ท้ังเชิงปริมาณ และเชงิคุณภาพ

การเก็บขอมูลจากแบบสอบถามโดยมีกลุมตัวอยางจํานวน 360 ตัวอยาง เม่ือพิจารณา

ลักษณะขอมูลแลว สามารถจําแนกการประเมินผลการศึกษาท่ีไดจากการตอบแบบสอบถามของเกษตรกรในพ้ืนท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมยไดดังนี้

5.1.1 ผลการศึกษาลักษณะทางประชากร (ครอบครัว) โดยท่ัวไปของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยู

ในพื้นท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย

5.1.1.1 เพศและอายุของเกษตรกร ผลของการวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากการรวบรวมพบวา ผูท่ีตอบแบบสอบถามสวน

ใหญเปนผูชายรอยละ 73.06 หมายความวาลักษณะของครอบครัวในพื้นท่ีนี้จะใหผูชายเปนผูนําครอบครัวในการจัดการเร่ืองตางๆ (เชนเร่ืองการตอบแบบสอบถาม) เม่ือพิจารณาขอมูลในเร่ืองอายุของเกษตรกร จะอยูในชวง 46–55 ป มากที่สุด คิดเปนรอยละ 38.33 รองลงมาคือชวงอายุมากกวา 55 ปข้ึนไป คิดเปนรอยละ 31.1 และถัดมาอยูในชวงอายุ 36–45 ป, 25–35 ป และต่ํากวา 25 ป คิดเปนรอยละ 19.17, 9.72 และ 1.67 ตามลําดับ ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.1

5.1.1.2 การศึกษาของเกษตรกร สวนผลการศึกษาในเร่ืองของวุฒิการศึกษาของกลุมตัวอยางจะเห็นวา มีการศึกษา

ในระดับประถมศึกษาคิดเปนรอยละ 81.94, มัธยมศึกษาคิดเปนรอยละ 12.22 ระดับ ปวช. ปวส. หรือเทียบเทาคิดเปน รอยละ 2.78 และปริญญาตรีคิดเปนรอยละ 3.06 ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.1

5.1.1.3 สมาชิกท้ังหมดของครอบครัวและสมาชิกท่ีทําการเกษตร จํานวนสมาชิกในแตละครอบครัว มีครอบครัวละ 4 คนคิดเปนรอยละ 31.67

รองลงมาครอบครัวละ 5 คน, 1-3 คน และ มากกวา 6 คน คิดเปนรอยละ 24.44, 18.36, 14.44 และ 11.11 ตามลําดับ สวนจํานวนสมาชิกท่ีทําการเกษตรในแตละครอบครัวนั้น มีครอบครัวละ 1-2 คน มากท่ีสุดคิดเปนรอยละ 67.50 รองลงมา ครอบครัวละ 3 คน, 4 คน และมากกวา 4 คน คิดเปนรอยละ 20.56, 9.44 และ 2.50 ตามลําดับ ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.1

5.1.1.4 การวิเคราะหผลการศึกษาลักษณะทางประชากรโดยท่ัวไปของเกษตรกร ผลการวิเคราะหและประเมินจากขอมูลสรุปที่ได เกษตรกรสวนใหญเปนผูสูงอายุ

และมีการศึกษาประถมศึกษาเปนสวนใหญ ซ่ึงสามารถประเมินไดวาเปนปจจัยท่ีเปนอุปสรรคใน

Page 75: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

64

การเรียนรูและการใฝรูของเกษตรกร ดังนั้นการพัฒนาทางดานการเกษตรอาจไมสามารถกระทําตามเปาหมายขององคกรภาครัฐได และสามารถทํานายไดวาในอนาคตขางหนาจํานวนเกษตรกรอาจลดลงมากกวารอยละ 50 โดยหากประเมินลักษณะครอบครัวจากขอมูลจะเห็นวาสวนใหญเปนครอบครัวเดี่ยวและมีแตพอและแมเทานั้นท่ีทําการเกษตร สมาชิกในครอบครัวอาจอยูในวัยเรียน หรืออาจไปรับจางในเมือง ซ่ึงปญหาแรงงานนาจะเปนปจจัยปญหาในการพัฒนาเกษตรกรรมในอนาคต ตารางท่ี 5.1.1 ลักษณะทางประชากรโดยท่ัวไปของเกษตรกรพื้นท่ีชลประทาน

ลักษณะทางประชากรโดยท่ัวไปของเกษตรกรพื้นท่ีชลประทาน (ตอบแบบสอบถาม N=360)

จํานวน รอยละ

เพศ

ชาย 263 73.06

หญิง 97 26.94

รวม 360 100.00

อายุ

ตํ่ากวา 25 ป 6 1.67

25 - 35 ป 35 9.72

36 - 45 ป 69 19.17

46 - 55 ป 138 38.33

มากกวา 55 ป 112 31.11

รวม 360 100.00

Page 76: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

65

ตารางท่ี 5.1.1 ลักษณะทางประชากรโดยท่ัวไปของเกษตรกรพื้นท่ีชลประทาน (ตอ)

ลักษณะทางประชากรโดยท่ัวไปของเกษตรกรพื้นท่ีชลประทาน (ตอบแบบสอบถาม N=360)

จํานวน รอยละ

การศึกษา

ประถมศึกษา 295 81.94

มัธยมศึกษา 44 12.22

ปวช. ปวส. หรือเทียบเทา 10 2.78

ปริญญาตรี 11 3.06

รวม 360 100.00

สมาชิกในครอบครัว

จํานวน 1- 3 คน 66 18.36

จํานวน 4 คน 114 31.67

จํานวน 5 คน 88 24.44

จํานวน 6 คน 52 14.44

มากกวา 6 คน 40 11.11

รวม 360 100.00

สมาชิกท่ีทําเกษตรแตละครอบครัว จํานวน 1- 2 คน 243 67.50 จํานวน 3 คน 74 20.56

จํานวน 4 คน 34 9.44

มากกวา 4 คน 9 2.50

รวม 360 100.00

Page 77: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

66

5.1.2 ผลการศึกษาลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานเทคโนโลยีของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยูในพื้นท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย 5.1.2.1 ผลการศึกษาพบวาเกษตรกรมีการเล้ียงสัตวคิดเปนรอยละ 48.33 ซ่ึงแบงเปนการเล้ียงโครอยละ 41.39 โดยเฉล่ีย 6.03 ตัวตอครอบครัว และ กระบือรอยละ 9.17 โดยเฉล่ีย 5.03 ตัวตอครอบครัว แตเกษตรกรไมไดเล้ียงสัตวไวเพื่อเปนเคร่ืองมือในการทําเกษตร ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.2 5.1.2.2 การมีเคร่ืองจักรท่ีใชในการเกษตรผลการศึกษาพบวาเกษตรกรมีเคร่ืองจักรเพื่อทําการเกษตรรอยละ 62.50 โดยแบงเปนรถไถเดินตามรอยละ 58.61 มีรถแทรกเตอรรอยละ 0.83 รถอีแตนรอยละ 3.61 รถยนตบรรทุกรอยละ 6.39 และเคร่ืองสูบน้ํารอยละ 19.17 ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.2 5.1.2.3 สวนการศึกษาถึงการเรียนรูของเกษตรกรในเร่ืองความรูความเขาใจในวิธีการทําการเกษตรแบบใหม เชนการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม และการผลิตแบบเกษตรอินทรีย ผลการศึกษาพบวา เกษตรกรมีความเขาใจในเร่ืองการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหมคิดเปนรอยละ 85.28 และการผลิตแบบเกษตรอินทรียคิดเปนรอยละ 83.61 ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.2 5.2.2.4 วิเคราะหไดวาเกษตรกรสวนใหญมีความพอใจท่ีจะใชเคร่ืองมือเคร่ืองจักรการทําเกษตรเปนเครื่องทุนแรงแทนแรงงานสัตว สนใจเรียนรูและเขาใจวิธีการทําเกษตรแนวทางใหมๆ และประเมินไดวาเกษตรกรยังเล้ียงสัตวเพื่อเปนอาชีพเสริมถึงรอยละ 48.33 ตารางท่ี 5.1.2 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานเทคโนโลยีของเกษตรกร ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานเทคโนโลยีของเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

การเล้ียงสัตวเพื่อการเกษตร

มีสัตวเล้ียง 174 48.33

ไมมีสัตวเล้ียง 186 51.67 รวม 360 100.00

จํานวนตัวอยางเล้ียงโค 149 41.39 จํานวนโคท้ังหมด (ตัว) 898 เฉล่ียตอครอบครัว 6.03

Page 78: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

67

ตารางท่ี 5.1.2 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานเทคโนโลยีของเกษตรกร(ตอ)

ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานเทคโนโลยีของเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

การเล้ียงสัตวเพื่อการเกษตร (ตอ) จํานวนตัวอยางเล้ียงกระบือ 33 9.17 จํานวนกระบือท้ังหมด (ตัว) 166 เฉล่ียตอครอบครัว (ตัว) 5.03

เคร่ืองจักรกลใชงานเพื่อการเกษตร มีเคร่ืองจักร 225 62.50 ไมมี 135 37.50 รวม 360 100.00

มีรถไถเดินตาม 211 58.61

มีรถแทรกเตอร 3 0.83

มีรถอีแตน 13 3.61

มีรถยนตบรรทุก 23 6.39

มีเคร่ืองสูบน้ํา 69 19.17 หมายเหตุ : เกษตรกรรายเดียวกันอาจมีเครื่องจักรกลการเกษตรหลายชนิด

การเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม รูและเขาใจ 307 85.28 ไมรูไมเขาใจ 53 14.72 รวม 360 100.00 การผลิตแบบเกษตรอินทรีย รูและเขาใจ 301 83.61 ไมรูไมเขาใจ 59 16.39 รวม 360 100.00

Page 79: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

68

5.1.3 ผลการศึกษาลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานเศรษฐกิจของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยูในพื้นท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย 5.1.3.1 ผลการศึกษาพบวา มีเกษตรกรเพียงรอยละ 33.61 เทานั้นท่ีใชเงินออมของครอบครัวเปนทุนในการทําการเกษตร ท่ีเหลือรอยละ 83.89 ใชเงินทุนจากการกูยืม โดยกูยืมจากนอกระบบ (นายทุน) คิดเปนรอยละ 23.33 และมีเกษตรกรสวนใหญกูเงินจากในระบบมาใชคิดเปนรอยละ 60.56 5.1.3.2 จากการศึกษาพบวาแหลงเงินกูหลักๆ ท่ีเกษตรกรใชบริการ คือ (1) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ (ธ.ก.ส.) (2) สหกรณเพื่อการเกษตร และ (3) กองทุนหมูบาน

5.1.3.3 วัตถุประสงคในการที่เกษตรกรกูเงินนั้น เพื่อนําไปใชเฉพาะในการทําเกษตรเพียงอยางเดียวคิดเปนรอยละ 31.38 และเพื่อการเกษตรรวมกับกิจกรรมอ่ืนๆคิดเปนรอยละ 68.62 โดยท่ีกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีกลาวถึง สวนใหญเปนการนําไปใชในการครองชีพในครัวเรือนถึงรอยละ 63.64 และเพื่อการศึกษาบุตรรอยละ 20.32 5.1.3.4 การศึกษาเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง พบวาเกษตรกรมีความรูความเขาใจการดําเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงคิดเปนรอยละ 86.11 และไมมีความรูความเขาใจการดําเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงคิดเปนรอยละ 13.89 5.1.3.5 จากขอมูลท่ีสรุป สามารถวิเคราะหไดวาเกษตรกรสวนใหญยังไมสามารถพึ่งพาเงินทุนของตนเองได ยังตองพึ่งพาแหลงเงินกูจากภายนอก และแมวาเกษตรกรสวนใหญจะมีความเขาใจตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แตนาจะยังไมไดนํามาปฏิบัติอยางจริงจังจึงไมมีเงินเหลือเก็บสะสมเปนทุน และอาชีพการทํานาจะมีรายไดปละคร้ังเม่ือเกษตรกรขายขาวได จึงตองพึ่งพาเงินเงินทุนจากภายนอกเปนคาใชจายดังกลาว ตารางท่ี 5.1.3 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานเศรษฐกิจของเกษตรกร ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานเศรษฐกิจของเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

เงินทุนท่ีใชทําการเกษตร เงินออมของตนเอง 121 33.61 กูยืมนอกระบบจากนายทุน 84 23.33 กูยืมในระบบ 218 60.56 รวม 360 100.00

Page 80: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

69

ตารางท่ี 5.1.3 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานเศรษฐกิจของเกษตรกร (ตอ)

ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานเศรษฐกิจของเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

แหลงเงินกูในระบบ ธ.ก.ส. 104 47.71 สหกรณเพื่อการเกษตร 79 36.24 กองทุนหมูบาน 62 28.44 อ่ืนๆ 7 3.21 รวม 218 100.00

การใชเงินกูเพือ่การเกษตรและอื่นๆ เพื่อการเกษตรอยางเดยีว 75 31.38 เพื่อการเกษตรและอยางอ่ืน 164 68.62 รวม 239 100.00

กิจกรรมอ่ืนๆใชเงินกูนอกจากการเกษตร ใชในครัวเรือน 119 63.64 การศึกษาบุตร 38 20.32 การศึกษาบุตร, ใชในครัวเรือน 7 3.74 เล้ียงสัตว 7 3.74 อุปกรณการเกษตร 6 3.21 สรางท่ีอยูอาศัย 3 1.60 อ่ืนๆ 7 3.74 รวม 187 100.00

การดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ไมรูไมเขาใจ 50 13.89 รูและเขาใจ 310 86.11 รวม 360 100.00

Page 81: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

70

5.1.4 ผลการศึกษาลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานทรัพยากรธรรมชาติของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยูในพื้นท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย

5.1.4.1 ผลการศึกษาพบวาเกษตรกรมีท่ีดินเปนของตนเองคิดเปนรอยละ 90.0 และไมมีท่ีดินคิดเปนรอยละ 10.0 และมีการเชาท่ีดินเพื่อทําเกษตรคิดเปนรอยละ 28.33 (เกษตรกรที่มีท่ีดินแลวยังเชาท่ีเพิ่ม) ท่ีดินรวมเพ่ือใชในการทําการเกษตรของแตละครอบครัว ท่ีมีจํานวนมากท่ีสุดคือ 11- 20 ไร คิดเปนรอยละ 34.17 รองลงมาคือ 6-10ไร, 0-5 ไร, 20-30 ไร และมากกวา 30 ไร คิดเปนรอยละ 24.17, 17.50, 15.56 และ 8.61 ตามลําดับ ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.4

5.1.4.2 ผลการศึกษาพบวาเกษตรกรสวนใหญไมเคยตรวจสอบคุณภาพของดินท่ีใชในการเพาะปลูกวามีความอุดมสมบูรณระดับใด คิดเปนรอยละ 86.9 จะมีเกษตรกรที่เคยตรวจสอบคุณภาพของดินคิดเปนรอยละ 11.9 ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.4

5.1.4.3 การศึกษาเกี่ยวกับการท่ีเกษตรกรเลือกพันธุขาวเพ่ือปลูกในพื้นท่ีเกษตร พบวาเกษตรกรสวนใหญเลือกปลูกขาวหอมมะลิคิดเปนรอยละ 72.50 และพันธุอ่ืนๆคิดเปนรอยละ 27.50 สวนใหญพอใจในคุณภาพของพันธุขาวท่ีใชปลูก ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.4

5.1.4.4 การวิเคราะหจากผลสรุปขอมูลเกษตรกรสวนใหญมีท่ีดินทํากินเปนของตนเองและมีศักยภาพพอท่ีจะทําการผลิต สวนใหญไมรูวาท่ีดินของตนมีความอุดมสมบูรณเพียงใดควรท่ีจะมีการตรวจสอบคุณภาพดินใหมากขึ้นและมีความถ่ีท่ีเหมาะสมเพื่อใหเกษตรกรสามารถปรับปรุงดินใหมีคุณภาพอยูตลอดเวลา และคุณภาพของดินยอมเกี่ยวของสัมพันธกับการใชปุยดวย สวนการเลือกพันธุขาวแมวาเกษตรกรสวนใหญมีการปลูกขาวหอมมะลิ แตมีบางสวนท่ียังมีการปลูกขาวสายพันธุอ่ืนๆ ส่ิงท่ีควรพิจารณาคือการเกิดการปนกันของขาวท่ีจะทําใหคุณภาพขาวหอมมะลิเส่ือมไป

Page 82: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

71

ตารางท่ี 5.1.4 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานทรัพยากรธรรมชาติของเกษตรกร

ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานทรัพยากรธรรมชาตขิองเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

ท่ีดินทําการเกษตร

มีท่ีดินเปนของตนเอง 324 90.00

ไมมีท่ีดินเปนของตนเอง 36 10.00

การเชาพื้นท่ีเกษตร 102 28.33

รวม 360 100.00

จํานวนท่ีดิน

นอยกวา 5 ไร 63 17.50

6 - 10 ไร 87 24.17

11 - 20 ไร 123 34.17

20 - 30 ไร 56 15.56

มากกวา 30 ไร 31 8.61

รวม 360 100.00

จํานวนท่ีดินท่ีเหมาะสม (ความเห็นของผูตอบแบบสอบถาม) นอยกวา 20 ไร 253 70.28 21 – 40 ไร 74 20.56 41 – 60 ไร 28 7.78 มากกวา 60 ไร 5 1.39 รวม 360 100.00

Page 83: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

72

ตารางท่ี 5.1.4 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานทรัพยากรธรรมชาติของเกษตรกร (ตอ)

ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดานทรัพยากรธรรมชาตขิองเกษตรกร(N=360)

จํานวน รอยละ

การตรวจความอุดมสมบูรณของดิน ไมเคย 317 88.06 เคย 43 11.94 รวม 360 100.00

คุณภาพของพนัธุขาวท่ีปลูก ดี 311 86.39 ไมด ี 49 13.61 รวม 360 100.00

พันธุขาวท่ีปลูก หอมมะลิ 261 72.50 พันธุอ่ืนๆ 99 27.50 รวม 360 100.00

5.1.5 ผลการศึกษาลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับปจจัยดานทรัพยากรมนุษยของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยูในพื้นท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย

5.1.5.1 ผลการศึกษาขอมูลปจจัยดานทรัพยากรมนุษย โดยที่แรงงานท่ีทําการเกษตรนั้นมีท้ังทําเองและมีการจางงาน โดยท่ีทําเองท้ังหมดคิดเปนรอยละ 25.0 ทําเองและจางคนอ่ืนชวยคิดเปนรอยละ 70.28 จางทําท้ังหมดคิดเปนรอยละ 4.17 ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.5

5.1.5.2 สวนเรื่องการสงเสริมใหเกษตรกรมีความรูความเขาในการทําการเกษตรนั้นพบวา เกษตรกรไดรับการฝกอบรมคิดเปนรอยละ 54.17 และไมเคยเขารับการฝกอบรมคิดเปนรอยละ 45.83 และจากผลของการตอบแบบสอบถามยังช้ีใหเห็นวา เกษตรกรสวนใหญเห็นวาการฝกอบรมไมมีประโยชนคิดเปนรอยละ 51.94 และเห็นวาการฝกอบรมมีประโยชนคิดเปนรอยละ 48.06 ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.5

Page 84: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

73

5.1.5.3 การวิเคราะหจากผลสรุปขอมูล เห็นวาเกษตรกรสวนใหญไมมีแรงงานเพียงพอท่ีทําการเกษตรไดท้ังหมดตลอดกระบวนการผลิตขาว ซ่ึงอาจเปนมาจากลักษณะของครอบครัวท่ีกลาวมาแลว ท่ีมีสมาชิกทําการเกษตรสวนใหญประมาณ 1-2 คนตอครอบครัว และในเร่ืองของการเรียนรูของเกษตรกรซ่ึงเห็นวาการฝกอบรมไมมีประโยชนซ่ึงสอดคลองกับขอมูลเบ้ืองตนท่ีกลาวมาคือเกษตรกรสวนใหญมีอายุมากแลวและมีการศึกษาระดับประถมศึกษาเปนสวนใหญ การประยุกตใชความรูท่ีเรียนมาอาจจะไมใชเร่ืองท่ีถนัดนัก ตารางท่ี 5.1.5 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับปจจัยดานทรัพยากรมนุษยของเกษตรกร ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับดาน ทรัพยากรมนษุย (N=360)

จํานวน รอยละ

ลักษณะแรงงานท่ีใชทําการเกษตรปลูกขาว

ทําเองท้ังหมด 90 25.00 ทําเอง-จางทํา 253 70.28 จางทําท้ังหมด 17 4.17 รวม 360 100.00

การเขารับการฝกอบรมสัมมนา

เคย 195 54.17

ไมเคย 165 45.83

รวม 360 100.00

ประโยชนของการการอบรมสัมมนา มี 173 48.06 ไมมี 187 51.94 รวม 360 100.00

Page 85: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

74

5.1.6 ผลการศึกษาลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับปจจัยดานสังคมและการเมืองของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยูในพื้นท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย

5.1.6.1 เกษตรกรทุกรายจะเปนสมาชิกของกลุมผูใชน้ําชลประทาน ผลการศึกษาพบวาเกษตรกรเปนสมาชิกของกลุมกิจกรรมอ่ืนๆ อีกดวยคิดเปนรอยละ 61.11 โดยกลุมท่ีเกษตรกรเลือกเปนสมาชิกประกอบไปดวยกลุมหลักๆดังนี้ (1) กองทุนหมูบาน (2) กลุมเกษตรอินทรีย (3) กลุม ธ.ก.ส. และ (4) กลุมการเกษตร ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.1.6

5.1.6.2 สามารถวิเคราะหไดวาเกษตรกรเปนสมาชิกของกลุมผูใชน้ําชลประทานซ่ึงเปนกลุมหลัก และยังเปนสมาชิกกลุมอ่ืนๆอีก ไดมีสวนรวมกับการเปนอยูในสังคมและรับรูความเปนไปของการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน เห็นไดวาหากภาครัฐมีความประสงคท่ีเขาไปสงเสริมใหมีกิจกรรมตางๆจะเปนไปไดโดยไมมีอุปสรรค ตารางท่ี 5.1.6 ลักษณะสภาพการมีสวนรวมท่ีเกี่ยวของกับปจจัยดานสังคมและการเมืองของเกษตรกร

ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเก่ียวของกับปจจัยดานสังคมและการเมือง (N=360)

จํานวน รอยละ

การเปนสมาชกิกลุมเกษตรกรอ่ืนๆ (นอกเหนือจากการเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ําชลประทาน)

เปนสมาชิกกลุมอ่ืนดวย 220 61.11 เปนเฉพาะสมาชิกกลุมผูใชน้ํา 140 38.89 รวม 360 100.00

การเปนสมาชกิกลุมอ่ืน กองทุนหมูบาน 40 18.18 เกษตรอินทรีย 37 16.82 กลุม ธ.ก.ส. 32 14.55 กลุมการเกษตร 25 11.36 สหกรณเพื่อการเกษตร 8 3.64 อ.ส.ม 6 2.73 อ่ืนๆ 72 32.72

Page 86: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

75

5.2 การศึกษาและประเมินผลการศึกษาปจจัยตัวแปรตาม (Y) ท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

การเก็บขอมูลจากแบบสอบถามโดยมีกลุมตัวอยางจํานวน 360 ตัวอยาง เม่ือพิจารณาลักษณะขอมูลแลว สามารถแยกการประเมินผลการศึกษาท่ีไดจากการตอบแบบสอบถามของเกษตรกรในพ้ืนท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมยไดคือ การศึกษาสภาพความสามารถทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร และ การศึกษาลักษณะสภาพความสามารถทางดานการผลิตของเกษตรกร

5.2.1 ผลการศึกษาลักษณะสภาพความสามารถทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยู

ในพ้ืนท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย

5.2.1.1 จากผลการศึกษาพบวา เกษตรกรมีรายไดจากการเกษตรมากท่ีสุดในชวง 25,001-50,000 บาทตอป คิดเปนรอยละ 33.33 รองลงมารายไดอยูในชวง นอยกวา 25,000 บาท, ชวงรายได 50,001-75,000 บาท, ชวงรายได 75,001-100,000 บาท และมากกวา 100,000 บาท คิดเปนรอยละ 30.28, 16.39, 13.61 และ 6.39 ตามลําดับ ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.1

5.2.1.2 และเกษตรกรยังมีรายไดจากการประกอบอาชีพเสริมและมีรายไดมากท่ีสุดอยูในชวง 0-2,500 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 52.78 รองลงมารายไดอยูในชวง 2,501-5,000 บาท, ชวงรายได 5,001-10,000 บาท, และมากกวา 10,000 คิดเปนรอยละ 35.28, 7.22, และ 4.72 ตามลําดับ ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.1

5.2.1.3 ผลการศึกษาและรวบรวมขอมูลพบวา เกษตรกรมีรายไดรวมตอปมากท่ีสุดในชวง 50,001-75,000 บาทตอป คิดเปนรอยละ 25.56 รองลงมารายไดอยูในชวง 75,001-100,000 บาท, ชวงรายได 25,001-50,000 บาท, ชวงรายได 100,001-125,000 บาท, ชวงรายได 0-25,000 บาท, ชวงรายได 125,001-175,000 บาท และมากกวา 175,000 คิดเปนรอยละ 20.83, 18.61, 9.72, 9.17, 8.06 และ 8.06 ตามลําดับ ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.1

5.2.1.4 ขอมูลจากแบบสอบถามท่ีเกษตรกรแสดงความเห็นความเพียงพอระหวางรายไดและรายจายพบวาเกษตรกรมีรายไดไมเพียงพอกับคาใชจายคิดเปนรอยละ 73.06 และมีเกษตรกรเพียงรอยละ 26.94 เทานั้นท่ีมีรายไดเพียงพอกับรายจาย ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.1

5.2.1.5 จากขอมูลท่ีไดสรุปชวงรายไดรวมตอปท่ีมีจํานวนประชากรมากท่ีสุดอยูท่ี 75,001- 100,000 บาท ซ่ึงจะมีความสัมพันธกับขนาดพ้ืนท่ีเพาะปลูก ผูมีพื้นท่ีนอยปลูกนอยก็มี

Page 87: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

76

รายไดนอย รายไดหลักก็จะมาจากแหลงอ่ืน ซ่ึงรายไดสวนใหญจะมาจากจากการทํางานรับจาง นอกจากนี้ยังมีสมาชิกในครอบครัวท่ีไปทํางานท่ีอ่ืนจัดสงมาให รายไดจากการขายผลผลิตตองนําไปชําระหนี้เงินกูดวย ฉะนั้นจะเห็นวาเกษตรกรไดแสดงความคิดเห็นวา ไมมีความพอเพียงถึงรอยละ 73.06 จากอาชีพเกษตรกรรม แตสําหรับเกษตรกรประกอบอาชีพอยางอ่ืนดวยแลว จากตารางจะเห็นไดวารายไดตอเดือนเฉล่ียยังมากกวารายจายตอเดือนอยูบาง ซ่ึงบงช้ียังมีความพอเพียงของการดําเนินชีวิตหากมีอาชีพเสริม ตารางท่ี 5.2.1 ความสามารถทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร

ลักษณะสภาพโดยรวมความสามารถทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

รายไดจากการเกษตรตอป

นอยกวา 25,000 บาท 109 30.28

25,001 – 50,000 บาท 120 33.33

50,001 – 75,000 บาท 59 16.39

75,001 – 100,000 บาท 49 13.61

มากกวา 100,000 บาท 23 6.39

รายไดอ่ืนๆ ตอป

นอยกวา 20,000 บาท 153 42.50

20,001 – 50,000 บาท 136 37.78

50,001 – 100,000 บาท 50 13.89

มากกวา 10,000 บาท 21 5.83

Page 88: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

77

ตารางท่ี 5.2.1 ความสามารถทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร (ตอ)

ลักษณะสภาพโดยรวมความสามารถทางดานเศรษฐกิจของเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

รายไดรวมตอป

นอยกวา 25,000 บาท 33 9.17

25,001 – 50,000 บาท 67 18.61

50,001 – 75,000 บาท 92 25.56

75,001 – 100,000 บาท 75 20.83

100,001 – 125,000 บาท 35 9.72

125,001 – 175,000 บาท 29 8.06

มากกวา 175,000 บาท 29 8.06

ความพอเพียงในการครองชพี เพียงพอ 97 26.94 ไมเพียงพอ 263 73.06 รวม 360 100.00

5.2.2 ผลการศึกษาลักษณะสภาพความสามารถทางดานการผลิตของเกษตรกร ท่ีอาศัยอยูในพื้นท่ีชลประทานจังหวัดบุรีรัมย

5.2.2.1 ผลการศึกษาพบวา เกษตรกรมีความสามารถการผลิตขาวตอไร ท่ีมีผลผลิตมากท่ีสุดในชวง 401-500 กิโลกรัมคิดเปนรอยละ 37.22 รองลงมาผลผลิตในชวง 301-400 กิโลกรัม, ผลผลิตในชวง 501-600 กิโลกรัม, มากกวา 600 กิโลกรัม และ ผลผลิตในชวง นอยกวา300 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 32.78, 18.61, 7.78 และ 3.61 ตามลําดับ ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.2

Page 89: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

78

5.2.2.2 การศึกษาขอมูลเพิ่มเติมพบวามีผลผลิตตํ่าสุดอยูท่ี 250 กิโลกรัมตอไร และผลผลิตสูงท่ีสุดอยูท่ี 960 กิโลกรัมตอไร จะเห็นไดวามีชวงความแตกตาง 710 กิโลกรัมตอไร และคาเฉล่ียผลผลิตตอไรอยูท่ี 473 กิโลกรัม ดูรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.2 5.2.2.3 จากขอมูลท่ีปรากฏนั้นจะตองวิเคราะหโดยอาศัยขอมูลทางวิชาการเกี่ยวกับการเกษตรในเร่ืองขาวดวย กลาวคือผลผลิตท่ีไดแตกตางนั้นมีองคประกอบหลายประการ เชน ชนิดของพันธขาว พันธุขาวแตละพันธุ ใหผลผลิตตางกัน การทํานาดําสวนใหญจะไดผลผลิตสูงกวานาหวาน ความอุดมสมบูรณของดิน อัตราการใสปุย(ใสนอยก็จะไดผลผลิตตํ่า แตหากใสมากเกินไปก็ไมไดชวยเพ่ิมผลผลิตแตอาจทําใหขาวเฉาและมีเมล็ดลีบได) การไมใสใจดูแลทําใหขาวขาดนํ้าในชวงท่ีขาวต้ังทองและออกรวง ฯลฯ และเม่ือเปรียบเทียบจากขอมูลผลผลิตขาวจากเอกสารเผยแพรของกรมสงเสริมการเกษตรที่รวบรวมโดย จลมณี ไพฑูรยเจริญลาภและเศวต งามสรรพ,(2543) ระบุวาพันธุขาวท่ีตางกันจะใหผลผลิตตางกัน ในการผลิตของเกษตรกรที่ศึกษาสวนใหญใชพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 ซ่ึงผลผลิตเฉล่ียท่ีกรมสงเสริมการเกษตรไดเก็บสถิติไวจะเทากับ 363 กิโลกรัมตอไร ดังนั้นผลผลิตขาวเฉล่ียของเกษตรกรกลุมตัวอยางท่ีศึกษาจึงอยูในเกณฑท่ีสูง ตารางท่ี 5.2.2 ลักษณะสภาพโดยรวมท่ีเกี่ยวของกับดานทรัพยากรธรรมชาติของเกษตรกร

ลักษณะสภาพโดยรวมความสามารถทางดานทรัพยากรธรรมชาตขิองเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

ผลผลิตขาว (กก./ไร)

นอยกวา 300 กก. 13 3.61

301 - 400 กก. 118 32.78

401 - 500 กก. 134 37.22

501 - 600 กก. 67 18.61

มากกวา 600 28 7.78

รวม 360 100.00

Page 90: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

79

ลักษณะสภาพโดยรวมความสามารถทางดานทรัพยากรธรรมชาตขิองเกษตรกร (N=360)

จํานวน รอยละ

ผลผลิตขาว (กก./ไร) - สถิติเชิงพรรณา

คาตํ่าสุด 250

คาสูงสุด 960

คาเฉล่ีย 473.2

SD 103.0

ชวงขอมูล 710 5.2.3 ผลของการสํารวจความพึงพอใจของเกษตรกรท่ีมีตอการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยนืใน

แตละปจจัยท่ีเก่ียวของในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน จังหวัดบุรีรัมย โดยใชความหมายในการแปลผลตามตารางท่ี 5.2.3 ตารางท่ี 5.2.3 แสดงความหมายของระดับคาเฉล่ีย และระดับความพึงพอใจท่ีใชในการแปลผล

คาเฉล่ีย

1.00 – 1.49 หมายถึง พึงพอใจนอยท่ีสุด 1.50 – 2.49 หมายถึง พึงพอใจนอย 2.50 – 3.49 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 3.50 – 4.49 หมายถึง พึงพอใจมาก 4.50 – 5.00 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด

5.2.3.1 ความพึงพอใจปจจัยดานเทคโนโลยีท่ีมีตอศักยภาพในการพ่ึงพาตนเอง

อยางยั่งยืน พบวามีความพึงพอใจปานกลาง ในดานการใชเคร่ืองจักรกลทุนแรงเพ่ือชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน เปนของตนเอง การสงเสริมใหนําแรงงานสัตวมาใชเพื่อลดคาใชจาย และการไดรับขอมูลขาวสารดานการเกษตรจากส่ือตางๆ เพื่อตัดสินใจในการผลิต (ท่ีคาเฉล่ีย 3.72, 2.78 และ 3.05 ของแตละหัวขอตามลําดับ) ซ่ึงมีเฉล่ียรวมทุกหัวขอท่ี 3.30 ดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.3.1

Page 91: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

80

ตารางท่ี 5.2.3.1 แสดงผลความพึงพอใจปจจัยดานเทคโนโลยีท่ีมีตอศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองอยางยั่งยืน

ปจจัยดานเทคโนโลย ี คา เฉล่ีย

SD มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

1. การใชเคร่ืองจักรกลทุนแรงเพื่อชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน เปนของตนเอง

3.72 1.04 109 80 145 14 12 (30.28) (22.22) (40.28) (3.89) (3.33)

2. การสงเสริมใหนําแรงงานสัตวมาใชเพื่อลดคาใชจาย

2.87 1.23 40 70 115 73 62 (11.11) (19.44) (31.94) (20.28) (17.22)

3. การไดรับขอมูลขาวสารดานการเกษตรจากส่ือตางๆ เพื่อตัดสินใจในการผลิต

3.05 1.05 41 59 164 70 26 (11.39) (16.39) (45.56) (19.44) (7.22)

4. การที่ภาครัฐสงเสริมแนวทางเกษตรทฤษฎีใหมของพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวัมาใชรวมกับการผลิตแบบเกษตรอินทรียเพื่อใหเกิดการพัฒนาท่ีพึ่งตนเองได

3.54 1.18 96 87 115 38 24 (26.67) (24.17) (31.94) (10.56) (6.67)

รวม 3.30 1.13

Page 92: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

81

5.2.3.2 ความพึงพอใจปจจยัดานเศรษฐกิจท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน

พบวามีความพึงพอใจปานกลาง ในดานราคาผลผลิต และรายไดจากการประกอบอาชีพ การไดรับการสนับสนุนเงินทุน จากการใหกู เงินอุดหนุน เงินชวยเหลือ จากภาครัฐ และสถาบันการเงิน และระดับของการออมและการเพ่ิมพูนรายไดอยางอ่ืนที่จะชวยใหมีเงินทุนของตนเองเพิ่มข้ึน (ท่ีคาเฉล่ีย 2.68, 2.73 และ 2.59 ของแตละหัวขอตามลําดับ) ซ่ึงมีเฉล่ียรวมทุกหัวขอท่ี 2.67 ดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.3.2 ตารางท่ี 5.2.3.2 แสดงผลความพึงพอใจปจจัยดานเศรษฐกิจท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน

ปจจัยดานเศรษฐกิจ คา เฉล่ีย

SD มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

1. ราคาผลผลิต และรายไดจากการประกอบอาชีพ

2.68 0.83 9 31 183 110 27 (13.50) (8.61) (50.83) (30.56) (7.50)

2. การไดรับการสนับสนุนเงินทุน จากการใหกู เงินอุดหนุน เงินชวยเหลือ จากภาครัฐ และสถาบันการเงิน

2.73 1.01 20 46 151 102 41 (5.56) (12.78) (41.94) (28.33) (11.39)

3. ระดับของการออมและการเพิ่มพูนรายไดอยางอ่ืนท่ีจะชวยใหมีเงินทุนของตนเองเพ่ิมข้ึน

2.59 1.04 21 41 116 134 48 (5.83) (11.39) (32.22) (37.22) (13.33)

รวม 2.67 0.96

Page 93: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

82

5.2.3.3 ความพึงพอใจปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน พบวามีความพึงพอใจปานกลาง ในดานขนาดท่ีดินท่ีใชในการประกอบอาชีพการเกษตร การไดรับน้ําจากการจัดการน้ําของกรมชลประทาน และคุณภาพของพันธุพืชและพันธุสัตวเล้ียง (ท่ีคาเฉล่ีย 2.78, 3.50 และ 2.92 ของแตละหัวขอตามลําดับ) ซ่ึงมีเฉล่ียรวมทุกหัวขอท่ี 3.07 ดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.3.3 ตารางท่ี 5.2.3.3 แสดงผลความพึงพอใจปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาต ิ คา

เฉล่ีย SD มาก

ท่ีสุด มาก ปาน

กลาง นอย นอย

ท่ีสุด 1. ขนาดท่ีดินท่ีใชในการประกอบอาชีพการเกษตร

2.78 1.01 25 40 161 98 36 (6.94) (11.11) (44.72) (27.22) (10.00)

2. การไดรับน้าํจากการจดัการน้ําของกรมชลประทาน

3.50 1.02 67 104 144 31 14 (18.61) (28.89) (40.00) (8.61) (3.89)

3. คุณภาพของพันธุพืชและพันธุสัตวเล้ียง

2.92 0.98 20 64 179 62 35 (5.56) (17.78) (49.72) (17.22) (9.72)

รวม 3.07 1.00

5.2.3.4 ความพึงพอใจปจจัยดานทรัพยากรมนุษยท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน พบวามีความพึงพอใจปานกลาง ในดานความรูและทักษะการผลิตท่ีเกษตรกรมีอยูในปจจุบัน ซ่ึงมีเฉล่ีย 3.00 ดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.3.4

Page 94: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

83

ตารางท่ี 5.2.3.4 แสดงผลความพึงพอใจปจจัยดานทรัพยากรมนุษยท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย คา

เฉล่ีย SD มาก

ท่ีสุด มาก ปาน

กลาง นอย นอย

ท่ีสุด 1. ความรูและทักษะการผลิตท่ีเกษตรกรมีอยูในปจจุบัน

3.00 0.75 9 58 238 38 17 (2.50) (16.11) (66.11) (10.56) (4.72)

รวม 3.00 0.75

5.2.3.5 ความพึงพอใจปจจัยดานสังคมและการเมืองท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน พบวามีความพึงพอใจปานกลาง ในดานการตองเสียสละ และมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตางๆกับกลุมท่ีเปนสมาชิกอยู นโยบายของรัฐดานตางๆ ท่ีมีผลโดยตรงตอตัวเกษตรกร หรือท่ีสอดคลองกับอาชีพการเกษตร และการกระจายอํานาจของภาครัฐในภารกิจท่ีไมสลับซับซอน ใหองคการบริหารสวนทองถ่ิน หรือกลุมเกษตรกรรับผิดชอบจะทําใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารการจัดการ (ท่ีคาเฉลี่ย 3.16, 2.81 และ 2.80 ของแตละหัวขอตามลําดับ) ซ่ึงมีเฉล่ียรวมทุกหัวขอท่ี 2.93 ดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.3.5

Page 95: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

84

ตารางท่ี 5.2.3.5 แสดงผลความพึงพอใจปจจัยดานสังคมและการเมืองท่ีมีตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน ปจจัยดานสังคมและการเมือง คา

เฉล่ีย SD มาก

ท่ีสุด มาก ปาน

กลาง นอย นอย

ท่ีสุด 1. การตองเสียสละ และมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตางๆกับกลุมท่ีเปนสมาชิกอยู

3.16 0.85 27 73 198 54 8 (7.50) (20.28) (55.00) (15.00) (2.22)

2. นโยบายของรัฐดานตางๆ ท่ีมีผลโดยตรงตอตัวเกษตรกร หรือท่ีสอดคลองกับอาชีพการเกษตร

2.81 0.87 12 47 189 86 26 (3.33) (13.06) (52.50) (23.89) (7.22)

3. การกระจายอํานาจของภาครัฐในภารกิจท่ีไมสลับ ซับซอน ใหองคการบริหารสวนทองถ่ิน หรือกลุมเกษตรกรรับผิดชอบจะทําใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารการจัดการ

2.80 1.06 23 66 126 107 38 (6.39) (18.33) (35.00) (29.72) (10.56)

รวม 2.93 0.93

Page 96: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

85

5.2.3.6 ความพึงพอใจในการสนับสนุนและความสัมพันธกับองคการภายนอกท้ังภาครัฐและภาค เอกชน ท่ีมีตอศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองอยางยั่งยืน พบวามีความพึงพอใจปานกลาง ในการบริหารจัดการน้ําและบริการอ่ืนของกรมชลประทาน เปนไปโดยท่ัวถึงและเปนธรรม และการสนับสนุน สงเสริมของหนวยงานอ่ืนท่ีไมใชกรมชลประทาน เชน เกี่ยวกับขอมูลขาวสารดานการตลาด การฝกอบรมใหความรู เปนตน (ท่ีคาเฉลี่ย 3.49 และ 2.66 ของแตละหัวขอตามลําดับ) ซ่ึงมีเฉล่ียรวมทุกหัวขอท่ี 3.08 ดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 5.2.3.6 ตารางท่ี 5.2.3.6 แสดงผลความพึงพอใจการสนับสนุนและความสัมพันธกับองคกรภายนอกท้ังภาครัฐและภาคเอกชนท่ีมีตอศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองอยางยั่งยืน ปจจัยดานการสนับสนุนและความสัมพันธกับองคกรภายนอก

คา เฉล่ีย

SD มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

1. การบริหารจัดการน้ําและบริการอ่ืนของกรมชลประทาน เปนไปโดยท่ัวถึงและเปนธรรม

3.49 0.99 53 135 125 31 16 (14.72) (37.50) (34.72) (8.61) (4.44)

2. การสนับสนุน สงเสริมของหนวยงานอ่ืนท่ีไมใชกรมชลประทาน เชน เกี่ยวกบัขอมูลขาวสารดานการตลาด การฝกอบรมใหความรู เปนตน

2.66 1.04 16 53 136 101 54 (4.44) (14.72) (37.78) (28.06) (15.00)

รวม 3.08 1.02

Page 97: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

86

5.2.4 ความคดิเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับการจะทําใหเกิดการพึ่งพาตนเองแบบยัง่ยนื มีเกษตรกรแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางท่ีจะทําใหเกษตรกรเกิดการพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน จํานวน 101 ราย คิดเปนรอยละ 28.06 จากท้ังหมด 360 รายโดยสรุปความคิดเห็นไดดังตอไปนี้ (คนเดียวอาจแสดงความคิดเห็นหลายอยาง)

1. การมีน้ําเพยีงพอ 29 ราย 2. การมีความรู โดยการแนะนํา ศึกษา ดูงาน ฝกปฏิบัติ มีแปลงสาธิต 23 ราย 3. การที่ไดรับราคาผลผลิตท่ีเปนธรรม ไมถูกเอารัดเอาเปรียบ 17 ราย 4. การมีแหลงเงินทุน ดอกเบ้ียตํ่า 15 ราย 5. การมีระบบกระจายน้ําใน ระดับแปลงนาหรือคันคูน้ํา 15 ราย 6. ภาครัฐมีความจริงใจท่ีจะชวยแกไขปญหาตางๆ อยางจริงจัง 9 ราย 7. การไมสรางหนี้สิน หรือควรมีหนี้เทาท่ีจาํเปนจริงๆ 8 ราย 8. การปรับปรุงตัวเองของเกษตรกรใหมีความประหยัด มีวินยั 7 ราย 9. การผลิตปุยใชเองไมใชปุยเคมี เพื่อลดคาใชจาย 6 ราย 10. การปลูกพชืฤดูแลงเพื่อใชเวลาและท่ีดนิใหเต็มท่ี เพือ่เพิ่มรายได 6 ราย 11. การสนับสนุนปจจยัการผลิต โดยการแจก การใหยืม 6 ราย 12. การมีท่ีดินทํากินเปนของตนเอง การมีท่ีดินท่ีเพยีงพอ 6 ราย

13. การมีอาชีพเสริมหลังการทํานา 5 ราย 14. การมีพันธุพืชท่ีด ี 5 ราย 15. การเปล่ียนวิธีการผลิตเปนแบบใหมท่ีลดคาลงทุน 5 ราย 16. การใหหนวยงานตางๆ ใหความสนใจดูแล แนะนําใหใกลชิดยิ่งข้ึน 4 ราย 17. การทําการเกษตรแบบผสมผสานใหมีกินในครอบครัว 3 ราย 18. การมีเคร่ืองจักรกลการเกษตรเปนของตนเอง 2 ราย 19. การมีกลุมท่ีเขมแข็ง 2 ราย 20. การมีตลาดรองรับผลผลิต 2 ราย

21. การทําเทาท่ีทําไดโดยใชเฉพาะแรงงานและเงินทุนในครอบครัว 1 ราย 22. การใชน้ําบาดาลกรณีเกดิฝนแลงหรือฝนท้ิงชวง 1 ราย

Page 98: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

87

5.3 สรุปขอมูลจากการสัมภาษณกลุมตัวอยาง นําผลการสัมภาษณกลุมตัวอยางท้ังหมดมาสรุปโดยใชกรอบการวิจยัเปนแบบในการสรุปดังนี ้

5.3.1 ปจจัยดานเทคโนโลยี เปนเร่ืองท่ีเกีย่วของกับการมีการใชเคร่ืองทุนแรง การรับรูและใชประโยชนจากขอมูลขาวสารและการนําวิธีการผลิตแบบใหมมาใช

ปจจุ บันในการทําการเกษตรนั้น เกษตรกรเกือบทุกรายจํา เปนตองอาศัยเคร่ืองจักรกลการเกษตรมาใชเปนเคร่ืองทุนแรง ในกิจกรรมที่สําคัญคือ การเตรียมแปลงโดยการไถและคราดเพื่อใหดินมีความเหมาะสมท่ีจะเพาะปลูกได เคร่ืองจักรท่ีใชสวนใหญเปนรถไถนาเดินตาม โดยเกษตรกรจํานวนมากมีรถไถนาเดินตามเปนของตนเอง สําหรับคนท่ีไมมีก็จะใชรวมกับญาติพี่นองหรือเพื่อนฝูง โดยการชวยออกคาน้ํามันเช้ือเพลิงและชวยไถท้ังนาของตนเองและเจาของรถไถดังกลาว นอกจากนี้ยังมีการจางเพ่ือนบานท่ีมีรถไถนาเดินตามไถคราดท่ีนาให และหากท่ีดินเปนดินเหนี่ยวมาก เปนท่ีดอนน้ําไมทวมขังเพียงพอ หรือมีพื้นท่ีนาขนาดใหญมากๆ ก็จะจางรถไถนาขนาดใหญ(รถแทรกเตอร) มาไถคราดเพ่ือเตรียมดินเพาะปลูก เกษตรกรท่ีเปนเจาของรถไถนาเดินตามสวนใหญจะมีรถกระบะพวงขนาดเล็กสําหรับการบรรทุกปจจัยการผลิต หรือผลผลิตตลอดจนใชโดยสาร เพื่อไปทํากิจกรรมการเกษตรไดดวย ซ่ึงเกษตรกรเรียกวา “เทรลเลอร”

เกษตรกรมีเคร่ืองจักรเคร่ืองมือใชทํากิจกรรมเตรียมแปลงไดเพียงพอไมมีเกษตรกรรายใดท่ีเตรียมแปลงเพาะปลูกไมทันฤดูการผลิตยกเวนกรณีฝนแลงหรือฝนท้ิงชวงอาจตองยืดเวลาการเพาะปลูกออกไป แตก็ยังสามารถเตรียมแปลงไดเหมาะกับชวงเวลา

อนึ่ง ปจจุบันจังหวัดบุรีรัมยตระหนักถึงคาใชจายของเกษตรกรในเร่ืองการใช

เคร่ืองจักรการเกษตร จึงไดอนุมัติงบประมาณจากงบผูวา CEO จัดซ้ือรถแทรคเตอรขนาดเล็ก ในเบ้ืองมอบใหอําเภอละหน่ึงคัน เพื่อใชในกิจกรรมปรับระบบการผลิตเปนการเกษตรแบบเกษตร

Page 99: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

88

อินทรียเพื่อใหเกษตรกรที่รวมโครงการใชไถกลบตอซังหลังฤดูเก็บเกี่ยวเพื่อใหตอซังเนาเปอยเปนปุยบํารุงดินโดยเกษตรกรชวยกันออกคาใชจายน้ํามันเช้ือเพลิง แตเนื่องจากยังไมเพียงพอใหบริการจังหวัดจึงเสนอวาหากองคการบริหารสวนตําบลใดสามารถจัดหารถแทรกเตอรมาสนับสนุนไดอีก กี่คันจังหวัดก็จะอนุมัติงบประมาณลงไปสนับสนุนเพิ่มใหอีกในจํานวนท่ีเทากัน

ในดานของการนําสัตวเล้ียงประเภทโคหรือกระบือมาใชงานเพื่อการไถคราดเตรียมแปลงและบรรทุกปจจัยการผลิตนั้น ในปจจุบันมีเกษตรกรเพียงไมกี่รายท่ียังใชโคไถนาอยู โดยเปนพื้นท่ีขนาดเล็ก 1-2 ไร จากการสัมภาษณและจากการสอบถามเกษตรกรผูตอบแบบสอบถามนั้น เกษตรกรจะมีความเห็นวาเปนเร่ืองท่ีดีท่ีจะฟนฟูนําโคกระบือมาใชงาน เพราะสามารถลดคาใชจายได แตเม่ือสอบถามตอไปวาจะนําโคกระบือมาใชงานหรือไมสวนใหญจะตอบวาไมนํามาใช โดยใหเหตุผลวา จะตองลงทุนซ้ือโคกระบือ จะมีปญหาเร่ืองสถานท่ีเล้ียง ไมมีแหลงอาหาร ไมมีคนดูแลเพราะตองไปรับจางหาเงินมาใชจายในชีวิตประจําวัน และท่ีสําคัญจะตองมีการฝกเพื่อใหสัตวสามารถทํางานได และตองใชคนท่ีมีรางกายท่ีแข็งแรงในการไถคราด ซ่ึงปจจุบันเกษตรกรสวนใหญมีอายุมาก สมาชิกในครอบครัวคนอ่ืนๆ จะตองไปทํางานรับจางในเมืองหรือกรุงเทพฯ เพื่อนําเงินมาจุนเจือครอบครัว คนท่ียากจนจริงๆและมีความพรอมในหลายดานควรนํามาใช ในดานขอมูลขาวสารที่จําเปนตออาชีพการเกษตรนั้น เกษตรกรสวนใหญยังไมใหความสนใจเทาท่ีควร สวนใหญผูใหขอมูลตางๆ จะเปนหนวยงานราชการ ท้ังเปนการใหขอมูลโดยตรงหรือโดยผานกลุมและผานผูนําชุมชน ในสวนของการปรับปรุงวิธีการเพาะปลูกมาใชรูปแบบการเพาะปลูกแบบใหมโดยเกษตรกรสวนใหญมีความรูความเขาใจในการเพาะปลูกตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และการปลูกพืชเกษตรอินทรีย มีความสนใจท่ีจะรวมโครงการที่หนวยงานภาครัฐเขาไปสนับสนุน เพื่อใหเปนไปตามวาระแหงชาติท่ีจะใหปรับการผลิตการเกษตรเปนแบบเกษตรอินทรียทั้งหมดในป 2552 เพราะไดมีการทดลองใหเกษตรกรในภูมิภาคตางๆ ไดดําเนินการตามแนวทางดังกลาวพบวาประสบผลสําเร็จเปนท่ีพอใจ ท้ังดานการลดคาใชจาย การทําใหท่ีดินไดรับการปรับปรุงคุณภาพใหดีข้ึน เกษตรกรมีสุขภาพท่ีดีเพราะไมใชยาหรือสารเคมี ไดบริโภคผลผลิตท่ีปลอดภัย ซ่ึงในเขตชลประทานไดเร่ิมสงเสริมในป 2549 เพื่อเปนตนแบบ การดําเนินงานเปนข้ันตอน โดยใหเกษตรกรลดการใชปุยเคมีและสารเคมีลงทีละนอย และใหเลิกใชปุยเคมีท้ังหมดในป 2552

Page 100: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

89

5.3.2 ปจจัยดานเศรษฐกิจ

5.3.2.1 คาใชจายในการทํานา ในการดําเนินกิจกรรมการเกษตรนั้นเกษตรกรจําเปนตองมีเงินทุนเพื่อใชการทํากิจกรรมชวงตางๆ ดังนี้

1) คาเตรียมแปลงไถและคราด (1.1) กรณีมีรถไถนาเดินตามและไถ คราดเอง จะมีคาใชจายเปนคาน้ํามันเช้ือเพลิง 50 บาท/ไร (1.2) กรณีจางรถไถนาเดินตามไถคราด คาใชจายไมแนนอนข้ึนอยูกับลักษณะดิน ถาเปนดินปนทรายจะไถงาย โดยจะไถไดวันละ 4 - 5 ไร แตถาเปนดินเหนียวก็จะไถไดวันละประมาณ 2 ไร หรืออาจตองจางรถแทรกเตอรไถ คาใชจายจะอยูในชวง 200 – 600 บาท/ไร ข้ึนอยูกับลักษณะดินดังกลาว แตท่ัวไปแลวพื้นท่ีเพาะปลูกสวนใหญจะเปนดินปนทรายดังนั้นคิดเฉล่ียจางไถประมาณ 300 บาท/ไร

2) หวาน ตกกลาและถอนกลา (2.1) กรณีนาหวานหากพื้นท่ีไมมากเกษตรกรจะหวานกลาเองโดยตอง

หวานจนเต็มพื้นท่ีท่ีเพาะปลูก (2.2) กรณีนาดํา เกษตรกรตองเตรียมตนกลาไวกอนโดยหวานกลา สวนใหญจะทําเอง โดยตนกลา 1 ไร สามารถนําไปปกดําได 15 ไร สวนการถอนกลาถาไมมากจะทําเอง แตถาจํานวนมากกก็จะจางถอนกลาโดยคิดคาจางถอนเปนกํา โดยคิดเฉล่ีย 125 บาท ตอ 100 กํา โดยท่ีกลาประมาณ 120 กํา จะนําไปปกดําได 1 ไร ดังนั้นพื้นท่ีปกดํา 1 ไรเสียคาถอนกลา 150 บาท

สําหรับเมล็ดพันธุขาวนั้น เมล็ดพันธุดีเม่ือนํามาปลูกแลวเกษตรกรจะเก็บผลผลิตไวเปนพันธุขาว โดยสามารถปลูกไดตอเนื่อง 3 รุน จึงตองเปล่ียนเมล็ดพันธุดีมาปลูกใหม ซ่ึงสวนใหญจะใชวิธีการแลกเปล่ียน โดยยืมเมล็ดพันธุมากอนแลวสงคืนเม่ือเก็บเกี่ยวไดผลผลิต โดยจะมีการสงเสริมใหเกษตรกรบางพื้นท่ีของแตละตําบล เปนแหลงสําหรับขยายพันธุขาวเพื่อขายใหหนวยงานภาคราชการหรือเอกชนที่ไปสงเสริม เพื่อนําไปใหเกษตรกรอื่นๆ แลกเอาไปทําพันธุตอไป

Page 101: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

90

3) การปกดํา ถามีพื้นท่ีไมมาก เชน 1 – 2 ไร เกษตรกรจะทําเอง แตถาพื้นท่ีมากกวา

นั้นหรือเกษตรกรที่มีอาชีพอ่ืนดวย เชน รับจางลักษณะประจําจะไมมีเวลาทําเองท้ังหมดจะ ตองจางคนอ่ืนมาชวยปกดําดวย คาจางคิดวันละ 120 บาท โดยเฉล่ียแลวพื้นท่ี 1 ไร จะใชคน 4 คน เปนคาจาง 480 บาท

4) การกําจัดศัตรูพืช สวนใหญศัตรูพืชจะเปนปูท่ีมากัดกนิตนขาวออน การกาํจัดทําโดยการใช

ฟูลิดอนคลุกขาวสุกหวานใหปูกิน คาใชจายในการกําจดันั้นข้ึนกับปริมาณการระบาด แตเฉล่ียแลว จะมีคาใชจายประมาณ 20 บาท/ไร

หญาในนาขาว สวนใหญจะเกิดในนาหวานหรือนาท่ีดอนท่ีมีน้ําทวมขัง

นอย มักไมคอยมีปญหาถามีจะใชวิธีถอนออก ถามีมากจะใชยาฆาหญาแตสวนใหญเกษตรกรจะไมนิยมใชยาฆาหญาเพราะเปนผลเสียตอสุขภาพและตกคางในแปลงท่ีเกษตรกรตองลงไปเหยียบย่ําอยูทุกวัน

5) การใสปุย เกษตรกรจะใสปุยตามคําแนะนําของเจาหนาท่ีสงเสริม

การเกษตร หรือจากเจาหนาท่ีของบริษัทขายปุย โดยจะใสปุยตามสภาพพื้นท่ี (5.1) กรณีพื้นท่ีเปนดินเหนียวจะใสปุย 2 คร้ัง คือ - ปุยรองพ้ืนหลังไถคราด ใชปุยสูตร 16 – 20 – 0 อัตรา 25 กก. ตอไร เปนเงิน 250 บาท บางคนใชปุยอินทรียอัตรา 50 กก.ตอไร ราคา 290 บาท - ปุยเรงการเจริญเติบโต สวนใหญใชปุยเคมีสูตรเดิม อัตราเดิม คาใชจาย 250 บาท

ดังนั้น รวมคาปุยจะเปนประมาณ 500 บาท/ไร (5.2) กรณีพื้นท่ีนาเปนดินปนทราย จะใสปุย 3 คร้ัง เพราะดินมีความอุดมสมบูรณตํ่า คือ ปุยรองพื้นหลังไถคราด ชวงเรงการเจริญเติบโต และชวงขาวต้ังทอง สูตรปุยท่ีใช 16 – 8 – 8 กระสอบละ 50 กก. ราคากระสอบละ 400 บาท หรือใชปุยสูตร 16- 16-8 กระสอบละ 50 กก. ราคากระสอบละ 500 บาท การจะใชปุยสูตรใดนั้นข้ึนอยูกับความเปนทรายของดิน โดยดินยิ่งเปนทรายมากก็ตองใชปุยสูตรตัวกลางสูง แตท่ัวไปเกษตรกรใชปุย 16 – 8 – 8

Page 102: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

91

เพราะมีราคาถูกกวา และไดผลแตกตางกันไมมาก จํานวนท่ีใชคร้ังละ 25 กก. /ไร รวม 3 คร้ัง 75 กก.

ดังนั้นคาปุยจะเปนประมาณ 600 บาท/ไร

6) เก็บเกี่ยว อาจดําเนนิการได 2 ลักษณะ คือ (6.1) การเก็บเกี่ยวโดยใชแรงงานคน คาจางวันละ 120 บาท โดย 1 ไร จะเสียคาเกี่ยวขาวประมาณ 600 บาท กรณีใชคนเกี่ยวขาวจะตองตากขาวไว 2 – 3 วัน จางคนมัดฟอนคาจาง 130 บาท ตอ 100 ฟอน พื้นท่ีหนึ่งไรคามัดฟอน 200 บาท คาขนไร ละ 100 บาทนําแลวนําไปนวด เดิมใชแรงงานคน ปจจุบันไมนิยมเพราะเปนงานหนักเกษตรกรสวนใหญทํางานรับจางไมมีเวลา จึงตองใชเครื่องนวดขาว ซ่ึงมีอัตราคาจางนวด 10 – 12 บาท ตอขาวเปลือก 1 กระสอบ ซ่ึงมีน้ําหนักประมาณ 80 กก. ในการเพาะปลูกพื้นท่ี 1 ไร จะไดผลผลิตประมาณ 480 กก. หรือ 6 กระสอบ ดังนั้นคานวดขาว 1 ไร เปนเงิน 60 บาท (6.2) การใชรถเก่ียวขาว สวนใหญเปนรถเกี่ยวขาวท่ีมาจากภาคกลางมาตระเวนมารับจาง ทํางานไดเร็วและนวดเปนเมล็ดขาวเปลือกใหทันที เกษตรกรจึงนิยมวาจางรถเกี่ยวขาวมาก คาใชจาย ไรละประมาณ 550 บาท

สรุป คาใชจายเฉล่ียท้ังหมดของการทํานา 1 ไร ของพื้นท่ีท่ัวไป 1. คาเตรียมแปลง 300 บาท 2. คาถอนกลา 100 บาท 3. คาปกดํา 400 บาท 4. คาเก็บเกีย่ว + คานวด 550 ถึง 960 บาท 5. คายา คาปุย 520 บาท รวมคาใชจาย 1,870 ถึง 2,280 บาท หรือเฉล่ีย 2,075 บาท รายไดจากการขายขาว ผลผลิตเฉล่ีย 480 กก./ไร ราคาขาย 8 บาท / กก. รายไดจากการขายขาว 1 ไรเปนเงิน 3,840 บาท

จะไดกําไร 1,560 ถึง 1,970 บาท หรือเฉล่ีย 1,765 บาท

Page 103: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

92

5.3.2.2 แหลงเงินทุน เกษตรกรสวนใหญใชเงินลงทุนจาการกูยืมโดยมีแหลงกูยืม 2 แหลง ดังนี ้

1) นายทุนเงินกู ปจจุบันเกษตรกรกูเงินจากนายทุนเงินกูลดลงมากเพราะมีแหลงทุนอ่ืนๆ ใหบริการมากข้ึน การกูจากนายทุนจะกูลักษณะฉุกเฉิน เชนชวงเปดภาคการศึกษา หรือกรณีเกิดการเจ็บปวย

2) แหลงเงินกูในระบบ ไดแก (1) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ (ธ.ก.ส.) เปนแหลงเงินทุนแหลงสําคัญท่ีเกษตรกรนิยมกูยืมเพราะไดปรับระเบียบกฎเกณฑตางๆ ใหเอ้ือตอการกูยืมไดงายข้ึน ซ่ึง ธ.ก.ส. จะแบงประเภทการกูเปน 3 ประเภท ตามระยะเวลาการกูเงิน คือ (1.1) การกูระยะยาว ระยะเวลากู 10 – 20 ป สําหรับผูกู ท่ีตองการจํานวนเงินสูงมาก โดยมีเอกสารสิทธิท่ีดินเปนโฉนดหรือ นส.3 ก. มาคํ้าประกันเงินกูจํานวนเงินกูคิดใหคร่ึงหนึ่งของราคาประเมินท่ีดิน (1.2) การกูระยะปานกลาง ระยะเวลาไมเกิน 5 ป การกูจะใชสมาชิกเปนผูคํ้าประกันรวมกัน 2 คนข้ึนไป จะกูไดประมาณ 50,000 บาท (1.3) การกูระยะส้ัน ระยะเวลา 1 ป กูไดไมเกิน 100,000 บาท โดยใหสมาชิกคํ้าประกันกันเองเปนกลุมประมาณ 8 – 10 คน หลักเกณฑการกูจะตองมีการรวมกลุมเพื่อการคํ้าประกันกันเองเสนอให ธ.ก.ส. พิจารณาคุณสมบัติวาเปนเกษตรกรจริงมีกิจกรรมการเกษตรที่สามารถมีรายไดมาชําระเงินกูไดแนนอน การกูคิดดอกเบ้ียระยะแรกเทากันท้ังหมดคือ รอยละ 11.50 บาท กรณีการกูระยะปานกลางและระยะยาว หากชําระหนี้พรอมดอกเบ้ียครบถวนตามกําหนดเวลาก็จะไดรับการลดอัตราดอกเบ้ีย โดยสามารถลดไดสูงสุดเหลือเพียง รอยละ 5.50 ถาเปนลูกคาระดับดีเยี่ยม การชําระหนี้กําหนดปละคร้ัง หากมีการพัดการชําระหนี้ก็จะถูกปรับอัตราดอกเบ้ียในชวงหลังการผัดคิดเปน รอยละ 13.50 ทันที การไมชําระหนี้ตามกําหนดจะมีมาตรการดานอัตราดอกเบ้ียอยางเดียว โดยธนาคารพยายามเรงรัด ใหมีการชําระซ่ึงสวนใหญจะไมคอยมีปญหาเพราะเกษตรกรมักจะมีรายไดจากการขายผลผลิตมาชําระหนี้อยูแลว การลาชาจะมีบาง

(2) แหลงอ่ืนๆ เชน สหกรณการเกษตร จะตองเปนสมาชิกและเกษตรกรในเขตชลประทานท่ีเปนสมาชิกสหกรณการเกษตรมีจํานวนนอย

Page 104: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

93

5.3.2.3 การจัดต้ังกลุมทางเศรษฐกิจ เชนกลุมออมทรัพย เกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทานยังไมไดมีการรวมกลุมกันในขณะนี้แตก็ไดรับการสนับสนุนโดยการแนะนําและพาเกษตรกรแกนนําไปศึกษาดูงานจากผูท่ีไดดําเนินการประสบความสําเร็จ

5.3.2.4 การจัดการดานการตลาด เกษตรกรยังขาดความรูมนเร่ืองการตลาด การ

รวมกลุมจะรวมลุมในกิจกรรมการใชน้ํา รวมกลกุมเพื่อกูเงินจากแหลงเงินในระบบ รวมกลุมเพื่อการฝกอบรมความรู แตยังขาดการรวมกลุมเพื่อดําเนินการผลิต การจําหนายรวมกัน

5.3.2.5 รายไดและการเพิ่มพูนรายได เกษตรกรสวนใหญจะใชเวลาในชวง

ฤดูการทํานาประมาณ 3 – 4 เดือน โดยจะมีสมาชิกในครอบครัว สวนหนามีหนาท่ีทําการเกษตร สมาชิกท่ีเหลือถาไมอยูในวัยเรียน ก็จะไปรับจางในตัวเมืองหรือกรุงเทพฯ สมาชิกท่ีทําการเกษตรเวลาท่ีเหลือจากการเพาะปลูก สวนหนึ่งจะรับจางทํางานตางๆ เพื่อหาเงินมาจุนเจือครอบครัวชวยการใชจายในชีวิตประจําวัน บางคนจะอาศัยเงินท่ีไดจากการกูยืม สวนท่ีเหลือจากการเปนคาใชจายในการลงทุนทําเกษตรกรรมแลว และอีกสวนไดเงินจากการรับจางมาเสริมคาใชจาย ในการปลูกพืชฤดูแลงนั้นจะมีเกษตรกรบางรายท่ีปลูก ท้ังนี้จะมีปญหาเร่ืองการตลาดและราคาผลผลิตเปนอยางมาก จึงไมสามารถสงเสริมใหเกษตรกรปลูกพืชฤดูแลงไดเต็มศักยภาพของโครงการชลประทาน

5.3.3 ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาต ิ ท่ีดิน เกษตรกรสวนใหญมีท่ีดินเปนของตนเอง ขนาดท่ีดินมากนอยลดหล่ันกันไป มีอยูจํานวนนอยท่ีไมมีท่ีดินหรือมีไมเพียงพอ ซ่ึงโดยภาพรวมแลวถือวาเกษตรกรมีท่ีดินเหมาะสมในดานปริมาณ ในดานคุณภาพของที่ดินนั้นสวนใหญท่ีดินในเขตชลประทานใชทําการเพาะปลูกมานานโดยใชปุยเคมีบํารุงพืชสงผลใหโครงสรางของดินเสีย จําเปนตองมีการฟนฟูสภาพดินโดย กรมชลประทานประกาศดําเนินงานตามวาระแหงชาติเร่ืองการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย โดยต้ังเปาหมายใหมีการลดการใชปุยเคมี และสารเคมีลงจนใชเกษตรอินทรียท้ังหมดภายในป 2552 ซ่ึงจําทําใหเกิดผลดีลดคาลงทุนทําใหท่ีดินมีความอุดมสมบูรณ ทําใหสุขภาพของเกษตรกรดีข้ึน แหลงน้ํา เกษตรกรในเขตชลประทานมีขอไดเปรียบท่ีมีน้ําในการเพาะปลูกสมบูรณกวาเกษตรกรท่ีอยูนอกเขตชลประทาน โดยจะมีการสงน้ําใหแกพืชเสริมน้ําฝน เม่ือฝนแลงหรือฝนท้ิง

Page 105: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

94

ชวง ในปริมาณและชวงเวลาท่ีพืชตองการสงผลใหเกษตรกรที่เอาใจใสดูแลตามแนวทางท่ีเหมาะสมไดผลผลิตสูงกวาเกษตรกรนอกเขตชลประทาน พันธุพืชคุณภาพดี เกษตรกรในเขตชลประทานจะปลูกขาวหอมมะลิ (มะลิ 105) ซ่ึงเปนพันธุขาวท่ีเหมาะกับสภาพภูมิอากาศของจังหวัดบุรีรัมยมากท่ีสุด ปจจุบันมีการสงเสริมการขยายพันธุขาวใหมีขาวพันธุดีสําหรับการเพาะปลูกอยูตลอดไป โดยการสงเสริมจากกรมสงเสริมการเกษตรหรือจากภาคเอกชนท่ีนําเมล็ดพันธุดีมาใหเกษตรกรขยายพันธุโดยกําหนดพื้นท่ีท่ีเหมาสมตําบลแตละแหง เม่ือไดผลผลผลิตแลวก็จะรับซ้ือในราคาที่สูงกวาขาวท่ัวไป และหักคาเมล็ดพันธุท่ีนํามาใหเกษตรกรในตอนตน

5.3.4 ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย แรงงาน ปจจุบันปญหาแรงงานเปนปญหาสําคัญของภาคเกษตรกรรม ระยะเวลาในการทํานาจะมีเพียง 3 – 4 เดือน สมาชิกวัยหนุมสาวในครอบครัวเกษตรกรจึงตองหารายไดจากการทํางานรับจางในเมืองหรือกรุงเทพฯ การทํางานตองตอเนื่องจึงไมมีเวลามาชวยทํานา ตองใหคนสูงอายุทํานาแทน จึงจําเปนตองจางคนอ่ืนมาชวยทําในแตละข้ันตอนดังกลาวแลว ทําใหเกิดตนทุนจากคาจางเหลานั้นจํานวนมาก ทําใหเกษตรกรเหลือผลกําไรอยูนอยมาก ทําใหเกษตรกรยังคงยากจนอยูตอไป จะมีเพียงเกษตรกรสวนนอยท่ีไดตระหนักถึงเร่ืองดังกลาวหาทางลดตนทุน โดยการดําเนินงานเอง รูจักประหยัดอดออม พอท่ีจะอยูไดโดยไมมีหนี้สิน ความรู เกษตรกรในเขตชลประทานจะไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีความรูในดานตางๆ ท่ีเกี่ยวกับการใชน้ําชลประทานและดานการเกษตรอยูสมํ่าเสมอ ทําใหเกษตรกรสามารถถูกกระตุนใหมีการดําเนินกิจกรรมการเกษตรในรูปแบบตางๆ ไดงาย อีกท้ังในจังหวัดบุรีรัมยมีแหลงเรียนรูทางการเกษตรอยูมากมาย สามารถใหเกษตรกรไปศึกษา ดูงานและฝกอบรมได เชนมี “โรงเรียนแกจนแบบคนบุรีรัมย” ต้ังอยูในบริเวณศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดบุรีรัมย ท่ีตําบลเมืองยาง อําเภอชํานิ จังหวัดบุรีรัมย ดําเนินงานโดยความรวมมือจากหนวยงานตางๆ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อถายทอดเทคโนโลยีดานการเกษตรอยางครบวงจร ใหเปนตัวอยางและทางเลือกของเกษตรกรและผูสนใจท่ัวไป ไดศึกษาหาความรูเพื่อนําไปสรางอาชีพ และพัฒนาระบบการผลิตในพื้นท่ีของตนตามศักยภาพ โดยมี 13 กิจกรรมใหศึกษา ไดแก กิจกรรมดานการประมง ดานปศุสัตว ดานการเกษตรผสมผสาน การผลิตปุยอินทรีย

Page 106: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

95

การปลูกหมอนเล้ียงไหม การปลูกไมยืนตนและการปลูกพืชแซม การเพาะเห็ด การปลูกยางพารา กิจกรรมวนเกษตร การปลูกพืชผัก การปลูกไมผล และการปลูกไผเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังมีปราชญชาวบานและเกษตรกรดีเดนสาขาตางๆ ท่ีประสบความสําเร็จในอาชีพเกษตรกรรมเปนท่ียอมรับแลว เปนผูถายทอดประสบการณ ความรูแนวคิดการดําเนินชีวิตท่ีเหมาะสม เปนแบบอยางใหดําเนินตาม อยูมากมาย ความรับผิดชอบของเกษตรกร เกษตรกรในเขตชลประทานจะมีกิจกรรมท่ีตองทํารวมกันในลักษณะการรวมมือรวมใจกันอยูตลอดเวลา เชนการขุดลอกคูและคลองสงน้ํา เพื่อใหน้ําสามารถไหลสูแปลงเพาะปลูกไดสะดวก อยางนอยปละ 1 คร้ัง ซ่ึงจะมีการรวมมือรวมใจกันอยางดี การรับน้ําชลประทานเปนไปตามขอตกลงที่กลุมเกษตรกรไดรวมตกลงกันกําหนดข้ึนมา จากการสอบถามขอมูลการเปนสมาชิกกูยืมเงินจากแหลงเงินทุนตางๆ พบวาเกษตรกรในเขตพื้นท่ีชลประทานจะมีปญหาเร่ืองการไมชําระเงินตามกําหนดเวลานอยกวาเกษตรกรอ่ืน ท้ังนี้สวนหนึ่งเปนเพราะการไดผลผลิตท่ีดี และการมีระเบียบวินัย มีเกษตรกรในเขตชลประทานนอยรายท่ีนําเงินท่ีกูมาไดแลวซ้ือโทรศัพทมือถือ หรือส่ิงท่ีไมจําเปนแกการดํารงชีพหรือเพื่อการประกอบอาชีพ ในการนัดหมายเพื่อการประชุม จะไดรับความรวมมือเปนอยางดี พรอมเพรียงและตรงเวลา 5.3.5 ปจจัยดานสังคมและการเมือง การรวมกลุม เกษตรกรในเขตชลประทานจะมี 1 คนในครอบครัวเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ําชลประทาน โดยมีกลุมยอยท่ีสุดเปนกลุมในระดับคูสงน้ํา มีการกําหนดกฎขอบังคับของกลุมกันเอง และจดทะเบียนกลุมไวกับโครงการชลประทานท่ีรับผิดชอบการบริหารจัดการน้ํา แลวแตละกลุมก็เปนสมาชิกของกลุมใหญในระดับคลองสงน้ํา และระดับอางเก็บน้ําตามลําดับ นอกจากนี้อาจเปนสมาชิกของกลุมกิจกรรมอ่ืนๆ อีก เชนกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางการเมือง เปนตน เกษตรกรสวนใหญจะผานการฝกอบรมหลักสูตรตางๆ อยางนอย 1 หลักสูตร เรียนรูท่ีจะทํากิจกรรมรวมกันกับผูอ่ืน นอกจากนี้กรมชลประทานไดตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนรูจึงจัดใหมีกิจกรรมการศึกษา อบรม ดูงานและอ่ืนๆ ท่ีจะกระตุนใหเกษตรกรเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ใหไดมีการทํากิจกรรมกลุมอยางสมํ่าเสมอ สงผลใหเกษตรกรใหความรวมมือ สนองตอนโยบายดานตางๆ ของภาครัฐเปนอยางดี การดูงาน การฝกอบรมเปดโอกาสใหมีการสรางเครือขายระหวางเกษตรกรดวยกัน นอกจากนี้ยังมี

Page 107: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

96

เกษตรกรระดับแกนนํา ท่ีสามารถเปนตัวแทนหรือเปนผูนําในการดําเนินกิจกรรมดานตางๆ อยูมาก หากไดรับการพัฒนาเสริมศักยภาพความเปนผูนําท่ีเหมาะสม ก็จะสามารถนําพาหมูคณะดําเนินกิจกรรมท่ีเกิดประโยชนได 5.3.6 การสนับสนุนจากองคการภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จากท่ีกลาวมาแลววา เกษตรกรในเขตพื้นท่ีชลประทานมีความไดเปรียบท่ีแหลงน้ําสําหรับการเพาะปลูกอุดมสมบูรณกวาพื้นท่ีอ่ืน โอกาสท่ีภาคเอกชนจะมาใหความสนใจเขามาสงเสริมสนับสนุนดานตางๆ จึงมีมาก เชนการสงเสริมปลูกพืชฤดูแลง เพื่อใหเกษตรกรผลิตเมล็ดพันธุ หรือผลิตพืชท่ีเปนท่ีตองการตลาด โดยการสนับสนุนเมล็ดพันธุ ตลอดจนปจจัยการผลิตอ่ืนๆ รับซ้ือในราคาที่เปนธรรม ถายทอดเทคนิคความรูความรู หรือใหยืมปจจัยการผลิตแลวคอยชําระเงินเม่ือขายผลผลิตไดแลวโดยไมคิดดอกเบ้ียเพิ่ม หรืออาจลดราคาใหตํ่ากวาทองตลาด เพราะเปนพื้นท่ีท่ีตัวแปรเรื่องน้ําไมเปนปญหาในการผลิต สามารถควบคุมปริมาณน้ําใหแกพืชไดเหมาะสมกับความตองการของพืช ความเส่ียงเร่ืองจํานวนผลผลิตจึงไมมี กรมชลประทานเองเปดโอกาสใหเกษตรกรมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตางๆ ท่ีจะเกี่ยวของกับเกษตรกรไมวาโดยตรงหรือโดยออม เชน ใหเกษตรกรมีสวนรวมในการกําหนดแผนการปลูกพืชเอง แลวโครงการชลประทานบริหารจัดการน้ําใหสอดคลองกับชวงเวลาการใชน้ําของพืช อบรมการใชน้ําใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดโดยสม่ําเสมอ ใหเกษตรกรมีสวนรวมในการดําเนินการซอมแซมระบบสงน้ําเองโดยการจัดหางบประมาณมาใหเกษตรกรดําเนินการ นอกจากนี้ยังประสานกับหนวยงานอ่ืนๆ เพื่อใหการสนับสนุนในดานตางๆ ตามความเหมาะสมจําเปน

Page 108: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บทที่ 6

บทสรุปและขอเสนอแนะ

จากผลการวิจยัศักยภาพในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน ท่ีคณะผูวจิัยไดนําเสนอไปแลวขางตนนัน้ สามารถสรุปเปนประเดน็ตางๆ ไดดังนี ้

6.1 บทสรุปจากผลการวิจัย

6.1.1 ปจจัยดานเทคโนโลย ีในการดําเนินชีวิตของเกษตรกรน้ัน ตองมีการปรับตัวใหสอดคลองและทันตอการ

เปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอมภายนอกท่ีอยูรอบตัวอยูตลอดเวลา การทําเกษตรกรรมนั้นตองพึ่งพาแรงงานจํานวนมาก ครอบครัวเกษตรกรในอดีตจึงตองเปนครอบครัวขนาดใหญมีสมาชิกในครอบครัวมาก จากปญหาการตองใชแรงงานสมาชิกในครอบครัวทํางาน เกษตรกรจึงใหบุตรหลานศึกษาเลาเรียนเฉพาะการศึกษาภาคบังคับเทานั้น และดวยปญหาทางสภาพเศรษฐกิจ ทําใหขนาดครอบครัวของเกษตรกรเล็กลง การขยายการศึกษาภาคบังคับใหไดรับการศึกษาที่สูงข้ึน ลวนสงผลกระทบตอแรงงานในภาคการเกษตร การตองพึ่งพาเทคโนโลยีเคร่ืองจักรกลการเกษตรจึงเปนส่ิงท่ีหลีกเล่ียงไมได

การเขามาของเคร่ืองจักรกลการเกษตรขนาดเล็ก เชนรถไถนาเดินตาม ทําใหการใชแรงงานโคหรือกระบือหมดไป สาเหตุท่ีสําคัญมาจากการท่ีเกษตรกรตองดิ้นรนหาอาชีพเสริมเพื่อใหมีรายไดใหเพียงพอกับคาใชจายเพราะชวงเวลาการทํานาจะมีเพียง 3 – 4 เดือนเทานั้น เพราะการพึ่งพาอาชีพการเกษตรอยางเดียวไมอาจเปนหลักประกันความม่ันคงในชีวิตได จากความไมแนนอนของฤดูกาล เกิดปญหาฝนแลงฝนท้ิงชวง หรืออาจเกิดน้ําทวม ความไมแนนอนจากราคาพืชผล เกษตรกรจึงตองทําอาชีพอ่ืนๆ ดวย การเล้ียงโค กระบือจึงกลายเปนภาระในการเล้ียงดูหาแหลงอาหารให

การสงน้ําใหแกพื้นท่ีนานั้น จะสงในปริมาณท่ีตนขาวตองการ ทําใหอัตราการสงน้ําในแตละชวงการเจริญเติบโตขาวแตกตางกันไป การสงน้ําจะกําหนดปริมาณนํ้าแตละชวงไวแนนอน มีบางชวงท่ีมีการหยุดสงน้ําเพื่อปรับสภาพของดิน และหยุดสงน้ํากอนการเก็บเกี่ยว หากเกษตรกร

Page 109: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

98

เร่ิมตนปลูกพืชไมพรอมกับคนอ่ืนก็จะทําใหพื้นท่ีนาของตนมีปญหาในเร่ืองน้ํา ดวยปญหานี้จึงตองกําหนดใหเกษตรกรตองประชุมตกลงจัดทําแผนปลูกพืชเพื่อท่ีจะไดจัดทําแผนการสงน้ําสอดคลองกันไป ดังนั้นระยะเวลาการเตรียมแปลงจึงถูกกําหนดไวอยางแนนอน เกษตรกรในเขตชลประทานท่ีหันมาใชรถไถนาเดินตามที่ทํางานไดรวดเร็ว ทําใหสวนใหญไมเกิดปญหาเร่ืองการเตรียมแปลง เกษตรกรท่ีมีพื้นท่ีนาขนาดใหญประมาณ 10 ไรข้ึนไปมักตัดสินใจมีรถไถนาเดินตามเปนของตนเอง เพราะเม่ือเปรียบเทียบในระยะยาวแลวจะคุมคาลงทุน จะดีกวาการจางมาไถ คราด นอกจากนี้ยังรับจางคนอ่ืนไถนาเพิ่มรายไดอีกดวย สวนโอกาสท่ีจะฟนฟูนําแรงงานสัตวมาใชอีกนั้นคงทําไดยาก เพราะการไถ คราดท่ีนาเปนงานหนัก ตองใชสัตวท่ีผานการฝกมาเทานั้นจึงจะทํางานได และแมวาการวาจางเคร่ืองจักรกลมาทํางานใหจะตองเสียคาใชจายสูงพอสมควร แตดวยความจําเปนดังกลาวแลว จึงเปนส่ิงท่ีเกษตรกรยอมรับได และจะตองหาทางชดเชยคาลงทุนดวยส่ิงอ่ืนๆ ในกรณีการเก็บเกี่ยวโดยใชรถเก็บเกี่ยวนั้นเกษตรกรมีความพึงพอใจสูงเพราะเสียคาใชจายตํ่ากวาการใชแรงงานคนอีกท้ังมีการนวดขาวใหพรอมกันดวย ดังนั้น การมีเคร่ืองจักรกลการเกษตรเปนของตนเอง มีการยอมรับและมีความพึงพอใจในการใชเคร่ืองจักรกลชวยทุนแรงเพราะสะดวกรวดเร็วกวา จึงเปนปจจัยท่ีจะชวยในการพัฒนาดานการเกษตรของเกษตรกรไดมากยิ่งข้ึน เกษตรกรมีเวลาทําอยางอ่ืนไดมากข้ึน มีโอกาสที่จะหารายไดมาชดเชยคาใชจายในการจางเคร่ืองจักรกลดังกลาวไดมากกวา เกษตรกรมีแหลงขอมูลขาวสารมากมายท่ีจะชวยพัฒนาความรู ไมวาส่ือ หนังสือหรือ หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน เปนตน และท่ีสําคัญการมีเสียงตามสายประจําหมูบานเปนส่ิงท่ีจะสนับสนุนในดานขอมูลขาวสารไดมาก อีกท้ังเกษตรกรมีความพึงพอใจที่จะไดรับการเพ่ิมพูนความรูดานตางๆ เพราะเห็นวาเปนประโยชน 6.1.2 ปจจัยดานเศรษฐกิจ ในปจจุบันเกษตรกรสามารถเขาถึงแหลงทุนไดมากข้ึน และงายข้ึน อุปสรรคเร่ืองการขาดแคลนเงินทุนท่ีเปนปจจัยสําคัญในการทําเกษตรกรรมจึงเร่ิมหมดไป เกษตรกรมีโอกาสท่ีเพิ่มข้ึนท่ีจะพัฒนาตนเอง พัฒนาปจจัยเกี่ยวของกับการเกษตรอยางอ่ืนได ซ่ึงแหลงเงินทุนท่ีสําคัญ คือ ธ.ก.ส. กองทุนประจําหมูบาน เปนตน แตอยางไรก็ดีเกษตรกรตองใสใจเร่ืองความมีระเบียบวินัย ความซ่ือสัตย และความรับผิดชอบ เพราะส่ิงเหลานี้จะทําใหเกษตรกรสามารถบริหารดานการเงินของตนไดอยางมีประสิทธิภาพ เกษตรกรสวนใหญไดเรียนรูการทําบัญชีเบ้ืองตน ทําใหรูจักดํารงชีวิตท่ีเปนระบบมากยิ่งข้ึนรูจักยับยั้งช่ังใจในการใชจายท่ีจําเปนมากข้ึน เกษตรกรมีความพึงพอใจในการมีแหลงเงินทุน

Page 110: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

99

ปญหาท่ีสําคัญประการหนึ่งท่ีเกษตรกรประสบคือ การลงทุนท่ีสูงมาก โดยเปนคาจางในการทํากิจกรรมตางๆ ดังท่ีกลาวแลววาเกษตรกรสวนหน่ึงตองทํางานอยางอ่ืนเชน รับจาง เพื่อนําเงินมาจุนเจอคาปุย คายากําจัดศัตรูพืช สงผลใหเกษตรกรมีรายไดท่ีเปนผลกําไรนอย ท้ังนี้ดังท่ีกลาวแลววาเกษตรกรขาดแคลนแรงงานโดยคนในครอบครัวตองทํางานอยางอ่ืนเชน รับจาง ซ่ึงในปจจุบันนายจางจะไมใหลากลับมาเพื่อทํานาไดดังเชนอดีตหากไมทํางานนานนายจางก็พรอมท่ีจะหาคนใหมทําแทน เพราะนายจางก็ตองแขงขันในเชิงธุรกิจ อีกท้ังรูปแบบการระดมแรงงานในอดีตท่ีเรียกวา การลงแขก นั้นเปล่ียนเปนการจางแทนท้ังหมด เพราะการไมสามารถแลกเปล่ียนแรงงานกันอยางเปนธรรมไดโดย สวนใหญไมมีแรงงาน เม่ือพิจารณารายไดจากการเกษตรจากผลผลิตในเขตพื้นท่ีชลประทานท่ีสูงกวาผลผลิตเฉล่ียของพื้นท่ีท่ัวๆ ไป กับราคาผลผลิตท่ีมีแนวโนมสูงข้ึน นาจะอยูในเกณฑท่ีดี แตเนื่องจากมีคาลงทุนสูงจึงทําใหเกษตรกรมีรายไดนอย ถาไมรูจักควบคุมรายจายก็จะอยูไมได ตองเปนหนี้สินอยูตลอดเวลา 6.1.3 ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ เกษตรกรสวนใหญมีท่ีนาเปนของตนเอง และมีขนาดเพียงพอท่ีจะเล้ียงตนเองเพ่ือการบริโภคในครอบครัวได และส่ิงท่ีสําคัญคือเกษตรกรในเขตชลประทานจะมีน้ําทําการเกษตรไดสมบูรณกวาพื้นท่ีนอกเขต นับเปนขอไดเปรียบท่ีสําคัญ การปรับปรุงบํารุงดินก็ไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหดําเนินการอยูสมํ่าเสมอ ท้ังจากโครงการชลประทาน และหนวยงานอ่ืนๆ เกษตรกรมีความพึงพอใจในท่ีดินท่ีตนมีอยูคอนขางสูง และตองการท่ีจะทําใหท่ีดินของตนมีความอุดมสมบูรณ แตอยางไรก็ตาม เกษตรกรยังประสบปญหาเร่ืองการปลูกพืชฤดูแลงในเร่ืองของตลาดและราคาท่ีไมเปนธรรม จึงมีการปลูกพืชฤดูแลงนอย ทําใหการใชประโยชนจากท่ีดินยังไมเต็มท่ี 6.1.4 ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย จากขอมูลท่ีไดพบวาเกษตรกรขาดแรงงานในการทําเกษตรกรรม โดยสมาชิกในครอบครัวตองไปทํางานอ่ืนๆ และไมมีเวลามาชวยเพาะปลูกได ซ่ึงการทําเกษตรกรรมนั้นตองใชแรงงานมาก ในอดีตจะมีการลงแขกชวยเหลือกัน แตปจจุบันดวยภาวะทางเศรษฐกิจบังคับตางๆ จึงตองใชการจางทําแทน จนบางรายตองใหผูอ่ืนเชาท่ีนาทําแทนจากการท่ีไมมีแรงงานหรือไมสามารถแบกรับภาระการลงทุนท่ีตองใชเงินจํานวนมากได

เกษตรกรสวนใหญจะไดรับการฝกอบรม ศึกษา ดูงานท่ีเกี่ยวของกับการใชน้ําและการเกษตรอยูสมํ่าเสมอ ซ่ึงเปนประโยชนตอเกษตรกรในการจะนํามาปรับปรุงการผลิตของตน จึงมีความพึงพอใจและใหความรวมมือเม่ือหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของมาแนะนําสนับสนุนในเร่ืองตางๆ

Page 111: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

100

และไดมีโอกาสแลกเปล่ียนประสบการณกันดวย แตจํานวนของเกษตรกรท่ีนําความรูมาใชประโยชนอาจยังนอยอยู 6.1.5 ปจจัยดานสังคมและการเมือง เกษตรกรในเขตชลประทานจะตองเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ําโดยคิดตามแปลงเพาะปลูกโดยหนึ่งแปลงตองเปนสมาชิก 1 คน เพื่อท่ีจะไดมารวมตกลงในการวางแผนปลูกพืช และวางแผนการสงน้ํารวมกันกับโครงการชลประทาน ซ่ึงแตละกลุมจะมีการกําหนดกฎขอบังคับกันข้ึนมาเพื่อไมกอใหเกิดความขัดแยงในการใชน้ําชลประทาน และการรวมมือกันทํากิจกรรมรวมกัน เชนการขุดลอกคู หรือคลองสงน้ํา เกษตรกรจึงมีความเคยชินในการรวมกลุมและทํางานรวมกัน ซ่ึงเกษตรกรมีความพึงพอใจในการรวมกลุมใหความรวมมือเปนอยางดี นอกจากนี้ยังเปนสมาชิกของกลุมกิจกรรมอื่นๆ อีกดวย เกษตรกรจึงมีความต่ืนตัวท่ีจะทํากิจกรรมตางๆท่ีหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน ใหการสงเสริมสนับสนุนดานตางๆ 6.1.6 การสนับสนุนจากองคกรภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ดังไดกลาวแลววาเกษตรกรสวนใหญมีความคุนเคยกับการรวมกลุมทํางานเปนทีม มีการประสานกับหนวยงานตางๆเปนประจําอยูแลว โอกาสการไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐนั้นมีอยูสมํ่าเสมอ เกิดการต่ืนตัวในการเรียนรู เห็นความสําคัญของการมีความรูหรือการรับความรูใหมตลอดเวลา อีกท้ังความไดเปรียบในเร่ืองมีแหลงน้ําสมบูรณ จึงมักมีภาคเอกชนเขามาสงเสริมสนับสนุนดานตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับการเพาะปลูกอยูเสมอ จากการศึกษาวิเคราะหขอมูลท่ีเกี่ยวของขางตน อาจสรุปไดวา จากสมมุติฐานการวิจัยในคร้ังนี้ท่ีวา ปจจัยดานตางๆ อันไดแก ปจจัยดานเทคโนโลยี ปจจัยดานเศรษฐกิจ ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย ปจจัยดานสังคมและการเมือง และการสนับสนุนจากองคกรภายนอกท้ังภาครัฐและเอกชน นั้น ทุกปจจัยมีผลตอศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกร ยกเวนปจจัยดานทรัพยากรมนุษยท่ีเกษตรกรคอนขางเปนผูสูงอายุ ท่ีอาจเปนอุปสรรคในการพัฒนา แตก็สามารถแกไขไดโดยใชการกระตุนท่ีเหมาะสมอยางตอเนื่องและใชวิธีการทํางานเปนกลุมท่ีเกษตรกรคุนเคย และการสรางแกนนําเกษตรกรท่ีมีความสามารถ ใหเกิดกลุมท่ีมีความเขมแข็งเปนตัวผลักดัน

Page 112: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

101

6.2 ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย

ขอเสนอแนะท่ีจะนําเสนอตอไปนี้จะเปนขอเสนอแนะท้ังในเชิงนโยบาย และเชิงปฏิบัติ ซ่ึงจะกลาวรวมๆ กันไป ไมแบงแยก เพื่อใหเกิดการสอดคลองตอเนื่องกันไปในการนําเสนอ

6.2.1 ขอเสนอแนะเก่ียวกับปจจัยดานเทคโนโลยี การที่เกษตรกรตองพึ่งพาเคร่ืองจักรกลการเกษตร อยูเปนจํานวนมาก เปนท่ีทราบกันดีวา

ปญหาราคาน้ํามันสงผลกระทบตอตนทุนการผลิตสูงและมีแนวโนมจะสูงข้ึนเร่ือยๆ แนวทางการใชประโยชนจากพืชน้ํามัน เชนปาลม สบูดํา และอ่ืนๆ และการนําน้ํามันท่ีใชแลวมาปรับปรุงคุณสมบัติใหใชกับเคร่ืองจักรกลการเกษตรไดเปนแนวทางท่ีเกษตรกรจะตองชวยกันคิดและชวยกันทํา เพราะเปนการลดรายจายไดมาก โดยตองรวมกลุมกันทําจึงจะประสบความสําเร็จ ในข้ันตนตองศึกษาขอมูลหาความรู และหากเปนไปไดการศึกษาจากกลุมเกษตรกรท่ีไดดําเนินการในเร่ืองนี้แลวและประสบความสําเร็จเปนส่ิงท่ีนาทําเพราะจะมองเห็นภาพรวมดานตางๆ ชัดเจนและเร็วข้ึน

การที่รัฐบาลกําหนดวาระแหงชาติเปล่ียนระบบการผลิตเปนเกษตรอินทรีย และมีแบบอยางชุมชนท่ีประสบความสําเร็จเปนอยางสูงแลวนั้น เกษตรกรควรเอาเปนแบบอยาง เพราะแนวทางเกษตรอินทรียจะชวยทําใหเกษตรกรลดคาใชไดเปนอยางมากในเร่ืองของปุย และยาปราบศัตรูพืช โดยตองเรงศึกษาหาความรูในเร่ืองดังกลาว และนํามาปฏิบัติ เม่ือหนวยงานภาครัฐหรือเอกชนเขามาสงเสริม

เกษตรกรจะตองรวมกันศึกษาหาความรู พึงพาตนเองโดยนําภูมิปญญาท่ีมีอยูในทองถ่ินมาปรับใชและสรางความรูในแนวทางท่ีสอดคลองกับสภาพชีวิตในปจจุบันของเกษตรกรเอง ใหเกิดความเขมแข็งทางความคิด ท่ีจะพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน

6.2.2 ขอเสนอแนะเก่ียวกับปจจัยดานเศรษฐกิจ ในปจจุบันแมวาเกษตรกรจะมีแหลงเงินทุนในระบบท่ีจะใหกูยืมไดงายและมีข้ันตอนไม

ยุงยาก แตเกษตรกรตองไมละเลยถึงการมีทุนเปนของตนเองหรือกลุมตนเอง มีการบริหารเงินทุนกันเองก็จะเปนประโยชน เพราะหากเกษตรกรมีกองทุนเปนของตนเองดอกเบ้ียท่ีเกษตรกรตองชําระก็จะนํามาเปนประโยชนตอพวกตนไดโดยตรง และหากมีเงินทุนสูงพอก็อาจใหกลุมอ่ืนกูยืมได ซ่ึงมีตัวอยางใหเห็นกลุมกองทุนออมทรัพยท่ีประสบความสําเร็จมากมาย ทุกแหงเร่ิมตนจากกองทุนเล็กๆ แลวพัฒนาเปนกองทุนขนาดใหญในเวลาตอมาท้ังส้ิน

Page 113: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

102

กลุมเกษตรกรจะตองมีความรูดานการตลาด ตองรูจักประเมินความตองการของตลาด รูจักหาแหลงรับซ้ือผลผลิตท่ีใหราคาเปนธรรมและผลิตพืชผลท่ีมีคุณภาพ ไมผลิตโดยไรทิศทางหรือผลิตตามคําแนะนําของเจาหนาท่ีรัฐอยางเดียว ปจจุบันมีภาคเอกชนจํานวนมากที่ดําเนินธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตร ท่ีพรอมจะใหความสนับสนุนดานตางๆ และรับซ้ือผลผลิตในราคาเปนธรรม เกษตรกรจะตองมีการรวมกลุมรวมมือกันอยางเขมแข็งจริงจัง แสดงใหประจักษถึงความสามารถ แลวผลสําเร็จจะเกิดข้ึนตามมา และเม่ือเห็นวาการทํานาไมสามารถชวยใหมีรายไดเพียงพอ เกษตรกรก็ตองพิจารณาศึกษาหารูปแบบการเกษตรอยางอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับท่ีดิน ความสามารถของตน และความตองการของตลาด คอยๆปรับเปล่ียนการผลิต ท่ีจะสามารถพึ่งตนเองในครอบครัวไดกอนแลวขยับขยายไปสูการคาท่ีเพิ่มมากข้ึน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงท่ีไดรับการพิสูจนแลววาสามารถทําไดจริง

เกษตรกรตองหันมาใสใจระบบการเงินของตนเองอยางจริงจัง ตองรูจักบันทึกขอมูลการเงินในรูปบัญชีฟารมท่ีหนวยงานราชการกําลังสงเสริมแนะนําอยูในปจจุบัน เพราะเปนวิธีการเดียวท่ีจะทําใหเกษตรกรรูการใชจายของตนวามีส่ิงใดเปนคาใชจายไมจําเปนท่ีจะตองลดลงหรือจะตองเพิ่มรายไดอีกเทาใดจึงจะเพียงพอ รายจายเล็กๆนอยท่ีเกษตรกรไมไดคิดถึงรวมกันแลวจะมีจํานวนมากในแตละเดือนหรือแตละป ยกตัวอยางเชน เกษตรกรไมไดปลูกพืชผักสวนครัวท่ีจําเปนในการประกอบอาหารประจําวัน พวกพริก ขา ตะไคร มะกรูด มะนาว มะละกอ แตอาศัยการซ้ือหาจากรานคาเพราะเห็นวาซ้ือคราวละไมกี่บาท แตส่ิงเหลานี้ตองใชเปนประจําทุกวัน และเกษตรกรก็สามรถปลูกเองไดในพื้นท่ีท่ีบาน หากเกษตรกรสามารถคิดลดคาใชจายจากส่ิงเล็กๆนอยๆไดแลวตอไปก็จะสามารถลดคาใชจายไมจําเปนอ่ืนๆ ไดอีกมากมาย ในระดับตอไปปรับปรุงรายไดรายจายใหเกิดความสมดุล หรือเกิดการเพียงพอแลวปรับไปสูการมีเงินเก็บออม ลดการกูยืมและพึ่งพาเงินทุนของตนเองไดในท่ีสุด

6.2.3 ขอเสนอแนะเก่ียวกับปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ ในเชิงปริมาณของท่ีดิน ของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทานนั้นโดยรวมแลวจํานวนข้ัน

ตํ่าท่ีสุดถือวาเพียงพอท่ีจะใชในการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน นอกจากน้ีเร่ืองของแหลงน้ําก็มีความอุดมสมบูรณกวาพื้นท่ีนอกเขตชลประทาน เกษตรกรตองวางแผนการใชประโยชนจากที่ดินใหคุมคา หลังทํานาแลว ควรปลูกพืชในฤดูแลงท่ีใชน้ํานอย ในจํานวนท่ีสามารถทําไดเองท้ังหมด ไมตองจางแรงงาน หรือตองกูเงินจํานวนมากมาลงทุน และตองมีการปรับปรุงบํารุงดินโดยใหเสียคาใชจายนอยท่ีสุดโดยการผลิตปุยหมัก ปุยอินทรีย หรือปุยชีวภาพใชเอง ซ่ึงเกษตรกรมีปจจัยท่ีใชในการผลิตโดยไมตองซ้ือหาในชุมชนตนเองอยูแลว เกษตรกรเพียงใชเวลาและกําลังแรงกายในการ

Page 114: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

103

ผลิตเทานั้น นอกจากนี้ตองปรับเปล่ียนการเตรียมพื้นท่ีจากการเผาตอซังเปนการไถกลบแทนเพราะทําใหเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน และไมทําใหโครงสรางของดินเสียหาย รูจักคิดปลูกพืชท่ีชวยบํารุงดิน เชนพืชตระกูลถ่ัว โดยไมมุงหวังการเก็บเกี่ยวผลผลิตเปนสําคัญตองถือวาผลผลิตเปนผลพลอยได และเก็บเอาไวใชประโยชนตอๆ ไปอีก

จากปญหาท่ีไดพบในเร่ืองความอุดมสมบูรณของดินท่ีสวนใหญยังไมไดมีการตรวจสอบ

นั้น จะเปนผลโดยตรงกับการใชปุยของเกษตรกร เพราะในเม่ือเกษตรกรไมรูวาท่ีดินของตนนั้นดินดีหรือไม มีธาตุอาหารอะไรมากนอยเพียงใด การใชปุยจึงไมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงสมควรท่ีจะตองใหมีการตรวจสอบความอุดมสมบูรณของดินของเกษตรกรทุกแปลง โดยหนวยงานท่ีเกี่ยวของอาจฝกอบรมวิธีการใหกับเกษตรกรเพื่อเปนอาสาสมัคร ใหมีความรูในการตรวจสอบ การวิเคราะหผล เม่ือรูคุณภาพของดินแลวก็จะสามารถใสปุยไดถูกตองวาควรใชปุยสูตรใด และเม่ือเปล่ียนมาใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพ ก็จะรูวาควรใสมากนอยเพียงใด

6.2.4 ขอเสนอแนะเก่ียวกับปจจัยดานทรัพยากรมนุษย ดังท่ีกลาวแลววาแรงงานมีความจําเปนในการทําเกษตรกรรม ซ่ึงโดยรวมแลวทุกครัวเรือน

เกิดปญหาขาดแคลนแรงงาน การลงแขก ท่ีชวยเหลือกันในอดีตไมสามารถทําไดอีกตอไป เพราะสมาชิกในครอบครัวในวัยทํางาน มักตองทํางานอยางอ่ืนจึงไมมีเวลามาชวยในการทําเกษตรกรรมของครอบครัวไดเต็มท่ี เกษตรกรจะตองชดเชยการลงทุนเหลานี้ ดวยการสนใจหาความรูในการท่ีจะชวยในการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพผลผลิต โดยไมเสียคาใชจายหรือเสียคาใชจายนอยท่ีสุดคุมคากับผลท่ีจะไดรับ

เปนท่ีประจักษรับรูกันในหมูเกษตรกรทั่วไปวา เกษตรกรที่ประสบความสําเร็จสามารถทําโดยตัวคนเดียวนั้นมีนอยมาก สวนใหญอาศัยความเขมแข็งจากการรวมกลุม ระดมความคิดสรางความรูเปนของตนเอง ชวยเหลือเสียสละเพ่ือสวนรวม ซ่ึงความเสียสละเพื่อสวนรวมน้ีเปนรากฐานสําคัญของสังคมเกษตรกรในอดีตท่ีปจจุบันถูกละเลยไปมาก ดวยความจําเปนทางเศรษฐกิจทําใหมองเห็นเงินทองเปนเร่ืองสําคัญ

ในแนวทางการพัฒนาเพื่อพึ่งพาตนเองท่ีเกษตรกรสามารถเรียนรูไดจากแหลงเรียนรูท่ีเปนผูประสบความสําเร็จ เปนปราชญชาวบานนั้น สวนใหญบุคคลดังกลาวกอนท่ีจะประสบความสําเร็จก็เคยประสบปญหาเชนเกษตรกรท่ัวไปมากอน แตดวยความใสใจศึกษาหาความรูความขยันหม่ันเพียร ปรับปรุงพัฒนาตนเองและแนวทางการผลิตจนประสบความสําเร็จในท่ีสุดทุกคน ซ่ึงเกษตรกรในเขตชลประทานสวนใหญจะไดรับทราบจากการศึกษาดูงานอยูแลว โดยสวนใหญ

Page 115: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

104

จะแนะนําใหพัฒนาที่ตัวเกษตรกรเองกอนเปนอันดับแรก จะตองมีการลดละเลิก อบายมุขท้ังปวง ไมใชจายส่ิงไมจําเปนตอการดํารงชีพ สรางความมีวินัย ความซ่ือสัตย ความรับผิดชอบใหเกิดแกตนเอง ใสใจหาความรูท้ังจากผูรูท่ีประสบความสําเร็จ และทดลองทําจริงดวยตนเอง เทาท่ีความสามารถของตนจะทําไดกอน ท่ีสําคัญตองมีความขยันไมเกียจคราน และพยายามมุงม่ันและตองเชื่อม่ันวาเม่ือคนอ่ืนทําไดตนเองก็ตองไปสูความสําเร็จนั้นใหไดเชนกัน นอกจากน้ีจะตองมีการสรางหรือพัฒนาเกษตรกรแกนนําเพื่อจะไดมาเปนตัวแทนหรือผูนํากลุม ไมเชนนั้นก็จะไมสามารถสรางกลุมท่ีเขมแข็ง ดําเนินกิจกรรมท่ีตอเนื่องข้ึนมาได

6.2.5 ขอเสนอแนะเก่ียวกับปจจัยดานสังคมและการเมือง เกษตรกรจะมีการเขารวมกลุมกันอยูแลวทุกคน ส่ิงท่ีเกษตรกรจะตองทําคือการทําใหกลุม

มีความเขมแข็งและพัฒนาไปสูการสามารถยืนอยูบนลําแขงของตนเองได เกษตรกรจะตองพัฒนาเครือขายกับกลุมอ่ืนๆ เพื่อขยายฐานความรวมมือ ขยายการเรียนรูรวมกัน สรางความเขมแข็งใหเกิดข้ึนท้ังระดับกลุมและเครือขาย และใชพลังของกลุมหรือเครือขายผลักดันไปสูการพึ่งพาตนเองในทุกดาน ตัดแนวคิดเร่ืองการรับความชวยเหลือจากทางราชการออกไป หนวยงานภาครัฐเองก็ตองปรับเปล่ียนรูปแบบการสนับสนุนสงเสริมชวยเหลือท่ีจะนําไปสูการใหเกษตรกรพึ่งพาตนเองใหได

อนึ่งจากการท่ีเกษตรกรสวนใหญคอนขางสูงอายุ และมีการศึกษาเพียงระดับประถมศึกษาเปนสวนใหญ ส่ิงเหลานี้ถาจะมองวาเปนอุปสรรคในการพัฒนาดานตางๆ ก็ไมนาจะถูกตอง เพราะการเรียนรูส่ิงใหมๆ ท่ีเหมาะสมนั้นไมเกี่ยวกับอายุและพ้ืนฐานการศึกษาเดิม จนมีผูกลาวไววา การศึกษานั้นเรียนรูไดต้ังแตเกิดจนตาย โดยตองรูจักเลือกท่ีจะเรียนรูในส่ิงท่ีเปนประโยชนและเหมาะสมกับตน การเปดโอกาสใหคนรุนใหมไดเขามามีบทบาททํางานใหกลุมมากข้ึน สรางความเปนผูนําใหเกิดกับสมาชิกในกลุม ใหทุกคนไดมีสวนแสดงความสามารถท่ีตนถนัด ใหทุกคนมีสวนรวมอยางเต็มท่ี ไมใชรอประธานกลุมอยางเดียว ตัวประธานเองก็ตองปรับแนวคิดใหกวางไกล พัฒนาสมาชิกใหสามารถปฏิบัติหนาท่ีตางๆ ตามความเหมาะสม โดยการมอบหมายภารกิจท่ีเหมาะสมใหสมาชิกผลัดเปล่ียนกันรับผิดชอบ เชนผลัดเปล่ียนกันรับผิดชอบในการดําเนินการประชุมกลุม หรือเปล่ียนกันไปติดตอประสานงานกับองคกรภายนอก ไมปลอยใหเปนภาระของประธานท้ังหมด ไมเชนนั้นก็จะไมสามารถสรางความเขมแข็งใหกลุมอยางม่ันคงได

Page 116: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

105

6.2.6 ขอเสนอแนะเก่ียวกับการสนับสนุนจากองคกรภายนอกภาครัฐและภาคเอกชน ดังท่ีกลาวแลววา องคกรภาครัฐและภาคเอกชนจะตองเปล่ียนรูปแบบแนวทางการ

สนับสนุนสงเสริมชวยเหลือ ท่ีจะนําไปสูการทําใหใหเกษตรกรพ่ึงพาตนเอง เกิดความเขมแข็งม่ันคง และตองทําโดยใหเกษตรกรเปนผูมีสวนรวมในการคิดการตัดสินใจเอง รูจักแกไขปญหาเอง ตองใหขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนจําเปนตออาชีพ และสงเสริมใหเกษตรกรคนหาขอมูลขาวสารเอง เม่ือเกษตรกรไดพัฒนาทางความคิดเพิ่มข้ึนเร่ือยๆ ก็จะมีความเขมแข็งดําเนินกิจกรรมตางไปได

6.3 ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยในอนาคต จากการที่มีขอจํากัดในการวิจัยหลายดาน ไมวาจะเปนเร่ืองเวลา ท่ีคณะผูวิจัยไมไดมีโอกาสลงไปสัมผัสกับวิถีชีวิตของเกษตรกร ไดเรียนรูในระดับลึก ขอมูลท่ีไดจึงเปนขอมูลผิวเผินท่ีดูเหมือนวาเปนส่ิงท่ีรับรูกันท่ัวไป แตยังมีขอมูลอีกมากท่ีไดรับรูและเพิ่มความเขาใจในชีวิตของเกษตรกรมากข้ึน อีกท้ังประเด็นการศึกษาบางอยางเปนส่ิงท่ีจุดประกายความคิดใหกับหนวยงานราชการท่ีคณะผูวิจัยไดไปสัมภาษณ เชน เร่ืองการเก็บขอมูลเกี่ยวของกับเกษตรกรท่ีหนวยงานราชการทําอยูนั้นบางเร่ืองท่ีคิดวาไมสําคัญ เชน การมีเคร่ืองจักรกลการเกษตร ไมมีการสํารวจเก็บขอมูล เอาไว หรือการจัดการศึกษา ดูงาน ฝกอบรมใหกับเกษตรกร ก็ขาดการติดตามประเมินผลวาเกษตรกรนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนอยางไร เกิดผลเปล่ียนแปลงอยางไร คณะผูวิจัยจึงมีขอเสนอแนะสําหรับผูท่ีจะทําการวิจัยทางดานสังคมท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกรนั้น การสัมภาษณเชิงลึก จะไดรับขอมูลความรูมากมายจากเกษตรกร ผูวิจัยควรท่ีศึกษาวิถีชีวิตของเกษตรกรโดยการสังเกตพฤติกรรมดวย จะทําใหไดรับทราบขอมูลดานอ่ืนๆ ดวย นอกจากน้ีหากศึกษาเกษตรกรในเขตชลประทานควรท่ีศึกษากลุมตัวอยางท่ีเปนเกษตรกรนอกเขตชลประทานดวย จะไดมีขอมูลเปรียบเทียบใหเห็นไดชัดเจนยิ่งข้ึน และท่ีสําคัญคือจะตองมีเวลาในการศึกษามากพอเพราะการสัมภาษณหรือสอบถามเกษตรกรจะใชเวลามากโดยเฉพาะการสัมภาษณเจาะลึกการสัมภาษณเกษตรกรเปนกลุมยอย 4 - 5 คนโดยเก็บบันทึกขอมูลลักษณะเปนขอมูลท่ัวไปที่จะนํามาประเมินเปนคาเฉล่ีย จะเกิดผลดีมากกวาการสัมภาษณคนเดียว เพราะสวนใหญผูตอบมักไมม่ันใจวาจะใหขอมูลถูกตองหรือไม แตหากสัมภาษณเปนกลุมผูตอบก็จะใหขอมูลไดมาก รวดเร็วข้ึนและไดขอมูลหลากหลายในคราวเดียว รวมท้ังทําใหเกิดการแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหวางผูถามกับกลุมผูใหขอมูลหรือแลกเปล่ียนกันความคิดกันของกลุมเอง ทําใหไดรับขอมูลขยายลึกลงไปไดอีก และการสัมภาษณนั้นควรกําหนดกรอบไวกวางๆ เพื่อท่ีจะใหผลของการตอบนําไปสูคําถาม

Page 117: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

106

ตอไปไดเอง จะไดรับขอมูลท่ีแตกตางหลากหลาย แตหากเปนการสัมภาษณท่ีมีรูปแบบ คือมีคําถามกําหนดไวตามลําดับตายตัวไมมีการขยายผลโดยการนําคําตอบไปสูการต้ังคําถามใหม ก็จะไดรับขอมูลท่ีดูเหมือนจะคลายกันท้ังหมด ไมเกิดความแตกตาง ซ่ึงในชวงแรกคณะผูวิจัยไดใชวิธีการสัมภาษณแบบมีรูปแบบการถาม เม่ือคิดวาไมไดรับขอมูลท่ีจะเกิดประโยชนมากนัก จึงเปล่ียนเปนการสัมภาษณท่ีไมมีรูปแบบการถาม เพียงแตมีกรอบการวิจัยเปนตัวควบคุม ทําใหไดขอมูลท่ีดีกวา หลากหลาย และไดรับรูแนวความคิด มีการวิพากษวิจารณ เกิดความเปนกันเองเกิดข้ึนในเวลาไมนาน เพราะเปนเหมือนการพูดคุยกันตามปกติท่ัวไป ไมมีความเปนทางการ ผูถามก็ถามไดหลายคนผูตอบก็ตอบไดหลายคนพรอมกัน นอกจากนี้การสัมภาษณควรใชการบันทึกเสียงแทนการถามไปจดบันทึกไป เพราะจะทําใหเกิดความรวดเร็ว ไมเกิดการสะดุด ใหความรูสึกท่ีดีแกผูตอบไดดีกวาและโดยประสบการณสวนตัวของคณะผูวิจัยท่ีเคยใหสัมภาษณ เพื่อการวิจัยมากอน เห็นวาการถามไปจดไปทําใหผูตอบคําถามมีความรูสึกวาท่ีตอบเปนเพราะถูกถาม ไมใชการถามแบบการพูดคุยท่ัวไป

Page 118: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

บรรณานุกรม

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. 2545. โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอยางยัง่ยืน.พิมพคร้ังท่ี 11.กรุงเทพมหานคร: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย.

จรัส สุวรรณมาลา. 2546. การมีสวนรวมของพลเมืองในการปกครองสวนทองถ่ิน. รัฐสภาสาร. 51(กมุภาพันธ): 1-6. จารุพงศ พลเดช. 2546. การบริหารแบบมีสวนรวมและการใหอํานาจปฏิบัติ. วารสารพัฒนาชุมชน. 42(เมษายน): 3-18. จุลมณี ไพฑูรยเจริญลาภ และเศวต งามสรรพ. 2543. ขาวพันธุดี. กองสงเสริมพืชไรนา กรมสงเสริมการเกษตร. จุลศักดิ์ ชาญณรงค. 2546. ธุรกิจชุมชน:ตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม. สุทธิปริทัศน. 17(มกราคม - เมษายน): 80-86. ชินรัตน สมสืบ. 2539. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. นนทบุรี . สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ณรงค โชควัฒนา. 2543. สูตรสูความสําเร็จ...เศรษฐกิจพอเพียง. วิชาการสถาบันราชภัฏเทพสตรี

สาร. 2(มกราคม): 26-31. ณัฐนพนัธ นวมสําราญ. 2544. แผนแมบทการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน. วารสารวิชาการปริทัศน. 9(ตุลาคม): 16 – 20. ทินกร การรักษา, นพรัตน ธํารงทรัพย, เพ็ญพิศ นุกูลสวัสดิ์, ปณิชา รักอํานวยกิจ และไอยศูรย สิงหนาท. 2548. การศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกแหลงเงินทุน เพื่อแกไขปญหาความยากจน กรณีศึกษา : อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัดบุรีรัมย. ภาคนิพนธ

หลักสูตรปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สถาบันบัณฑติพัฒนบริหารศาสตร. ธรรมรักษ การพิศิษฏ. 2546. การพัฒนาเศรษฐกิจท่ียั่งยืน:วาระท่ีคั่งคางของสังคมไทยในป 2546.

วารสารขาราชการ. 48(มีนาคม-เมษายน): 38-42. นิตยา กมลวัทนนิศา. 2545. ความอยูดีมีสุข:เปาหมายสุดทายของการพัฒนา. วารสารเศรษฐกิจและ

สังคม. 39(มกราคม-กุมภาพนัธ): 8-16. ประชา เตรัตน. 2543. การพัฒนาแบบยั่งยนื. วารสารรัฐสภาสาร. 48(8สิงหาคม): 47 - 60.

Page 119: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

108

พจนา เอ้ืองไพบูลย. 2546. การพัฒนาท่ียัง่ยืน. เศรษฐกจิและสังคม. 40(3กรกฎาคม – สิงหาคม): 41-45.

พลเดช ปนประทีป, ชาญ รูปสม, ธีระ วัชรปราณี และมาลัย มินศรี. 2547. ประมวลขอมูลและองคความรูเบื้องตน สําหรับการขับเคล่ือนปุยชีวภาพเปนวาระแหงชาติ การสงเสริมเกษตรอินทรียเพื่อความเขมแข็งของประเทศ. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนทองถ่ิน.

พีรพล ไตรทศาวิทย. 2544. กํานัน ผูใหญบานกับกระบวนการประชาคม. วารสารกาํนันผูใหญบาน. -(-): 41-45. พีระพจน รัตนมาลี. 2545. สมัชชาคนจน:ภาพสะทอนการเมืองของคนชายขอบ. วารสารรัฐสภาสาร. 50(กนัยายน): 57-71. ไพบูลย ชางเรียน. 2539. การศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนนการปลูกพืชและเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจ รวมท้ังองคกรดานการตลาดของเกษตรกร ในทศวรรษหนา. กรุงเทพฯ: โครงการเอกสารและตํารา คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. มานิตย ทวีกสิกรรม. 2544. กระบวนการพัฒนาแบบมีสวนรวมของชุมชน. วารสารวิชาการปริทัศน. 9(มีนาคม): 14 - 17. ยอดชาย ชุติกาโม. 2544. กระบวนการพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในงานวิจัยแบบ

Paricipatory Research ภารกิจของแผนพัฒนาบนความดอยพฒันา. วารสารมนษุยสังคมวิชาการ 2544. -(-): 57-63.

ยุบลวรรณ ประมวญรัฐการ. 2542. การเปล่ียนแปลงกระบวนทัศนใหม เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในสังคมไทย. นักบริหาร. 19(ตุลาคม – ธันวาคม): 54 - 60. วรวิทย อวิรุทธวรกุล. 2544. ชุมชนเขมแข็ง : รากฐานการพัฒนาประเทศท่ียั่งยืน. เศรษรฐกิจและ

สังคม. 38(มกราคม-เมษายน): 18-26. วัลลี หลีสันติพงศ. 2542. ทิศทางการพฒันาคนไทยและประเทศไทย. วารสารวิชาการ-กรมวิชาการ. 2(2กมุภาพันธ): 6-16. วิชัย สุภาโสต. 2549. เกษตรอินทรีย. กรุงเทพฯ: เอกสารเผยแพร สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

กรมชลประทาน. วินิจ เกตุขํา และคมเพชร ฉัตรศุภกุล. 2522. กระบวนการกลุม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร. วิรัช วิรัชนภิาวรรณ. 2546. วิเคราะหลักษณะอุปนิสัยของคนไทยท่ีเปนอุปสรรคตอการพัฒนา

ประเทศ. รัฏาฐาภิรักษ. 45(4ตุลาคม-ธันวาคม): 30-41.

Page 120: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

109

วีระวัฒน ปนนิตามัย. 2548. การพัฒนาคนอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ศิริ ทิวะพนัธุ. 2544. การสรางชุมชนเขมแข็ง. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร. 9(1มกราคม-มิถุนายน):

92-96. ศิริกุล กสิวิววิฒัน. 2546. การมีสวนรวมของประชาชนเปนอยางไร. วารสารพัฒนาชุมชน . 42(

มิถุนายน): 9-21. สมัชชา โยชนชัยสาร. 2543. สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน. วารสารวชิาการปริทัศน. 8(ตุลาคม): 11 สวนปรับปรุงบํารุงรักษา สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน. 2548. เอกสารเผยแพร :

การขับเคล่ือนวาระแหงชาติเกษตรอินทรียตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: กรมชลประทาน.

สัญญา สัญญาวิวัฒน. 2542. ทฤษฎีสังคมวิทยา การสราง การประเมินคา และการใชประโยชน. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สาโรจน คัชมาตย. 2544. บทบาทกํานัน ผูใหญบานในการสงเสริมประชาสังคมมีสวนรวม ในองคกรปกครองสวนทองถ่ิน. วารสารกํานันผูใหญบาน. -(-): 37 - 40. สุพล วังสินธ. 2543. กระบวนทรรศนใหมในการพัฒนา. วารสารวิชาการกรมวิชาการ.

3(สิงหาคม): 15 - 21. สุเมธ ตันติเวชกุล. 2543. การดําเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารขาราชการ. 45(มีนาคม - เมษายน): 1-6. สุวัฒน ชางเหล็ก. 2545. การพัฒนาประเทศตามแนวทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจ

พอเพียง. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏนครราชสีมา 2545. -(-): 1-24.

อดศัิกดิ์ นอยสุวรรณ. 2543. ผลแหงการพฒันา:เศรษฐกิจชุมชนมุมมองจากองคกรธุรกิจชุมชน. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช. 13(พฤษภาคม - สิงหาคม): 79 - 83.

Page 121: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามที่ใชสํารวจขอมูลสําหรับการวิจัย

Page 122: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

111

แบบสอบถาม

การศึกษาศักยภาพการพึง่พาตนเองแบบย่ังยืน ของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน

: กรณีศึกษา เกษตรกรในเขตพื้นท่ีชลประทานในจังหวัดบุรีรัมย

คําช้ีแจง ใหทําเครื่องหมาย X ลงในชอง [ ] และเติมขอความในชองวาง ....................... สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ [ ] 1) ชาย [ ] 2) หญิง 2. อายุ

[ ] 1) ตํ่ากวา 25 ป [ ] 2) 25 – 35 ป [ ] 3) 36 – 45 ป [ ] 4) 46 – 55 ป [ ] 5) มากกวา 55 ป

3. ระดับการศึกษาสูงสุด [ ] 1) ประถมศึกษา [ ] 2) มัธยมศึกษา [ ] 3) ปวช. ปวส. หรือเทียบเทา [ ] 4) ปริญญา

4. จํานวนสมาชิกในครัวเรือน ............... คน ทําการเกษตร ............... คน สวนท่ี 2 ขอมูลท่ัวไปของปจจัยท่ีเก่ียวของกับการประกอบอาชีพการเกษตร

1. ปจจัยดานเทคโนโลย ี

1.1 การเล้ียง โคและกระบือ [ ] 1) ไมเล้ียง [ ] 2) เล้ียง โค ......... ตัว กระบือ ......... ตัว (มีการใชแรงงาน .......... ตัว)

1.2 การมีเคร่ืองจักรกลใชงานเพ่ือการเกษตร [ ] 1) ไมมี

[ ] 2) มี เคร่ืองจักรกลท่ีมี [ ] รถไถนาเดินตาม [ ] รถแทรกเตอร [ ] รถอีแตน [ ] รถยนตบรรทุก [ ] เคร่ืองสูบน้ํา [ ] อ่ืนๆ ......................

Page 123: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

112

1.3 รูและเขาใจการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัหรือไม [ ] 1) ไมรูไมเขาใจ

[ ] 2) รูและเขาใจ 1.4 รูและเขาใจการผลิตการเกษตรแบบเกษตรอินทรียหรือไม [ ] 1) ไมรูไมเขาใจ [ ] 2) รูและเขาใจ

2. ปจจัยดานเศรษฐกิจ 2.1 เงินท่ีนํามาเปนคาใชจายในครอบครัวมาจากแหลงใด (ตอบไดหลายขอ)

[ ] 1) การเกษตร ...................... บาท/(เดือน : ป) [ ] 2) รับจาง ...................... บาท/เดอืน

[ ] 3) คาขาย ...................... บาท/เดือน

[ ] 4) อ่ืนๆ (ระบุ)............................................. เปนเงิน ................ บาท/เดือน 2.2 ดังนั้นคิดตอ 1 เดือน - รายไดรวมของครอบครัว เปนเงิน เฉล่ีย ...................... บาท

- รายจายรวมของครอบครัวเปนเงิน เฉล่ีย ...................... บาท 2.3 โดยรวมแลวคิดวารายไดจากการทําการเกษตรของเกษตรกรท่ัวๆไปจะเพียงพอในการ

ครองชีพหรือไม [ ] 1) เพียงพอ [ ] 2) ไมเพยีงพอ

2.4 ปจจุบันคาใชจายในการลงทุนมาจากแหลงใด (ตอบไดหลายคําตอบ) [ ] 1) เงินออมของตนเอง [ ] 2) กูยืมนอกระบบจากนายทุน รวมจํานวน ..................... บาท

[ ] 3) กูยืมในระบบ จาก ......................................... จํานวน ..................... บาท จาก ......................................... จํานวน .................... บาท

2.5 กรณีท่ีกูยืมเงิน เงินท่ีกูมาไดนั้นนอกจากใชเพื่อเปนทุนเพื่อทําการเกษตรแลว นําเงินไปใชจายในสวนอ่ืนๆหรือไม

[ ] 1) ไมนําไปใชจายอยางอ่ืนเก็บเอาไวเปนทุนใชทําการเกษตรท้ังหมด [ ] 2) นําไปใชจายอยางอ่ืนดวย (ระบุ) .................................................................

2.6 รูและเขาใจหลักการดําเนนิชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัหรือไม

[ ] 1) ไมรูไมเขาใจ [ ] 2) รูและเขาใจ

Page 124: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

113

3. ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาต ิ

3.1 ท่ีดินทําการเกษตรในปจจุบัน [ ] 1) เปนท่ีดินของตนเองทั้งหมด จํานวน ............ ไร [ ] 2) เปนท่ีดินของคนอ่ืนแตไมตองเชา จํานวน ............ ไร [ ] 3) เปนท่ีเชา จํานวน ............ ไร

3.2 จํานวนท่ีดินท่ีคิดวาเหมาะสมกับความสามารถในการทําการเกษตร ซึง่จะทําใหเกิดผลดีสูงสุด กอใหเกิดรายไดท่ีเพียงพอ ควรมเีทาไร ...............ไร

3.3 ท่ีดินทําการเกษตรของทาน เคยไดรับการตรวจสอบความอุดมสมบูรณหรือไม [ ] 1) ไมเคย [ ] 2) เคย มีความอุดมสมบูรณดหีรือไม [ ] ดี [ ] ไมดี 3.4 พันธุขาวท่ีทานปลูกอยูเปนพันธุ (ระบุ) ............................................ ผลผลิตท่ีไดเฉลี่ยเทาไร ............................... กิโลกรัมตอไร และคิดวาพนัธุขาวท่ีมีอยู ยังคงมีคุณภาพท่ีดีอยูหรือไม [ ] ดี [ ] ไมดี 4. ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย แรงงาน ท่ีใชทําการเกษตร

[ ] 1) ทําเองท้ังหมด [ ] 2) ทําเองบางสวน จางทําบางสวน ระบุกิจกรรมท่ีจางทํา...................................................................................

[ ] 3) จางทําท้ังหมด 4.2 ทานเคยเขารับการอบรม สัมมนา ความรูในเรื่องท่ีเกี่ยวของกับการเกษตร หรือการชลประทานหรือไม [ ] 1) ไมเคย [ ] 2) เคย ระบุหลักสูตรท่ีเคยเขาอบรม สัมมนา .................................................................................คดิวามีประโยชนหรือไม ..........................

5. ปจจัยดานสังคมและการเมือง ปจจุบันนอกจากทานเปนสมาชิกของกลุมผูใชชลประทานแลว ทานไดมีการรวมกลุมเปนสมาชิกกลุมอ่ืน หรือไม

[ ] 1) ไมเปน [ ] 2) เปน (โปรดระบุช่ือกลุมทุกกลุมท่ีเปนสมาชิก) ..............................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 125: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

114

สวนท่ี 3 ศักยภาพในการพฒันาเพื่อการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน คําช้ีแจง : 1). คําถามสวนนีป้นการวดัระดับความพึงพอใจท่ีมีตอศักยภาพในการพฒันาเพื่อการพึง่

พาตนเองอยางยั่งยืน โดยใชมาตรวัดลิเกิรต (Likert Scale) ดวยการแบงการวัดความพึงพอใจออกเปน 5 ระดับ คือ

มากท่ีสุด 5 คะแนน มาก 4 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน นอย 2 คะแนน นอยท่ีสุด 1 คะแนน 2).ใหระบุระดับความพึงพอใจสําหรับคําถามแตละขอ โดยวงกลมรอบหมายเลข ท่ี

แทนคะแนนความพึงพอใจ

ระดับความพงึพอใจ สําหรับ

คําถาม มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

5 4 3 2 1 ผูวิจัย

ปจจัยดานเทคโนโลย ี

1 การใชเคร่ืองจกัรกลทุนแรงเพื่อชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน เปนของตนเอง

5 4 3 2 1 1

2 การสงเสริมใหนําแรงงานสัตวมาใชเพื่อลดคาใชจาย

5 4 3 2 1 2

3 การไดรับขอมูลขาวสารดานการเกษตรจากส่ือตางๆ เพื่อตัดสินใจในการผลิต

5 4 3 2 1 3

4 การที่ภาครัฐสงเสริมแนวทางเกษตรทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัมาใชรวมกับการผลิตแบบเกษตรอินทรียเพื่อใหเกิดการพัฒนาท่ีพึ่งตนเองได

5 4 3 2 1 4

ปจจัยดานเศรษฐกิจ 5 ราคาผลผลิต และรายไดจากการประกอบอาชีพ 5 4 3 2 1 5

6 การไดรับการสนับสนุนเงินทุน จากการใหกู เงินอุดหนุน เงินชวยเหลือ จากภาครัฐ และสถาบันการเงิน

5 4 3 2 1 6

7 ระดับของการออมและการเพิ่มพูนรายไดอยางอ่ืนท่ีจะชวยใหมีเงินทุนของตนเองเพ่ิมข้ึน

5 4 3 2 1 7

Page 126: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

115

สวนท่ี 3 ศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน (ตอ)

ระดับความพงึพอใจ สําหรับ

คําถาม มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

5 4 3 2 1 ผูวิจัย

ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาต ิ 8 ขนาดท่ีดินท่ีใชในการประกอบอาชีพการเกษตร 5 4 3 2 1 8

9 การไดรับน้ําจากการจัดการน้ําของกรมชลประทาน

5 4 3 2 1 9

10 คุณภาพของพนัธุพืชและพนัธุสัตวเล้ียง 5 4 3 2 1 10

ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย 11 ความรูและทักษะการผลิตท่ีเกษตรกรมีอยูใน

ปจจุบัน 5 4 3 2 1 11

ปจจัยดานสังคมและการเมือง

12 การตองเสียสละ และมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตางๆกับกลุมท่ีเปนสมาชิกอยู

5 4 3 2 1 12

13 นโยบายของรัฐดานตางๆ ท่ีมีผลโดยตรงตอตัวเกษตรกร หรือท่ีสอดคลองกับอาชีพการเกษตร

5 4 3 2 1 13

14 การกระจายอํานาจของภาครัฐในภาระกจิท่ีไมสลับซับซอน ใหองคการบริหารสวนทองถ่ิน หรือกลุมเกษตรกรรับผิดชอบจะทําใหเกดิประสิทธิภาพในการบริหารการจัดการ

5

4

3

2

1

14

การสนับสนุนและความสัมพันธกับองคการภายนอกท้ังภาครัฐและ ภาคเอก ชน 15 การบริหารจัดการน้ําและบริการอ่ืนของกรม

ชลประทาน เปนไปโดยท่ัวถึงและเปนธรรม 5 4 3 2 1 15

16 การสนับสนุน สงเสริมของหนวยงานอ่ืนท่ีไมใชกรมชลประทาน เชน เกี่ยวกับขอมูลขาวสารดานการตลาด การฝกอบรมใหความรู เปนตน

5

4

3

2

1

16

Page 127: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

116

สวนท่ี 4. ขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับการที่จะทําใหเกดิการพัฒนาเพื่อพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนของเกษตรกร(ควรมีปจจัยท่ีจําเปนใดบาง ควรดําเนินการลักษณะใด เปนตน) ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

Page 128: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

ภาคผนวก ข

สรุปการสัมภาษณ

Page 129: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

118

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายไพศาล แสงหิรัญ ตําแหนง หัวหนาฝายแผนงานพัฒนาการเกษตร สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดบุรีรัมย

หนาท่ีรับผิดชอบของหนวยงาน เปนผูแทนกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดบุรีรัมย โดยรับผิดชอบการประสานงานระหวางหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดบุรีรัมย โดยเฉพาะอยางยิ่งในภารกิจสําคัญท่ีกระทรวงกําหนดหรือมอบหมาย การจัดทําแผนงาน การรวบรวมขอมูลตางๆ ดานการเกษตร การใชงานจากสัตวเล้ียงมาชวยการทําการเกษตรนั้นเกือบจะหมดไปแลว เกษตรกรสวนใหญพึงพอใจท่ีจะใชเคร่ืองจักรกลการเกษตรมากกวา โดยรถไถนาเดินตามเปนเคร่ืองทุนแรงท่ีมีความจําเปนและเปนท่ีนิยม ยอมรับกันแพรหลาย แมวาจะตองเสียคาใชจายมากก็ตาม ท้ังนี้เพราะสะดวก รวดเร็ว อีกท้ังเกษตรกรขาดแคลนแรงงาน การทําการเกษตรเปนงานหนักมีปริมาณมากท่ีตองทําแขงกับเวลา ตองสอดคลองกับฤดูกาลเพาะปลูก โดยมีฝนเปนตัวแปรสําคัญ ในอดีตเกษตรกรจะชวยเหลือกัน แตปจจุบันดวยภาระทางเศรษฐกิจ ไมมีแรงงานท่ีจะแลกเปล่ียน การชวยเหลือจึงตองกลายมาเปนการวาจางแทน ทุกกิจกรรมการเกษตรตองใชแรงงานจึงตองวาจางกันทุกกิจกรรม ทําใหเกิดตนทุนท่ีสูง เกษตรกรใชท่ีดินปลูกพืชมานานป โดยไมไดบํารุงดินในแนวทางท่ีควร ทําใหดินขาดความอุดมสมบูรณ จึงตองใชปุยจํานวนมาก ปจจุบันจากผลการศึกษาการเกษตรกรรมเปนเวลานาน กระทรวงจึงไดกําหนดวาระแหงชาติในการพัฒนาการเกษตร เพื่อใหเกิดความเหมาะสมท่ีเกษตรกรจะสามารถดําเนินการแลวทําใหสภาพความเปนอยูของเกษตรกรดียิ่งข้ึน โดยจะสงเสริมการปลูกพืชผสมผสาน แนวทางทฤษฎีใหม การใชปุยและยาท่ีทํามาจากวัสดุธรรมชาติ หรือการผลิตแบบเกษตรอินทรีย เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในกระบวนการผลิตทุกข้ันตอน ทําใหลดรายจายและทําใหสุขภาพดี ปจจุบันแนวทางทฤษฎีใหมมีเกษตรกรประสบความสําเร็จนอย เพราะเปนแนวทางที่ตองอาศัยความเขมแข็งท้ังทางกายและทางใจสูงมาก เกษตรกรสวนใหญทอถอย ลมเลิกกลางคัน เพราะตองสรางระเบียบวินัย ความขยันขันแข็ง ความอดทน เกษตรกรตองพึ่งพาตนเองใหมากที่สุด ตองปรับพฤติกรรมตนเองขนานใหญ จึงมีเหลือผูทําการเกษตรในแนวทางน้ีท่ีประสบความสําเร็จจริงๆ ประมาณ 20 กวารายเทานั้น จากท้ังหมด 653 รายท่ีเขารวมโครงการ

Page 130: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

119

ดังนั้นจึงตองปรับรูปแบบการเกษตรใหมเปนการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรียแทนเพราะลดคาปุยและสารเคมีลงไดมากเปนการเพ่ิมรายไดทางออม โดยเร่ิมจากการไมเผาตอซังแตใชวิธีไถกลบเพื่อใหกลายเปนปุย ซ่ึงจังหวัดไดใชงบ ผูวา CEO จัดซ้ือใหบริการแกเกษตรกร อําเภอละหน่ึงคันกอนแลวจะสนับสนุนเพิ่มจนเพียงพอใชงานในอนาคต การผลิตปุยอินทรีย หรือปุยชีวภาพ จากวัตถุดิบท่ีมีในทองถ่ิน ซ่ึงแนวทางสงเสริมจะใหมีการอบรมเกษตรกรแกนนํา โดยการฝกทําจริง แลวนํามาแนะนําใหสมาชิกในกลุม หรือชุมชนรับทราบเพ่ือปฏิบัติตอไป

ดังท่ีกลาวแลววาเกิดการขาดแคลนแรงงาน คนวัยทํางานตองไปทํางานอ่ืนเชนรับจาง เพื่อใหครอบครัวมีรายได เพียงพอดํารงชีพ จะพึ่งการเกษตรท่ีมีเวลาทํางาน 3 – 4 เดือน และราคาผลผลิตตํ่า อยางเดียวไมได

เกษตรกรท่ีทํานามักนิยมปลูกขาวหอมมะลิเพราะเปนพันธุข าวท่ี เหมาะกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากท่ีสุด อีกท้ังเปนท่ีนิยมบริโภค จึงมีราคาสูงกวาขาวพันธุอ่ืน

ในดานความรูหรือการเรียนรูของเกษตรกรนั้น มีแหลงเรียนรูมากมาย ไดแกโรงเรียนแกจนแบบคนบุรีรัมยท่ีอําเภอชํานิ ท่ีใหเกษตรกรสามารถเรียนรูและฝกปฏิบัติได มีปจจัยการผลิตใหนําไปทดลองทํา นอกจากนี้ยังมีการแนะนําจากผูท่ีประสบความสําเร็จเปนแบบอยางไดมากมายท้ังท่ีเปนปราชญชาวบาน หรือเกษตรกรดีเดนท่ีไดรับรางวัลจากการประกวดคัดเลือกเปนตน นอกจากนี้ยังมีศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีประจําตําบลท่ีคอยแนะนําใหความรูมีอยูทุกตําบล

Page 131: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

120

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายดํารง ปลั่งกลาง ตําแหนง นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 6 ว. นางสาวนิกร สมมุง ตําแหนง นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 6 ว.

สํานักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย

หนาท่ีรับผิดชอบของหนวยงานสํานักงานเกษตรจังหวัดบุรีรัมย คือการสงเสริมสนับสนุนดานการเกษตรใหแกเกษตรกรทั้งหมดในเขตจังหวัดบุรีรัมย ประกอบดวย การใหความรูถายทอดเทคโนโลยีและการพัฒนาการเกษตร สงเสริมและสนับสนุนงานวิสาหกิจชุมชน การใหความชวยเหลือกรณีเกิดภัยพิบัติท่ีทําใหพื้นท่ีการเกษตรเสียหาย เชนภัยแลง น้ําทวม โดยการสงเสริมสนับสนุนพื้นท่ีในเขตและนอกเขตชลประทานเทาเทียมกัน โดยมีเกษตรอําเภอเปนผูรับผิดชอบในระดับอําเภอ ปจจัยดานเทคโนโลยี ยังไมมีการเก็บขอมูลในเชิงปริมาณเกี่ยวกับเคร่ืองมือเคร่ืองใชในการทําการเกษตรของเกษตรกร แตจากการรับทราบขอมูลโดยท่ัวไป เกษตรกรจะมีรถไถนาเดินตาม และมีกระบะพวงท่ีใชรถไถนาเดินตามลากจูงสําหรับโดยสารและการบรรทุก นอกจากนี้จะมีเคร่ืองสูบน้ําท่ีใชเคร่ืองยนตรถไถนาเดินตามเปนตัวฉุด เกษตรกรที่ไมมีรถนา ก็จะจางผูมีรถไถนาชวยไถนาให ปญหาการไมสามารถไถนาไดตามกําหนดเวลาสอดคลองกับฤดูกาลเพาะปลูกจะมีจํานวนนอย

จากวาระแหงชาติเร่ืองการเปล่ียนวิธีทําเกษตรกรรมเปนแบบเกษตรอินทรีย ในจังหวัดบุรีรัมยจึงไดริเร่ิมใหมีการดําเนินการโดยในระยะแรกสงเสริมกลุมเกษตรกรท่ีประสงครวมโครงการ ซ่ึงจังหวัดไดจัดสรรงบประมาณจากงบผูวา CEO จัดซ้ือรถไถนาขนาดกลางที่มีคนขับ เพื่อใหเกษตรกรใชไถกลบตอซังเพื่อใหเนาเปอยเปนปุย เปนแทนการเผา ซ่ึงรถไถนาเดินตามจะไถยากเพราะดินเร่ิมแข็ง โดยใหเกษตรอําเภอรับผิดชอบโครงการ แตการรับผิดชอบการบริหารและใชประโยชนรวมกันจะใหกลุมเกษตรกรที่มีศักยภาพที่จะดูแลไดเปนผูรับผิดชอบ โดยในระยะตนจัดใหมีอําเภอละหนึ่งคันกอน หากองคการบริหารสวนตําบลใดสามารถจัดหาเพิ่มอีกเทาใด ก็จะใหงบผูวา CEO สมทบในจํานวนท่ีเทากัน คันตอคัน ในการเก็บเกี่ยวก็จะมีรถเกี่ยวขาวท่ีมาจากภาคกลางมารับจางซ่ึงสะดวกรวดเร็ว และจะนวดขาวใหเสร็จ ไมเปนภาระการนวดหากใชแรงคนเก็บเกี่ยว

Page 132: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

121

สวนการจะนําแรงงานสัตวมาใชงานนั้นมีโอกาสนอยเพราะคานิยมของเกษตรกรเปล่ียนไป รวมท้ังการเล้ียงสัตวเทาท่ีเคยตรวจสอบตามโครงการโคลานตัว พบวามีปญหาเร่ืองแหลงอาหารและตองมีคนดูแล และตองใชคนท่ีมีรางการแข็งแรงจึงใชสัตวไถนา และตองมีการฝกสัตวใหทํางานได

ในดานการใหความรูขอมูลขาวสารจะมีศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีประจําตําบล หรือเกษตรตําบลเดิมรับผิดชอบ ซ่ึงปจจุบันถายโอนใหองคการบริหารสวนตําบลเปนผูควบคุม ตามนโยบายการถายโอนภารกิจใหองคกรปกครองทองถ่ิน สวนการใหความรูหรือสนับสนุนของหนวยงานจะเปนงานในลักษณะโครงการพิเศษท่ีกําหนดข้ึนมาเฉพาะ เกษตรกรมีแหลงขอมูลความรูมากมายแตยังมีความสนใจในการใชประโยชนนอยมาก

การปรับการผลิตเปนแบบเกษตรทฤษฎีใหมนั้นมีปญหาท่ีเกษตรกรไมสามารถปรับตัวเองใหสอดคลองกับแนวทางทฤษฎีใหมท่ีตองลงทุนในระยะเร่ิมตนสูง ตองอาศัยความเขมแข็งของเกษตรกรที่เกิดจากความขยันหม่ันเพียร ความใสใจในการศึกษาหาความรู ความมุงม่ันอดทน ความมีระเบียบวินัย จึงมีเกษตรกรท่ีประสบความสําเร็จนอยราย จึงตองหันมาสนับสนุนการเกษตรอินทรีย ท่ีทําไดงายกวาเพราะมุงเนนการลดคาใชจาย เพิ่มผลผลิตในระยะยาวโดยการปรับปรุงบํารุงดิน และการทําใหมีสุขภาพท่ีดีข้ึน แลวคอยปรับโดยการนําแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช

ปจจัยดานเศรษฐกิจ เกษตรกรท่ัวๆไปสวนใหญตองพึ่งพาเงินทุนจากการกูยืม ซ่ึงสวนใหญกูจาก ธ.ก.ส. และจากกองทุนหมูบาน การกูจากนายทุนจะมีนอยเพราะปจจุบันการกูในระบบทําไดสะดวกรวดเร็ว เกษตรกรจะมีคาใชจายในการทําการเกษตรเปนคาจางในชวงกิจกรรมตางๆ เพราะการขาดแคลนแรงงาน กับคาปุยเปนคาใชจายสวนใหญ การรวมตัวกันต้ังกลุมออมทรัพยยังมีนอย เกษตรกรจะมีความเขมแข็งไดตองมีกองทุนเปนของตนเอง ผลกระทบตอเกษตรกรนั้นสวนใหญไดแก ราคาผลผลิตตํ่า ทําใหเกษตรกรมีรายไดนอยกําไรไมมาก บางคร้ังอาจขาดทุน ตองมีการพิจารณาโครงสรางการผลิตระดับภาคและประเทศใหเหมาะสม เกษตรกรเองก็ตองปรับวิธีการผลิตใหมตองลดคาใชจายไมจําเปนลงใหมากท่ีสุด

ปจจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงจําเปนสําหรับการทําเกษตรกรรมประกอบดวย ท่ีดิน แหลงน้ํา พันธุพืชและสัตว เกษตรกรสวนใหญมีท่ีดินเปนของตนเอง โดยเฉลี่ยประมาณครอบครัวละ 10 ไร แนวโนมจะลดลงจากการแบงปนเปนมรดกใหลูกหลาน เกษตรกรมีการลงทุนเปนคาจางแรงงานในกิจกรรมตางๆ เพราะมีแรงงานในครอบครัวไมพอ กับคาใชจายเปนคาปุย ทําใหเหลือผลกําไรไมมาก ท่ีดินสวนใหญขาดการดูแลปรับปรุงบํารุงดิน โดยจะมีการสงเสริมใหใชปุยอินทรีย ปุยชีวภาพ ท้ังนี้จะใหลดการใชปุยเคมีลงแลวเร่ือยๆ จนไมใชหันมาใชปุยจากธรรมชาติท้ังหมดในป พ.ศ. 2552

Page 133: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

122

ดานพันธุพืช ปกติจะใหใชพันธุขาวพันธุดี โดยพันธุท่ีไดมาแตละคร้ังใชปลูกและเก็บผลผลิตสวนหนึ่งเปนเมล็ดพันธุไดตอเนื่องไมเกิน 3 ป เพราะคุณภาพของขาวเร่ิมลดลง เกษตรกรสวนใหญปลูกขาวหอมมะลิ พันธุขาวไดมาจากศูนยเพาะและขยายพันธุจากสวนกลาง แลวนํามาใหเกษตรกรในโครงขยายพันธุตอ

ปจจัยดานทรัพยากรมนุษย ป ัจจุบันปญหาการขาดแคลนแรงงานมีผลกระทบตอการทํา เกษตรกรรม แรงงานในครัวเรือนตองไปทําอาชีพอ่ืน เชนรับจาง ดังนั้นจึงตองวาจางคนอ่ืนในเกอืบ ทุกกิจกรรม เกษตรกรสวนใหญไดรับการแนะนําความรู ฝกอบรม ดูงาน แตมีสวนนอยท่ีนํามาใชประโยชนอยางจริงจัง ท้ังนี้เพราะมีปจจัยบางประการที่มากดการพัฒนาเกษตรกร เชน ราคาพืชผลไมจูงใจ หรือไมมีตลาดรองรับ จะตองมีการกระตุนใหเกษตรกรไดรวมกันคิดรวมกันทําดวยตนเอง หนวยงานจึงเปล่ียนนโยบายการสงเสริมใหม ใหเกษตรกรรวมเสนอแผนการฝกอบรมในส่ิงท่ีพวกตนตองการ สวนใหญเกษตรกรไดรับการอบรมความรูอยางตอเนื่อง จังหวัดบุรีรัมยมีแหลงเรียนรูมากมายท้ังจากเกษตรกรท่ีประสบความสําเร็จท้ังเกษตรกรท่ัวไปท่ีทําเปนแบบอยาง และปราชญชาวบานท่ีมีความสามารถถายทอดแนวคิด ความรูตางๆได นอกจากน้ียังมีโรงเรียนแกจนแบบคนบุรีรัมย ต้ังอยูท่ีอําเภอชํานิ เปนแหลงถายทอดความรูท่ีรับผิดชอบรวมกันของหนวยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดบุรีรัมยท้ังหมด ปจจัยดานสังคมและการเมือง เกษตรกรสวนใหญจะเปนสมาชิกของกลุมอยางนอยหนึ่งกลุม มีความคุนเคยกับการทํากิจกรรมรวมกัน มีการทํากิจกรรมรวมกันอยางสม่ําเสมอ แตผูนํายังไมโดดเดนพอท่ีจะนํากลุมไปสูการทํากิจกรรมใหญๆ ท่ีสําคัญท่ีจะทําใหกลุมมีความเขมแข็งพึ่งพาตนเองได แตก็มีเกษตรกรแกนนําท่ีมีศักยภาพท่ีจะพัฒนาเปนผูนําท่ีมีความสามารถไดจํานวนมาก กลุมท่ีประสบความสําเร็จในดานตางจึงยังมีนอย โดยท่ัวไปเกษตรกรใหความรวมมือกันดี ปจจัยดานการสนับสนุนจากองคกรภายนอกท้ังภาครัฐและเอกชน เกษตรกรยังมีความจําเปนพึ่งพาองคกรภายนอกอยูอีกมาก จนกวาจะไดมีการพัฒนาใหอยูในระดับท่ีเขมแข็งพึ่งตนเองไดเสียกอน ซ่ึงยังตองใชเวลาอีกนาน เพราะจะตองปรับพฤติกรรมของเกษตรกรใหยอมรับการเปล่ียนแปลงท่ีจะนําไปสูความสามารถพ่ึงพาตนเองใหไดเสียกอน ซ่ึงปจจุบันหนวยงานสนับสนุนตางๆ ไดริเร่ิมใหเกษตรกรไดมีสวนดําเนินการแกปญหาตางๆ กันเอง โดยการอบรมกลุมตัวแทนใหมีความรูเบ้ืองตนท่ีจะสนับสนุนชวยเหลือเกษตรกรในชุมชนตนได ในลักษณะอาสาสมัครดานตางๆ เชน อาสาสมัครดานการเกษตร ยุวเกษตรกร อาสาสมัครดานดินท่ีเรียก หมอดินอาสา อาสาสมัครดานประมง เปนตน นอกจากนี้ภาคเอกชนก็สนใจใหการสนับสนุนสงเสริมความรู

Page 134: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

123

ทักษะในเกษตรกรกลุมเปาหมายมากข้ึน ไมมุงหวังดานการคาขายอยางเดียวเหมือนเชนอดีต ทําใหเกษตรกรมีความรูมากข้ึน ลดการถูกเอารัดเอาเปรียบ เชน การใหความรูเร่ืองการใชปุย ใชสารเคมี ท่ีถูกตอง การใชและการผลิตปุยชีวภาพ การดูแลรักษาเคร่ืองจักรกลการเกษตรดวยตนเอง การซอมแซมเบ้ืองตน ฯลฯ อาจสรุปโดยภาพรวมแลวเกษตรกรยังตองไดรับการ สงเสริม สนับสนุน ใหความรูอีกมากเพราะวิทยาการและวิธีการทําเกษตรกรรมเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา การกีดกันทางการคาของตางชาติท่ีกําหนดหลักเกณฑ กําหนดคุณสมบัติ ในดานกระบวนการผลิต คุณภาพของสินคา ทําใหหนวยงานภาครัฐและเอกชนตลอดจนเกษตรกรตองเรียนรูติดตามเร่ืองราวอยูตลอดเวลา นั่นคือ ทุกฝายท่ีมีผลประโยชนรวมกันตองมีการรวมมือกันจึงจะบรรลุเปาหมาย

Page 135: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

124

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายธนุต ดีอินทร ตําแหนง นกัวิชาการสงเสริมการเกษตร 7

โรงเรียนแกจนแบบคนบรุรีัมย

ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรกรจังหวัดบุรรีัมย

โรงเรียนแกจนแบบคนบุรีรัมยต้ังข้ึนเพื่อสาธิตการผลิตภาคเกษตรที่เปล่ียนจากฐานการผลิตทรัพยากร มาเปนฐานผลิตจากองคความรู เพื่อแกจนดานการเกษตร เพื่อถายทอดเทคโนโลยีดานการเกษตรแบบครบวงจร ใหเปนตัวอยางและทางเลือกของเกษตรกรและผูสนใจทั่วไป ไดศึกษาหาความรูเพื่อนําไปสรางอาชีพ และพัฒนาระบบการผลิตในพ้ืนที่ของตน การดําเนินงานนั้นจะมีหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณทุกหนวยงานในจังหวัดบุรีรัมย ท่ีทําการปกครองอําเภอชํานิ และองคการบริหารสวนตําบลเมืองยาง อําเภอชํานิ รวมกันรับผิดชอบ เปาหมายหลักใหเกษตรกรสามารถศึกษา เรียนรูหรือฝกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการดําเนินกิจกรรมการเกษตร เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและทันสมัยดานการเกษตร นําไปสรางอาชีพและพัฒนาระบบการผลิตใหมีรายไดเกิดข้ึนไมตํ่ากวา 72,000 บาทตอป กิจกรรมการแกจนท่ีสวนราชการท่ีเกี่ยวของรวมกันสรางรูปแบบโดยเนนการบูรนาการและเกิดการเช่ือมโยงกัน จํานวน 13 กิจกรรม ไดแก

1. กิจกรรมดานประมง เนนการเล้ียงปลาในบอพลาสติก การเล้ียงปลาในกระชัง และการเล้ียงกบ

2. กิจกรรมดานปศุสัตว เรียนรูการเล้ียงและการจัดการโคขุน หมูปา ไกพื้นเมือง และการจัดกานาหญาเพื่อการเล้ียงสัตว

3. กิจกรรมดานการเกษตรผสมผสาน ท่ีมีท้ังการปลูกพืช เล้ียงสัตวและประมงในพ้ืนท่ีเดียวกัน เปนการนําเอาภูมิปญญาทองถ่ินและเทคโนโลยีการผลิตท่ีเหมาะสม เชน ปลูกขาว พืชผัก เล้ียงปลาและปลูกไมผล

Page 136: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

125

4. กิจกรรมการผลิตปุยอินทรีย เนนการผลิตปุยอินทรียโดยใชวัสดุในทองถ่ิน เพื่อลดตนทุนการผลิตปุยอินทรียน้ํา ปุยหมัก การใชหญาแฝกในการอนุรักษดินและน้ํา การผลิตปุยหมักชีวภาพเพื่อจําหนายในชุมชน 5. กิจกรรมการปลูกหมอนเล้ียงไหม การผลิตใบหมอน การเล้ียงไหม การผลิตเสนไหมคุณภาพ 6. กิจกรรมการปลูกไมยืนตนและการปลูกพืชแซม เพื่อใหเกิดการเกื้อกูล สอดคลองกันในดานการใชประโยชนและการปองกันศัตรูพืช 7. กิจกรรมการเพาะเห็ด 8. กิจกรรมการปลูกยางพารา ใหความรูและสาธิตการปลูกยางพารา ปลูกพืชแซม การเล้ียงสัตวท่ีเหมาะสม เพื่อเสริมรายไดระหวางไมสามารถกรีดยางได

9. กิจกรรมการผลิตพันธุยางพารา การขยายพันธุยางเพื่อจําหนาย การติดตา การตอกิ่ง การผลิตยางชําถุง

10. กิจกรรมวนเกษตร โดยการปลูกปา การจัดการไมใหญ การปลูกพืชหลากหลายชนิด เพื่อสรางรายได

11. กิจกรรมการปลูกพืชผัก เนนการผลิตผักอินทรีย ท่ีใหผลผลิตเร็วผลตอบแทนสูง 12. กิจกรรมการปลูกไมผลและการขยายพันธุ 13. กิจกรรมการปลูกไผเศรษฐกิจ

รูปแบบการใหบริการ แบงเปน 2 รูปแบบคือ การดูงานและการฝกอบรม การดูงานกําหนดเวลาคร้ังละประมาณ 3 ช่ัวโมงตอกลุม สวนการฝกอบรม มีโปรแกรมการฝก 2 วันเนนการปฏิบัติจริง โดยมีท่ีพักใหเกษตรกรพักคางคืน เกษตรกรสามารถเลือกเรียนรูคร้ังละหนึ่งกิจกรรม แนวทางดําเนินการโดยหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณเม่ือมีแผนงานการดูงานหรือฝกอบรมเกษตรกรก็จะมาจัดท่ีโรงเรียนแกจนแหงนี้

Page 137: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

126

สรุปการสมัภาษณ

ผูใหขอมูล นายพิสิฏฐ สมบูรณ ตําแหนง พนักงานพัฒนาธุรกิจ 7

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร สาขาบุรีรัมย

รัฐบาลจัดต้ังธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร(ธ.ก.ส.) เม่ือ พ.ศ. 2509โดยใหเปนสถาบันระดับชาติมีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง ทําหนาท่ีอํานวยสินเช่ือใหแก เกษตรกรอยางกวางขวาง ท้ังเพื่อเกษตรกรโดยตรงและสถาบันเกษตรกร ปจจุบัน ธ.ก.ส. เปดรับฝากเงินจากเกษตรกรและบุคคลท่ัวไป แตปลอยสินเช่ือเงินกูใหกับเกษตรกรเทานั้น ในจังหวัดบุรีรัมยเปดบริการในบางอําเภอจํานวน 12 สาขา ไดแก สาขาบุรีรัมย สาขานางรอง สาขาพุทไธสง สาขาประโคนชัย สาขากระสัง สาขาคูเมือง สาขาบานกรวด สาขาลําปลายมาศ สาขาละหานทราย สาขาสตึก สาขานาโพธ์ิ และสาขาหนองกี่ หลักเกณฑการขอรับบริการกูยืมเงิน มี 2 ลักษณะคือ เกษตรกรรายยอยรายเดยีวขอกูยืมโดยใชหลักทรัพยเปนเอกสารสิทธ์ิท่ีดินไดแก โฉนดท่ีดิน หรือ น.ส.3.ก ก็ได จํานวนเงินกูจะไมเกนิคร่ึงหนึ่งของราคาท่ีดินท่ีประเมินได กับลักษณะท่ีสองการรวมกลุมกนัเพื่อขอกูเงินโดยใหสมาชิกคํ้าประกันกนัเอง ซ่ึงแบงเงินกูตามระยะเวลาการชําระหนี้ไดเปน 3 กรณีคือ การกูเงินระยะยาว สวนใหญเกษตรกรเสนอเอกสารสิทธ์ิท่ีดินเปนประกันเงินกู จะเปนการกูปริมาณสูง ยอดเงินไมเกนิคร่ึงหนึ่งของราคาท่ีดินท่ีประเมินได และพิจารณาถึงความเปนไปไดของการนําเงินไปลงทุนและสามารถมีรายไดสงเงินกูพรอมดอกเบ้ียตามกําหนดเวลาได ระยะเวลาการกู 10 – 20 ป การกูระยะปานกลาง ระยะเวลากู มากกวา 1 ปแตไมเกนิ 5 ป การกูระยะส้ัน ระยะเวลาการกู 1 ป ท้ังกรณีการกูระยะปานกลาง อาจกูโดยมีท่ีดินเปนประกนัหรืออาจใชหลักเกณฑการกูระยะส้ันท่ีผูขอกูจะตองรวมตัวกันเปนกลุมอยางนอย 10 คน ยื่นความจาํนงขอกูเงิน ธนาคารจะนัดประชุมเพื่อช้ีแจงและประเมินคุณสมบัติของเกษตรกรท่ีขอกู ผูท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมจึงสามารถขอกูไดในจํานวนเงินท่ีพนกังานประเมินวามีความสามารถท่ีจะกูไดเพยีงใด กรณีกูระยะปานกลางอาจใหสมาชิกดวยกันคํ้าประกนักันเอง หากคํ้าประกัน 2 คนจะกูไดไมเกิน 50,000 บาท สวนการกูระยะ

Page 138: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

127

ส้ันสมาชิกรวมกันคํ้าประกนั 8 – 10 คน อาจกูไดสูงสุดไมเกิน 100,000 บาท แตสวนใหญเกษตรกรจะกูไมมาก เพราะเม่ือครบกําหนด 1 ป ตองคืนเงินตนพรอมดอกเบ้ีย หากจะกูตอกทํ็าเร่ืองเสนอขอกูใหมไดเลย การกูทุกประเภทจะคิดอัตราดอกเบ้ียเร่ิมตนเทากัน ปจจุบันคิดท่ี รอยละ 11. 50 ธนาคารไดแบงเกรดลูกคาตามการชําระหนี้ ครบถวน ตรงตามกําหนดแลวพิจารณาลดอัตราดอกเบ้ียใหได โดยลูกคาดีเยี่ยมอาจไดรับการลดดอกเบ้ียเหลือเพียง รอยละ 5.50 ในปท่ี 3 ก็ได แตหากมีการผิดนัดผิดขอตกลง ธนาคารจะคิดอัตราดอกเบ้ียนับจากวันท่ีผิดนัดเปนรอยละ 13.50 ทันที จนกวาจะชําระหนี้หมด และจะถูกพิจารณาคุณสมบัติใหมหากจะกูเงินในโอกาสตอไป กรณีมีการผิดนัดธนาคารจะใชวิธีเรงรัดติดตาม บางคร้ังอาจตองเสนอแนะเร่ืองการประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มรายไดลดรายจายใหแกลูกคาเพื่อใหสามารถมีเงินพอที่จะชําระหนี้ดวย ในการกูยืมเงินนั้นสวนหนึ่งเกษตรกรจะใชเปนเงินลงทุนทําการเกษตร และอีกสวนเอาไวใชจายในชีวิตประจําวันดวย เพราะจากการตรวจสอบมักพบวาสมาชิกในครอบครัวเกษตรกรจะทํางานรับจางท่ีอ่ืนเพื่อเอาเงินมาจุนเจือครอบครัว ผูท่ีไมไปรับจางก็จะใชจายในชีวิตประจําวันจากเงินท่ีกูมาดังกลาวดวย

ระหวางชวงเวลาการกูยืมธนาคารก็ติดตามเยี่ยมเยียนเพ่ือแนะนําชวยเหลือในดานตางๆ อยางสมํ่าเสมอ เกษตรกรจะสงเงินกูพรอมดอกเบ้ียเม่ือเกษตรกรขายผลผลิตไดแลว สวนใหญจะทําตามขอตกลงท่ีกําหนด ท้ังนี้เพราะการพิจารณาคุณสมบัติของเกษตรกรจะพิจารณาอยางจริงจัง ยอดเงินกูจะใหเทาท่ีเกษตรกรมีความสามารถจะชําระคืนได

Page 139: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

128

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายสากล ศรีพุทธิรัตน ตําแหนง หัวหนาโครงการชลประทานบุรีรัมย

โครงการชลประทานบุรีรัมย

หนาท่ีรับผิดชอบของหนวยงานโครงการชลประทานบุรีรัมย

1. โครงการชลประทานบุรีรัมยเปนตัวแทนในการปฏิบัติภารกิจตางๆของกรมชลประทาน ในเขตจังหวัดบุรีรัมย รวมเปนคณะกรรมการคณะทํางานตางๆ ตามท่ีจังหวัดแตงต้ัง 2. ประสานงานและรวมมือกับหนวยงานอ่ืน ท้ังภาคราชการ เอกชน องคกรปกครองสวน ทองถ่ิน ตลอดจนประชาคม เพื่อการพัฒนาแหลงน้ํา ใหมีศักยภาพในการกักเก็บน้ําและการใชประโยชนสูงสุด สงเสริมกิจกรรมในการแกปญหาการขาดแคลนน้ําและ ปญหาการเกิดอุทกภัย 3. รับผิดชอบการจัดการน้ํา การซอมแซมบํารุงรักษาและปรับปรุงโครงการชลประทาน ขนาดกลางและโครงการพิเศษท่ีไดรับ มอบหมาย การสนับสนุนเคร่ืองสูบน้ําในกิจกรรมตางๆ การดําเนินงานในสวนท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกรนั้นจะใชรูปแบบการประสานงาน การมีสวนรวมของเกษตรกร โดยเกษตรกรในเขตชลประทานจะตองเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ํา ซ่ึงมีกลุมพื้นฐานในระดับคูสงน้ํา แลวพัฒนารวมกันเปนกลุมในระดับคลองสงน้ํา และระดับอางเก็บน้ําตามลําดับ กลุมแตระดับจะมีกฎระเบียบ ขอบังคับท่ีสมาชิกรวมกันกําหนดข้ึน นอกจากนี้เกษตรกรอาจเปนสมาชิกกลุมกิจกรรมอ่ืนๆ อีก เกษตรกรในเขตชลประทานจึงมีความคุนเคยกับการทํางานเปนกลุม ประธานของกลุมจะเปนผูประสานงานกับโครงการชลประทานแทนสมาชิก ในการทํากิจกรรมตางๆ เนนการมีสวนรวม โดยกลุมตางๆ รวมประชุมเพื่อวางแผนการปลูกพืช เพื่อใหทํากิจกรรมในชวงเวลาตางๆ พรอมๆ กัน เพราะการสงน้ําใหแกพื้นท่ีเพาะปลูกนั้น จะสงใหในแตละชวงเวลาตามอายุของพืชซ่ึงมีอัตราการใชน้ําแตละชวงแตกตางกัน และจะตองมีการระบายนํ้าในบางชวงเวลา เชนชวงตนของการเพาะปลูก เพื่อใหดินมีการปรับสภาพ และชวงกอนเก็บเกี่ยว หากเกษตรกรทํากิจกรรมแตกตางจากที่รวมกันกําหนดไวก็จะไดรับผลกระทบจากการขาดแคลนน้ําได เชน หากเพาะปลูกลาชาไปมาก เม่ือถึงชวงการระบายกอนการเก็บเกี่ยวก็จะขาดนํ้า ซ่ึงโครงการจะไมสงใหเนื่องจากจะทําใหพื้นท่ีท่ีพรอมเก็บเกี่ยวจํานวนมากเสียหายได ซ่ึงเกษตรกรสวนใหญดําเนินกิจกรรมตามแผนการปลูกพืชเปนอยางดี และจากการใชเคร่ืองจักรกลการเกษตรทําใหเกษตรกรสามารถเตรียมแปลงเพาะปลูกไดทันกําหนด

Page 140: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

129

กรมชลประทานมีนโยบายสงเสริมเกษตรกรปรับการผลิตเปนแบบเกษตรอินทรียเพื่อใหเกษตรกรลดคาใชจายเร่ืองปุย การมีสุขภาพท่ีดี โดยรวมกับหนวยงานอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของ แนะนําสงเสริมเพื่อใหเกษตรกรปลูกพืชเกษตรอินทรียท้ังหมดในป 2552 ตามวาระแหงชาติ ท่ีรัฐบาลไดกาํหนดไว ซ่ึงแนวทางเกษตรอินทรียนี้มีความเหมาะสมมากเพราะจากการดําเนินงานท่ีผานมา การปรับเปล่ียนวิธีการผลิตเปนแบบใหมไมวาเกษตรทฤษฎีใหม เกษตรผสมผสาน มักประสบความสําเร็จไดนอย เพราะตองไปเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของเกษตรกรหลายดาน ทําใหตองใชเวลาและเกษตรกรมักทอแท แนวทางเกษตรอินทรียนั้นเปล่ียนแปลงกระบวนการผลิตบางอยางเทานั้น นอกจากนี้ไดเนนใหเกษตรกรมีสวนรวมในการบํารุงรักษาคูสงน้ําและคลองสงน้ํา ซ่ึงเกษตรกรจะนัดหมายเพื่อดําเนินการ และในกรณีท่ีมีตะกอนในคลองสงน้ํามากจนเปนอุปสรรคในการสงน้ําเกษตรกรก็มักชวยกันขุดลอก โดยกรมชลประทานสนับสนุนวัสดุอุปกรณ เกษตรกรสมทบแรงงาน ในดานการพัฒนาเกษตรกรใหมีความรูนั้น จะจัดใหมีการอบรม สัมมนา การศึกษาดูงาน เพื่อกระตุนเกษตรกรใหตระหนักถึงความสําคัญของการดําเนินงานภายใตองคความรู และมีความต่ืนตัวเห็นแบบอยางจากผูท่ีประสบความสําเร็จ เพื่อนํามาปรับปรุงพัฒนาตนเอง อยางสม่ําเสมอ โดยใหมีการสับเปล่ียนหมุนเวียนกันทุกป ในการที่เกษตรกรจะสามารถพัฒนาเพื่อพึ่งพาตนเองไดนั้น เห็นวาเกษตรกรยังขาดผูนําท่ีมีความสามารถที่จะนําพลังของสมาชิกมารวมทํากิจกรรมสําคัญๆใหญๆ ไดดวยตนเอง ท้ังท่ีมีเกษตรกรแกนนําอยูไมนอยท่ีมีศักยภาพที่จะทําไดหากไดรับการพัฒนาหรือกระตุนความเปนผูนําท่ีเหมาะสม สําหรับการเกษตรในเขตชลประทานนั้นจะมีปญหาขาดแคลนแรงงานอยูเปนจํานวนมาก เกษตรกรสวนใหญจะมีอายุมาก ซ่ึงการทํานานั้นแมจะใชแรงงานในแตละกิจกรรมมีชวงเวลาส้ันๆ แตก็ตองใชแรงงานจํานวนมาก ไมเชนนั้นก็จะเกิดความลาชา ชวงกิจกรรมไมสัมพันธกับฤดูกาล สมัยกอนมีการชวยเหลือกันทํา ท่ีเรียก การลงแขก แตปจจุบันเปล่ียนเปนการจายเงินเปนคาจางแทน ซ่ึงสาเหตุสําคัญเนื่องจากการไมสามารถแลกเปล่ียนแรงงานกันไดเหมาะสม แนวทางแกปญหาของเกษตรกรคือการวาจางแรงงาน และหากติดขัดเร่ืองเงินทุน เกษตรกรก็จะเลือกรูปแบบการเพาะปลูกแทนโดยท่ีปกติจะทํานาดํา ก็เปล่ียนมาทํานาหวานแทน แมวาผลผลิตตอไรจะไดนอยกวาและตองเอาใจใสกําจัดวัชพืชมากกวานาดํามาก แตสามารถลดคาใชจายไดแก คาจางถอนกลา คาปกดําไดมาก ผลผลิตตอไรของเกษตรกรในเขตชลประทานคอนขางสูงกวาคาเฉล่ียของพันธุขาวแตละพันธุมากท้ังนี้เพราะมีน้ําอุดมสมบูรณกวา

Page 141: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

130

ในการเก็บเกี่ยวเกษตรกรมักนิยมจางรถเก่ียวขาวเกี่ยวให เพราะสะดวกรวดเร็ว สามารถนวดขาวใหเสร็จ ซ่ึงมีคาใชจายตํ่ากวาการจางคนท่ีจะมีคาจางเกี่ยว คาจางมัดฟอน คาจางขน และจางนวดอีก หากตองใชคนเกี่ยวการนวดก็นิยมจางเคร่ืองนวด การนวดท่ีทําโดยใชคนหรือแรงงานสัตวนั้นเกือบไมมีใหเห็นแลว ฟางก็ใชการอัดแทงแทนการทําเปนกองฟาง

Page 142: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

131

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายทองเจือ ปอมพิมพ ตําแหนง หัวหนาฝายจัดสรรนํ้าและปรับปรุงระบบชลประทาน

โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาลํานางรอง

หนาท่ีรับผิดชอบของหนวยงานคือ การบริหารจัดการน้ําในเขตพ้ืนท่ีชลประทานท่ีรับผิดชอบ 4 โครงการคือ เข่ือนลํานางรอง อางเก็บน้ําคลองมะนาว ในเขตอําเภอโนนดินแดง อางเก็บน้ําลําปะเทีย และอางเก็บน้ําลําจังหันในเขตอําเภอละหานทราย

การดําเนินงานท่ีเกี่ยวของกับเกษตรกรนั้นเปนเร่ืองการสงน้ําใหแกพื้นท่ีเพาะปลูก ซ่ึงทุกข้ันตอนจะเนนการมีสวนรวมของเกษตรกร โดยเกษตรกรเปนผูรวมกําหนดแผนการปลูกพืช แลวโครงการชลประทานจะกําหนดแผนการสงน้ํา ใหสอดคลองกับแผนการปลูกพืชใหเพียงพอเหมาะสมกับท่ีพืชตองการในชวงอายุตางๆ

เข่ือนลํานางรองเปนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช จะมีพื้นท่ีสวนหนึ่งประมาณ 500 ไรเปนพื้นท่ีจัดรูปท่ีดินแบบประณีต กลาวคือมีการจัดแบงแปลงออกเปนแปลงละ 4 ไร มีคลองสงน้ํา คลองระบายน้ํา มีคูสงน้ําถึงพื้นท่ีทุกแปลง สามารถควบคุมปริมาณนํ้าแตละแปลงไดตามตองการ ทุกปจะมีการทําพิธีเพาะปลูกวันแมเพื่อเก็บเกี่ยววันพอ เปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ และจะเปนพื้นท่ีตัวอยางท่ีจะเปล่ียนการผลิตเปนเกษตรอินทรีย โดยกลุมเกษตรกรในแปลงประณีตไดรับเลือกใหเปนผูบริหารการใชงานรถไถนาขนาดกลางท่ีจังหวัดจัดซ้ือใหดวยงบ ผูวาCEO เพื่อใชไถกลบตอซังใหเนาเปอยเปนปุยแทนการเผาแบบเกา ในโครงการปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดสนับสนุนสงเสริมต้ังแปลงสาธิตการเพาะปลูกเกษตรอินทรียตามโครงการชีววิถีดวย

โดยท่ัวไปเกษตรกรมีท่ีดินเปนของตนเอง การเตรียมแปลงใชรถไถนาเดินเกือบท้ังหมด โดยเกษตรกรจํานวนมากมีรถไถนาเดินตามเปนของตนเอง และมักมีกระบะพวงสําหรับโดยสารและการบรรทุกดวย เกษตรกรสามารถเตรียมแปลงไดทันชวงเวลาการเตรียมแปลงท่ีกําหนดไวในแผนการปลูกพืช

เกษตรกรจะเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ําในระดับคูสงน้ํา นอกจากนี้ยังเปนสมาชิกกลุมกิจกรรมอ่ืนๆ อีก การติดตอประสานงานจะทําผานตัวแทนกลุม กลุมจะมีขอบังคับท่ีกําหนดกันข้ึนมาเอง กลุมมีความสัมพันธกับกลุมอ่ืนในฐานะการเปนสมาชิกของกลุมในระดับคลองสงน้ํา ทุก

Page 143: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

132

ปจะมีการทํากิจกรรมรวมกัน ไดแก การประชุมวางแผนปลูกพืช แผนสงน้ํา การเพิ่มพูนความรูเร่ืองการใชน้ําใหเกิดประสิทธ์ิภาพ การอบรมดูงานเพื่อการพัฒนาการเกษตร โดยเกษตรกรใหความรวมมือเปนอยางดี

โครงการฯ ไดกระตุนการมีสวนรวมของเกษตรกร โดยจัดสรรงบประมาณสวนหน่ึงใหกลุมเกษตรกรใชซอมแซมคลองสงน้ําหรือคูน้ําเอง นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหเกษตรกรปลูกพืชฤดูแลงเพื่อเพิ่มรายได โดยจะมีเกษตรกรแกนนําท่ีมีความเขมแข็ง นําพาสมาชิกทํากิจกรรมเหลานี้ ซ่ึงจะมีบางกลุมท่ีมีการพัฒนาไประดับหนึ่งกลาวคือ มีการนําเอาแนวทางการสงเสริม สนับสนุนขององคการภายนอกไมวาจะเปนภาคราชการหรือเอกชน มาประชุมหารือเพื่อประยุกตหรือปรับปรุงใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของพวกตน หรือใหมีการทดสอบ ทดลองในกลุมยอยกอนท่ีจะขยายผลไปสูกลุมใหญ นอกจากนี้ยังรูจักติดตอประสานงานกับองคการภายนอกในการใหเขามาสงเสริมความรู ใหการสนับสนุนโดยมีเง่ือนไขตางๆ ท่ีเปนประโยชนตอกลุม เชนการใหมาจําหนายปุยใหแกสมาชิกในราคาตํ่ากวาทองตลาด โดยทําสัญญาในนามกลุมและชําระเงินเม่ือขายผลผลิตได ใหมีเงินกําไรสวนหนึ่งเปนเงินกองกลางของกลุม หรือการใหตัวแทนจําหนายเคร่ืองจักรกลการเกษตรเขามาบริการตรวจซอมเคร่ืองจักรกลในพื้นท่ี ไมเสียคาตรวจเช็ค ซ้ืออะไหลในราคาถูก หรือสอนการตรวจเช็ค เปนตน

Page 144: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

133

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายประยูร ชาภักดี เกษตรกรแกนนํา ประธานแปลงนาปรานีต

เขื่อนลํานางรอง อําเภอโนดินแดง จังหวัดบุรีรมัย

แปลงนาประณีตมีขนาดพื้นท่ีรวม 446 ไร เปนแปลงจัดรูปท่ีดินสมบูรณแบบ มีการแบงพื้นท่ีเพาะปลูกเปนแปลงขนาด ประมาณ 4 ไร มีคลองสงน้ํา คลองระบายนํ้า มีถนนเขาแปลงนาทุกแปลง เกษตรกรไดรับจัดสรรโดยการคัดเลือก และไดรับเอกสารสิทธิ สปก.4-01 เกษตรกรทุกคนเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ํา กิจกรรมกลุมท่ีสําคัญ ไดแก การประชุมเพื่อวางแผนการปลูกพืชรวมกับฝายชลประทาน เพื่อกําหนดวันเร่ิมทํากิจกรรมการเกษตร และวันเร่ิมการสงน้ําคร้ังท่ี 1 ฤดูฝน ต้ังแตกลางเดือน มิถุนายน - พฤศจิกายน ปลูกขาวนาป คร้ังท่ี 2 ปลูกพืชฤดูแลง กลางเดือนพฤศจิกายน - กลางเดือน มีนาคม การขุดลอกคูสงน้ํากอนการสงน้ํา การทํานา เกษตรกรทั้งหมดใชรถไถนาเดินตามในการเตรียมแปลง ไมมีการใชแรงงานจากวัว ควายอีกตอไป โดยเกษตรกรสวนใหญจะมีรถไถนาเปนของตัวเอง ผูไมมีก็จะวาจางคนอ่ืนไถให การไถข้ึนกับดินถาดินคอนขางเหนียวจะไถไดประมาณ 2 ไร แตถาเปนดินปนทราย จะไถได 4 ไร การใชน้ํามันวันละประมาณ 5 ลิตร

คาจางไถ ไรละ 220 บาท คาคราด ไรละ200 บาท รวมคาเตรียมแปลง 420 บาทตอไร คาถอนกลา มัดละ 1.50 บาท จํานวนกลาตอไร120 กํา เปนคาถอนกลา 180 บาท คาปกดํา จางรายวันวันละ 150 บาท เหมาไรละ 600บาท คาเกี่ยว ถาจางรถเกี่ยว ไรละ 600 บาท

ถาใชคนเกี่ยว ประมาณ 4 คนตอไร เปนเงิน 600 บาท คามัดฟอน สวนมากทําเอง แตถาจางตกไรละ 100 บาท คานวด ใชเคร่ืองนวด กระสอบ(80 กก.)ละ 12 บาท ไรละประมาณ 400 กก.หรือ 8 กระสอบ เปนเงิน 96 บาท คาปุย ขณะน้ียังใชปุยเคมีอยู กระสอบละ 580 บาท ใสไรละกระสอบโดยแบงใส 2 คร้ังป(หนาจะเร่ิมปลูกแบบเกษตรอินทรีย) (รวมคาลงทุนประมาณ1,880 บาท)

Page 145: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

134

รายได พันธุขาวท่ีปลูกเปนขาวหอมมะลิเปนสวนใหญ ผลผลิตเฉล่ีย 500 กก.ตอไร ซ่ึงสูงกวาท่ีปลูกในเขตชลประทานดวยกันท่ีไมไดจัดรูปท่ีดิน ราคาผลผลิตเฉล่ีย 8 บาทตอกิโลกรัม ดังนั้น ในหนึ่งไรขายขาวได 4,000 บาท จะไดกําไรประมาณ 2,100 บาท สวนใหญผลผลิตท่ีไดจะเก็บไวกินเองสวนหนึ่ง เก็บไวทําพันธุสวนหนึ่ง ซ่ึงพันธุขาวพันธุดีท่ีนํามาปลูกจะใชปลูกตอเนื่องกันไดประมาณ 3 ปก็จะกลายพันธุ ก็จะตองหาพันธุขาวแทมาปลูกใหม

การรวมกลุม จะมีการประชุมสมาชิกระดับหัวหนาคูน้ําทุกวันศุกรท่ี 2 ของทุกเดือน แตหากมีความจําเปนก็จะเรียกประชุมตามความเหมาะสม สวนใหญจะใหความรวมมือกันดี จากการที่กลุมมีความเขมแข็ง การเพาะปลูกในแปลงประณีตท่ีไดผลผลิตท่ีดีกวา ทําใหสามารถตอรองกับผูจําหนายปจจัยการผลิต เชน ปุย มาใหบริการยืมใชกอนแลวชําระเงินเม่ือขายผลผลิตได ในราคาตํ่ากวาทองตลาด และได รับเงินสําหรับกลุมอีกสวนดวย หรือการจัดใหตัวแทนจําหนายเคร่ืองจักรกลการเกษตรมาใหบริการตรวจเช็คฟรี หากจะซอมจะเปล่ียนอะไหลก็ถูกกวาทองตลาดและไมคิดคาแรงดวย

แหลงเงินทุน นอกจากจะมีการกูยืมจากแหลงเงินกูตางๆ ซ่ึงสมาชิกในกลุมไมนิยมกูเพราะพื้นท่ีมีนอยการลงทุนไมมาก อีกท้ังกลุมจะมีเงินทุนท่ีไดจากการบริจาคอยูจํานวนหน่ึงใหสมาชิกกูยืม รายละ 1,000 บาทตอท่ีนา 1ไร ดังนั้นแตละคนจะมีสิทธิกูไดไมเกิน 4,000 บาท แตดวยเงินทุนยังมีนอย จึงใหกูไมเกิน 2,000 บาทกอน หากมีเงินเหลือจึงใหกูเพิ่ม การกูยืมไมคิดดอกเบ้ียจากสมาชิก การจัดต้ังกลุมออมทรัพยเพื่อการทําใหมีเงินทุนเปนของตนเองท้ังหมดก็คิดท่ีจะทําอยู

ดานขอมูลความรูขาวสารกลุมไดติดตามอยูสมํ่าเสมอ จากแหลงขอมูลตางๆ แตท่ีสําคัญคือการประสานกับหนวยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวของอยางสมํ่าเสมอตลอดเวลาทําใหไดแลกเปล่ียนขอมูลกัน

การดําเนินกิจกรรมตางๆ ใชการพิจารณาตกลงกันในกลุมกอนเสมอ โดยจะตองหารือใหไดขอยุติท่ีไมทําใหเกิดความเดือดรอนแกสมาชิก ตองคัดเลือกหรือหาแนวทางที่เหมาะสมกับสมาชิกนํามาปรับใช โดยเนนการไมกระทบฐานะการเงิน และความเปนอยูดานอ่ืนๆ กลาวงายๆ วาจะทําส่ิงใดไมใชทําตามไปเลยแตตองมาคิดทบทวนถึงผลไดผลเสีย และวิธีการท่ีเหมาะกับกลุมท้ังในเร่ืองความรูความสามารถหรือตนทุน ในกรณีการปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย ทางกลุมก็ไดสงตัวแทนไปรับการอบรมเพ่ือท่ีจะกลับมาทดลองทําแลวเผยแพรใหแกสมาชิกตอไป จํานวนหลายรุนแลว

การประสานงานกับหนวยงานภาครัฐนั้นสวนใหญชลประทาน กับเกษตรอําเภอจะคอยเขามาสนับสนุนเปนระยะ สวนใหญเปนเร่ืองการแนะนําดานตางๆ โดยมีความเห็นวาการท่ีหนวยงานขางนอกไมวาจะเปนภาครัฐและเอกชนหากมีความตั้งใจจริงใจท่ีจะสนับสนุนเกษตรกร ก็จะเกิดความผูกพันกันและเกิดประโยชนท้ังสองฝาย

Page 146: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

135

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายวิสิฐศักด์ิ ตาประโคน

เกษตรกรแกนนํา ประธานกองทุนหมูบานตะโกราย ในเขตชลประทานอางเก็บนํ้าหวยจระเขมาก อ.เมอืงฯ จ.บรุีรมัย

กองทุนหมูบานตะโกราย จัดต้ังในป 2544 ปจจุบันมีสมาชิก 110 ราย เงินทุน 1 ลานบาท การดําเนินงานสมาชิกคัดเลือกคณะกรรมการบริหารกองทุน เพื่อพิจารณาอนุมัติเงินกูใหกับสมาชิก ซ่ึงสวนใหญเปนเกษตรกรทั้งอยูในเขตและนอกเขตชลประทาน ในการกูยืมนั้นสมาชิกตองยื่นขอกูตอคณะกรรมการ ซ่ึงคณะกรรมการจะพิจารณาจากความจําเปน จากประวัติการกู โดยใหกูไดสูงสุดไมเกิน 2 หม่ืนบาท แตโดยท่ัวไปสมาชิกจะกูระหวาง 5,000 - 10,000 บาทเทานั้น ในการกูจะคิดอัตราดอกเบ้ียรอยละ 8 ตอป โดยกําหนดการคืนเงินกูพรอมดอกเบ้ียในเวลา 1 ป และใหสมาชิก 3 คนคํ้าประกันกันเอง สมาชิกสวนใหญกูไปเปนคาลงทุนในการทํานา และเปนคาใชจายเพ่ือการศึกษาของบุตรหลาน สมาชิกปฏิบัติตามขอตกลงเปนอยางดี การชําระเงินกูลาชามีจํานวนนอยมาก เพราะหากผิดนัดก็จะทําใหสงผลตอการกูในคราวถัดไปดวย กลุมมีแนวคิดจัดต้ังเปนกลุมออมทรัพยเพื่อการมีเงินทุนเปนของตนเอง และจะทําใหสมาชิกกูยืมเม่ือจําเปนไดมากข้ึนแตก็ขาดความรูหลายดานเชน ดานบัญชี ดานกฎหมาย เปนตน การกูเงินจากแหลงอ่ืนๆ สวนใหญจะใชบริการจาก ธ.ก.ส. เพราะทําไดสะดวกรวดเร็วและงายข้ึน เพียงแตรวมตัวกันเปนกลุมประมาณ 10 คนแจงความจํานงขอกูเงินเขาก็จะสงเจาหนาท่ีมาช้ีแจงและประเมินผูขอกูวามีคุณสมบัติครบที่จะใหกูไดหรือไม และใหกูไดเทาไร เวลากูก็ใหคํ้าประกันกันเอง ถามีการคํ้าประกันใชคนคํ้ามาก ก็กูไดมาก แตควรกูเทาที่จําเปนเพราะไมใชไดเงินมาฟรี จะตองเสียดอกเบ้ีย เนื่องจากสมาชิกเปนคนในหมูบานท่ีรูจักกันดี คณะกรรมการจึงรูวาใครเปนอยางไร ใครทําอะไรก็เห็นๆ กันอยูถาใครทําอะไรที่ไมเหมาะสมก็พยายามเตือนกัน เร่ืองการกูเงินก็จะใหกูเทาท่ีจําเปน เพื่อไมใหเปนภาระในการจายเงินกูคืน

Page 147: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

136

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายวิเชียร มนุษยรมัย สารวัตรกํานัน

บทบาทของกํานัน ผูใหญบาน ในปจจุบันนั้นเปล่ียนไปมากมาย เพราะหนาท่ีความรับผิดชอบตางๆ จะเปนขององคการบริหารสวนตําบล(อบต.)ท้ังหมด กํานัน ผูใหญบานท่ีเคยทําภารกิจหนาท่ีท่ีสัมพันธเกี่ยวของกับประชาชนในเขตรับผิดชอบจึงหมดไป บทบาทจะกลายเปนผูประสานงานแทน ซ่ึงพรอมท่ีจะใหความรวมมือกับหนวยงานราชการทุกหนวยในการท่ีจะพัฒนาใหเกิดการกินดีอยูดีของเกษตรกร แผนงาน นโยบายตางๆ ในปจจุบันไมมี เพราะเปนความรับผิดชอบของ อบต. โดยตรง จากอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบท่ีเปล่ียนไป นั้นตามลําพัง อบต.นั้นไมสามารถดูแลหรือเขาถึงปญหาของประชาชนไดเทาผูใหญบาน เพราะเปนผูใกลชิด มีความสัมพันธแบบเครือญาติ แตความสัมพันธกับ อบต.นั้นเปนความสัมพันธในเชิงราชการเปนสวนมาก ขอมูลหรือส่ิงท่ีกํานันหรือผูใหญบานจะใหไดจะมีเพียงขอมูลพื้นฐานตางๆ ซ่ึงก็มีเก็บท่ี อบต. ดวยแต การประสานกับเกษตรกรหรือชาวบานนั้น กํานันผูใหญบานยังมีบทบาทมากอยู และพรอมท่ีจะใหการสนับสนุน

Page 148: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

137

สรุปการสัมภาษณ

ผูใหขอมูล นายวิสฐิศักด์ิ ตาประโคน นายชอบ เรียบรอย นายปุย สิมรัมย นายเสริมศักด์ิ เปลี่ยนรัมย นายประกอบ ตะวันหะ นายอุทัย ทัศนะ นายบท ดาโส นายจําลอง นุกิจรัมย นายวินัย สงดอน นายวิเชียร มนุษยรมัย

เกษตรกรในเขตชลประทานอางเก็บนํ้าหวยจระเขมาก อ.เมอืงฯ จ.บรุีรมัย

กลุมตัวอยางกลุมนี้เดิมไดนัดหมายจะไปสัมภาษณท่ีบานโดยนัดหมายเฉพาะเกษตรกรแกนนํา 2 ราย สวนเกษตรกรท่ัวไปจะไปสุมตามบาน แตในวันสัมภาษณเกษตรกรแกนนําไดไปทําภารกิจท่ีวัดบานตะโกราย คณะผูวิจัยจึงไดตามไปท่ีวัดดังกลาว เม่ือสัมภาษณเกษตรกรแกนนําเสร็จแลว จากการสอบถามพบวามีเกษตรกรในเขตชลประทานอยูบริเวณนั้น 2 – 3 คนจึงขอสัมภาษณ ขณะสัมภาษณมีเกษตรกรอ่ืนๆ เขามาสมทบ และขณะท่ีผูใหสัมภาษณตอบคําถามก็จะไปหารือกับกลุมเกษตรกรดังกลาวอยูตลอดเวลาซ่ึงทําใหเกิดการแสดงความคิดเห็นกันเกิดข้ึน คณะผูวิจัยจึงไดปรับวิธีการสัมภาษณเปนการสัมภาษณกลุมเกษตรกรแทน พบวาไดรับขอมูลท่ีหลากหลายกวา และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในเร่ืองท่ีกําลังกลาวถึงอยางกวางขวางอยูตลอดเวลา และยังนําไปสูขอมูลดานอ่ืนๆ อีกมากมาย เกิดบรรยากาศความเปนกันเอง (นอกจากนี้การสัมภาษณเกษตรกรรายบุคคลรายอ่ืนๆ นั้นไดขอมูลคลายกับการสัมภาษณเปนกลุมในคร้ังนี้ จึงไมนําผลการสัมภาษณเหลานั้นมานําเสนอ) ซ่ึงอาจสรุปการสัมภาษณไดดังนี ้

กลุมตัวอยางเปนเกษตรกรในเขตพื้นท่ีสงน้ําบานตะโกราย ของคลองสงน้ําสายใหญฝงขวา อางเก็บน้ําหวยจระเขมาก ตําบลบานบัว อําเภอเมืองฯ จังหวัดบุรีรัมย โดยเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ําพื้นฐานในระดับคูน้ํา และกลุมยังไปเปนสมาชิกในระดับคลองสงน้ําสายใหญดวย นอกจากมีพื้นท่ีเพาะปลูกอยูในเขตชลประทานแลวบางรายยังมีพื้นท่ีเพาะปลูกนอกเขตชลประทานดวย ความแตกตางท่ีเห็นไดชัดเจนของพื้นท่ีในเขตและนอกเขตคือ การมีน้ําอุดมสมบูรณแตกตางกัน พื้นท่ีในเขตไมตองกังวลเร่ืองน้ําเพราะคูน้ําแตละสายจะไดรับน้ําตามเวลาท่ีกําหนดไว เกษตรกรเพียงแตมา

Page 149: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

138

ดูแลเปดน้ําเขาแปลงของตนและปดเม่ือไดน้ําเพียงพอ ผูไมใสใจโดยเปดทอท้ิงไวเพื่อคอยรับน้ําตลอดเวลาจะเสียประโยชนท่ีปุยท่ีละลายน้ําอยูในนาจะไหลระบายท้ิงไปเม่ือนาไดรับน้ําถึงระดับท่ีเพียงพอแลว และเม่ือปดน้ําท่ีปากคูสงน้ํา น้ําในนาก็จะถูกระบายท้ิงไป ในขณะท่ีพื้นท่ีนอกเขตตองคอยดูแลสูบน้ําจากแหลงน้ําใกลเคียงมาใสหากฝนแลงหรือฝนท้ิงชวง การเตรียมแปลงอันไดแก การไถและคราดท่ีนานั้น เกษตรกรใชรถไถนากันหมดแลว ไมมีใครใชวัว ควายใหเห็นอีกเลย เกษตรกรท่ีเคยใชวัวควายชวยไถนา นั้นลวนมีอายุมาก การไถนานั้นการใชรถไถนาเดินตามก็ตองใชแรงกายมาก ผูไถตองมีความชํานาญ มีรางการแข็งแรง แตการไถนาโดยใชสัตวชวยนั้นตองใชแรงกายมากยิ่งกวา สัตวก็ตองนํามาฝกเพื่อใหทํางานได จากความสะดวกรวดเร็วในการใชรถไถนาจึงยากท่ีจะมีการนําวัวควายมาใชงานอีก

แตเกษตรกรบางรายก็ยังมีความเห็นดวยสําหรับผูท่ีมีท่ีนาไมกี่ไร หากจะนําวัวควายมาใชงาน เพราะเปนการประหยัดคาใชจาย มูลยังมาใชเปนปุยไดดวย สวนผูเสนอความเห็นคานบอกวา ตนเองเล้ียงควายอยูหลายตัวปญหาท่ีเกิดอยูมีหลายอยาง เชน จะตองจัดใหมีผูรับผิดชอบนําสัตวไปเล้ียงหรือหากินท้ังท่ีมีปญหาเร่ืองแรงงานอยูแลว ท่ีมีปญหาไมมีทุงหญาเล้ียงสัตวเหลืออยูอีก ตองตอนไปหาแหลงอาหารไกล สวนใหญริมถนน หรือท่ีรกราง ตองมีคอกใหอยู การใชไถนานั้นชวงหลังมีคนทําคันไถเหล็กมาขายซ่ึงใชไมไดผลเพราะนํ้าหนักเบาเกินไปตองใชแรงชวยกดใหผานไถกินดิน ซ่ึงแบบดั้งเดิมนั้นทําดวยไมท่ีหนักมาก ในปจจุบันจะใชไมท่ีวาคงหาไมได จึงคิดวาไมนาจะร้ือฟนการใชแรงงานสัตวข้ึนมาได เกษตรกรทั่วไปก็พอใจยอมรับการใชเคร่ืองจักรกล

พันธุขาวท่ีเกษตรใชปลูกสวนใหญเปนขาวหอมมะลิ ซ่ึงเมล็ดพันธุนั้นจะใชวิธีแลกกับขาวท่ีผลิตได โดยพันธุแทหรือพันธุรุนแรกท่ีไดมา เกษตรกรสามารถใชเพาะปลูกติดตอกันไดอีก 3 รุน หรือ 3 ป เพราะขาวจะเร่ิมกลายพันธุ หลังจากนั้นตองแลกพันธุแทมาใชอีก จึงมีพันธุขาวท่ีดีปลูกตลอดเวลา เกษตรกรสวนใหญมีท่ีดินเปนของตนเอง คุณสมบัติของดินคอนขางสมบูรณ มีบางรายท่ีไมมีแรงงาน หรือตองทํางานอยางอ่ืน ก็จะใหคนอ่ืนเชาทําโดยแบงผลผลิตกันตามการตกลง

ในการทํานาประกอบดวยกิจกรรมยอยไดแก

การเตรียมแปลง ไดแก การไถและคราดเพ่ือใหดินออนนุมและราบเรียบเหมาะกับการปลูกขาว ถาเปนท่ีนาผืนใหญ หรือมีพื้นท่ีมากๆ หรือเปนนาที่ดอนท่ีมีน้ําทวมขังนอย หรือนาที่มีดินคอนขางเปนดินเหนียวจัด ท่ีนาพวกนี้จําเปนตองใชรถไถนาขนาดใหญเพราะดินจะแข็งมาก แตถาเปนพื้นท่ีนาท่ัวไปที่ดินคอนขางเปนทรายก็จะใชรถไถนาเดินตาม คาจางรถไถขนาดใหญตกไรละ 300 - 600 บาทข้ึนกับชนิดดินและตองมีพื้นท่ีใหไถหรือใหมีรายไดคุมกับการเคล่ือนยายรถ ปกติ

Page 150: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

139

เจาของรถจะมาทาบทามกําหนดชวงเวลาท่ีจะมาไถให ซ่ึงรถไถขนาดใหญจะมีใหบริการนอยลง เพราะวามีรถไถนาเดินตามมาแทนท่ี รถไถนาเดินตามการส้ินเปลืองน้ํามันเช้ือเพลิงในการไถนาประมาณ 5 ลิตร ตอการทํางาน 5 – 7 ช่ัวโมง หรือประมาณ 50 บาทตอไร พื้นท่ีท่ีไถไดในหนึ่งวันข้ึนกับประเภทของดิน ถาเปนดินคอนขางเปนดินเหนียว อาจไถไดเพียง 2 ไรตอวัน ถาเปนคอนขางเปนทรายอาจไถได 4 – 5 ไรตอวัน คาจางตอไรไถพรอมคราดท่ัวๆไปจะคิด 300 บาท ลักษณะการใชงานจะมีท้ังเปนเจารถก็จายเพียงคาน้ํามันเช้ือเพลิง กรณีญาติพี่นองเพื่อนสนิทอาจชวยออกคาน้ํามันเช้ือเพลิงและชวยกันไถ แตสวนใหญจะเปนการจาง ไรละ 300 บาทดังกลาวแลว

ประเภทของการทํานา แบงไดเปน 2 ประเภท คือ นาหวานและนาดํา นาหวาน มักทํากรณีทํานาลาชากวาปกติ อาจเตรียมแปลงชา ซ่ึงอาจเปนเพราะฝนท้ิงชวง

หรือหารถไถนาไมได ขาดแคลนแรงงาน ทําโดยหวานเมล็ดพันธุขาวหลังจากท่ีไดเตรียมแปลงไถ คราดแลว แลวใหขาวเจริญเติบไปตามธรรมชาติ ซ่ึงความหนาแนนหรือจํานวนของตนขาวในนาจะข้ึนกับความสามารถในการหวานใหเมล็ดพันธุกระจายพอเหมาะ ตองมีการใสปุยตามชวงเวลาการเจริญเติบโตของพืชมาก เพราะตนขาวจะข้ึนติดกันมาก

นาดํา โดยการหวานกลาใหตนขาวเกิดการเจริญเติบโตในชวงแรกกอน จากน้ันถอนตนขาวดังกลาว ท่ีเรียกตนกลา เพื่อนําไปปกดําในพื้นท่ีนาท่ีไดเตรียมแปลงไว โดยการปกดําระยะหางแตละตนประมาณ 25 - 30 เซนติเมตร ตนกลาจะเจริญเติบโตแตกกอออกไป

การตกกลา เกษตรกรมักทําเอง โดยพ้ืนท่ีตกกลาจะเปน 1/15 ของพ้ืนท่ีเพาะปลูก โดยกลา 1 ไรนําไปปกดําได 15 ไร แตตอนถอนกลาเพื่อนําไปปกดํา ถาไมมากเกษตรกรจะทําเอง แตถาปริมาณมากๆ จะจางคนถอนกลา คิดคาถอนเปนกําๆ ละ 1 – 1.50 บาท หรือเฉล่ีย 1.25 บาทตอกํา ซ่ึงจะตกไรละ 150 บาทตอไร

การปกดํา สวนใหญเกษตรกรจะวาจางคนอ่ืนมาชวยปกดํา คิดคาจางวันละ 120 – 150 บาท โดยเฉล่ีย 1 ไรใชคนปกดํา 4 คน เปนคาจางประมาณ 600 บาท

การกําจัดศัตรูพืช ศัตรูหลักๆ ไดแก ปูนามักระบาดกัดกินตนขาวออนแตเม่ือขาวเร่ิมแตกกอแลวปูจะไมกัดกินเกษตรกรนิยมใช “ฟลูรีดอน”ขวดละ 55 บาท คลุกขาวสุกหวานใหปูกินโดยคาใชจายไมแนนอนข้ึนกับจํานวนการระบาด สวนใหญตกไรละ 20 บาท นอกจากนี้อาจมีแมลงระบาดซ่ึงสวนใหญจะเกิดนอย มักระบาดเม่ือเกิดความแหงแลงถามีมากจะกําจัดโดยการฉีดยา นอกจากนี้มีวัชพืช สวนใหญจะกําจัดดวยแรงคน ซ่ึงเกษตรกรมักทําเอง

การใสปุย เกษตรกรมีการใชปุยแตกตางกันอาจแบงได 2 กลุม คือ กลุมท่ีใชปุยเคมีท้ังหมด กับกลุมท่ีใชปุยอินทรียคูกับปุยเคมี

Page 151: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

140

การใชปุยจะใส 2 – 3 คร้ังข้ึนกับประเภทของดินหรือความอุดมสมบูรณของดิน หากเปนดินเหนียวมักมีความอุดมสมบูรณจะใส 2 คร้ังคือรองพื้นหลังการไถ คราด บางคนใชปุยอินทรีย บางคนใชปุยเคมี สูตรธาตุอาหาร 16 – 20 – 0 เม่ือปกดําแลวดูการเจริญเติบโต สวนไหนโตชาอาจใสปุยเพิ่มในตรงนั้น คร้ังท่ี 2 เม่ือขาวเร่ิมออกรวง มักใชปุยเคมี สูตรธาตุอาหาร 16 – 20 – 0 ปริมาณปุยท่ีใช กรณีปุยอินทรีย ใชไรละหนึ่งกระสอบ ๆละ 50 กิโลกรัม ราคา 290 บาท สวนปุยเคมีใชคร้ังละคร่ึงกระสอบๆละ 50 กิโลกรัม ราคาประมาณ 500 บาทตอกระสอบ อาจสรุปไดวา กรณีแรกจะเสียคาปุยประมาณ 500 บาท ตอไร

หากเปนดินทรายหรือมีความอุดมสมบูรณตํ่า จะใสปุย 3 คร้ัง โดยใชปุย สูตร 16 – 8 – 8 กระสอบละ 50 กิโลกรัมราคา 400 บาท หรือ 16 – 16 – 8 สําหรับดินทรายจัด กระสอบละ 50 กิโลกรัมราคา 500 บาท แตยังมีเกษตรกรที่ไมมีความรูเร่ืองดินเร่ืองปุย ก็จะใชสูตร 16 – 20 – 0 การใสคร้ังแรกรองพื้น คร้ังท่ีสองเม่ือขาวแตกกอ คร้ังท่ีสามเม่ือขาวออกรวง ใสคร้ังละครึ่งกระสอบตอไร หรือเฉล่ียโดยประมาณ 600 บาทตอไร

การใชปุยนี้ไมเปนส่ิงแนนอนตายตัวมักข้ึนกับความพอใจของเกษตรกร อาจมีบางคนใสนอย บางคนใสมาก หรือบางคนไมใสเลย ไมไดมีการเก็บขอมูลผลผลิตเอาไวจึงไมอาจเปรียบเทียบไดวาควรใสปริมาณเทาใดจึงไดรับประโยชนมากท่ีสุด แตท่ัวไปจะใชปุยไรละ 500 บาทเทานั้น

โครงการชลประทานจะสงเสริมเกษตรอินทรียโดยการลดการใชปุยเคมีและสารเคมีลงหันมาใชวัสดุธรรมชาติท่ีมีในทองถ่ินผลิตปุยอินทรีย ปุยชีวภาพ ยากําจัดศัตรูพืชชีวภาพ โดยใหปรับการผลิตเปนเกษตรอินทรียเต็มรูปแบบในป 2552 นั้นเกษตรกรมีความรูในเร่ืองดังกลาวเห็นวาเปนส่ิงท่ีดีเพราะลดคาใชจายและทําใหสุขภาพของพวกตนดีข้ึน

การเก็บเก่ียว ทําได 2 วิธี คือการใชแรงงานคนเก็บเกี่ยว กับการใชรถเกี่ยวขาว ซ่ึงตองวาจาง

การเก็บเกี่ยวโดยรถเกี่ยวขาวเปนท่ีนิยมมาก แตยังมีอุปสรรคที่เปนเคร่ืองจักรกลท่ีมาจากภาคกลาง จึงมีความไมแนนอนในการมาใหบริการ และยังมีจํานวนนอย ขอดีคือสะดวกรวดเร็วเก็บเกี่ยวแลวยังนวดขาวใหพรอม และเสียคาใชจายถูกกวา โดยตกไรละประมาณ 500 - 600 บาท คิดเฉล่ีย 550 บาทตอไร

การเกี่ยวโดยใชแรงงานคน กรณีนาหวานใชแรงงานไรละ 6 คน กรณีนาดําใชแรงงานไรละ 5 คน คาจางวันละ 120 - 150 บาท ตกไรละเฉล่ีย 600 บาท โดยจะเกี่ยวแลววางเรียงไวเพื่อตากขาวใหแหง นอกจากนี้ยังมีคามัดฟอน ตกไรละ 200 บาท คาขน ไรละ 100 บาท ตองนําไปนวดซ่ึงปจจุบันนี้ใชเคร่ืองนวด เลิกนวดโดยใชแรงคนหรือแรงงานสัตว คานวดกระสอบละ 10 –

Page 152: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

141

12 บาท เฉล่ียผลผลิต 480 กิโลกรัมตอไร หรือ 6 กระสอบๆละประมาณ 80 กิโลกรัม จึงเปนคานวดไรละ 60 บาท รวมคาเกี่ยวดวยแรงคนจนถึงนวด ไรละ 960 บาท

การจําหนาย เกษตรกรมีชองทางจําหนายผลผลิต 2 ทางเลือก คือ การจําหนายใหกับโรงสีตามราคาตลาด กับการเขารวมโครงการรับจํานําขาวที่ทางราชการกําหนดข้ึน ทําไดโดยนําขาวไปจํานํากับโรงสีท่ีรวมโครงการ กับการจํานําโดยเก็บไวในยุงฉางตนเอง เกษตรกรไดรับเงินมากอนในราคารับจํานําท่ีสูงกวาราคาตลาดในขณะน้ัน เม่ือราคาผลิตผลในตลาดมีราคาสูงเทาหรือมากกวาราคาจํานําก็ขายขาวนั้น นําเงินไปจายเพื่อไถถอนการจํานํา เกษตรกรก็จะขายขาวในราคาสูง แตในความเปนจริงไมไดเปนเชนนั้น พอคานําขาวท่ีเสตอกเอาไวมาขาย ราคาขาวในตลาดจึงไมสูงตามท่ีคิดกัน สุดทายเกษตรกรตองขายในราคาตํ่า เชนเดิม รัฐไดแกปญหาโดยการประมูลขายขาวท่ีจํานําไวในยุงฉางเพื่อท่ีจะไดราคาเทาราคาท่ีจํานําไว ซ่ึงในขณะท่ีสัมภาษณนี้อยูในข้ันตอนการประกาศเชิญชวนผูจะมาประมูล

แหลงเงินทุนของเกษตรกร เกษตรกรสวนใหญกูเงินจาก ธ.ก.ส. สหกรณการเกษตรและ

กองทุนหมูบาน บางคนอาจกูหลายท่ี ซ่ึงการกูเงินจากแหลงดังกลาวทําไดงาย และสะดวกมากข้ึนขอกําหนดตางๆ ก็นอยลง สวนการกูยืมจากนายทุนเงินกูนั้นยังพอมีบางแตมีนอยมาก สวนใหญเปนความจําเปนตองใชกรณีฉุกเฉินซ่ึงกูคร้ังละไมมาก โดยจะรีบชําระโดยเร็ว

เกษตรกรในเขตชลประทานตองเปนสมาชิกกลุมผูใชนํา สวนใหญไดรับการเพ่ิมพูน

ความรูโดยการศึกษา ดูงาน การฝกอบรม และทํากิจกรรมรวมกันสมํ่าเสมอ จากการท่ีเกษตรกรสวนใหญมีอายุคอนขางมากและมีการศึกษาในระดับประถมศึกษาจึงอาจมีปญหาในการเรียนรูอยูบาง หนวยงานราชการควรปรับวิธีการใหเหมาะสมดวย

เกษตรกรเสนอความเห็นวาปจจุบันเกิดปญหาฝนแลง หรือฝนท้ิงชวงทําใหอางเก็บน้ํามีน้ํา

นอยทําใหเกิดปญหาในการสงน้ําใหพื้นท่ีเพาะปลูก ควรที่ทางราชการควรเรงแกไขปญหาโดยเร็ว เกษตรกรมีความพอใจในการมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีทํากับชลประทาน และใหเกษตรกร

เปนผูตัดสินใจในส่ิงท่ีเกี่ยวของกับตนเองดวยตัวเอง หนวยงานภาครัฐควรใหการสนับสนุนในส่ิงท่ีเกษตรกรจะเกิดประโยชนสงเสริมการพัฒนาตนเองของเกษตรกรหรือกลุม เกษตรกรยังตองการมีความรูในส่ิงท่ีเกี่ยวของกับการประกอบอาชีพการเกษตร

Page 153: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

ภาคผนวก ค

รายงานการประชุมแนวทางปฏิบัติสําหรับการวิจัย

Page 154: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

143

รายงานการประชุม แนวทางการปฏิบัติของวชิา รอ.800

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการวาดวยการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ครั้งท่ี 1 / 2549 วันท่ี 14 กรกฎาคม 2549

ณ หองบรรยาย 911 อาคารเอนกประสงค ชั้น 9

ผูเขารวมประชุม 1. รศ.ดร. กิตติ บุนนาค อาจารยท่ีปรึกษาวิชาการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

2. นายสุวิทย พันธสุมา รหัสนักศึกษา 4720126020 3. นายปราโมท พลพณะนาวี รหัสนกัศึกษา 4720126033 4. นายอัมพร ราตรี รหัสนักศึกษา 4720126065 5. นายธนากร ธนบวรเกยีรติ รหัสนักศึกษา 4720126069

6. นายจาตุรนต ทองหวั่น รหัสนักศึกษา 4720126082 เร่ิมประชุมเวลา 10.00 น. รศ.ดร. กิตติ บุนนาค ประธานในท่ีประชุมไดกลาวตอนรับนักศึกษาที่มารวมประชุม และช้ีแจงแนวทางการปฏิบัติของวิชา รอ.800 การสัมมนาเชิงปฏิบัติวาดวยการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ตามวาระการประชุมดังนี้ วาระท่ี1 แนวทางการปฏบัิติของวิชา รอ.800 เม่ืออาจารยท่ีปรึกษาเรียกนักศึกษาประชุม ขอใหมาประชุมโดยพรอมเพรียงกนั ตามเวลาท่ีนัดหมาย ใหยดึตามระเบียบการประชุมตามเอกสารท่ีแจก และการรวมประชุม การนําเสนอผลงานแตละคร้ังถือเปนสวนหน่ึงของการทํางานท่ีจะพิจารณาใหคะแนนดวย และขอใหมีผูบันทึกรายงานการประชุมทุกคร้ังดวย

การใหคะแนนจะมีเกณฑการใหคะแนนจาก การรวมประชุม ผลของงานท่ีนําเสนอในแตละคร้ัง ผลของการนําเสนอในวนัสอบ อุปกรณและส่ือท่ีใชในวันสอบ และรายงานฉบับสมบูรณ

Page 155: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

144

วาระท่ี 2 รายละเอียดการประชุมแตละคร้ัง

คร้ังท่ี 1 เปนการอนุมัติหัวขอเร่ืองท่ีจะทําวจิัย ช้ีแจงแนวทางปฏิบัติในการประชุม และแนวทาง การปฏิบัติของวิชา รอ.800 การปรับปรุงแกไขขอเสนอเคาโครงการวิจยั

คร้ังท่ี 2 เนนการปรับปรุงแกไขตัวแบบบูรณาการ- ตัวช้ีวดั- แบบสอบถาม และอนุมัติแบบสอบ ถาม

คร้ังท่ี 3 เนนการปรับปรุงแกไขรางรายงานผลการวจิัยฉบับสมบูรณ และแนะนําการ Present ผลงานในวันสอบ

วาระท่ี 3 การอนุมัติหัวขอในการวิจัย และพิจารณาเคาโครงการวิจัย

3.1 ประธานฯ เห็นชอบอนุมัติหัวขอการวิจยัเร่ือง “การศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในเขตพืน้ท่ีชลประทาน : กรณศึีกษา เกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทานในจังหวดับุรีรัมย”

3.2 ประธาน ฯ ใหปรับปรุงเคาโครงการวิจัยใหมเพราะ เคาโครงยังไมครบถวน และบางสวนสลับท่ีสลับบทโดยใหดจูากเคาโครงท่ีถูกตองสมบูรณของกลุมวิจยัอ่ืนๆ ท่ีประธานฯ ยกมาเปนตัวอยาง โดยใหระบุหวัขอยอยใหครบถวนจะไดเปนกรอบในการจดัทํา ไมเกดิการสับสนและทําเกินขอบเขตท่ีตองการ วาระท่ี 4 นัดหมายการประชุมคร้ังตอไป

คร้ังตอไปเปนการประชุมคร้ังท่ี 2 นัดประชุม วันท่ี 6 สิงหาคม 2549 เวลา 14.00 น. ณ หองบรรยาย 911 อาคารเอนกประสงค ช้ัน 9 เชนเดมิ โดยใหจัดทําตัวแบบบูรณาการ ตัวช้ีวดั และแบบสอบถาม สงใหประธานฯ พจิารณากอนภายในวันท่ี 31 กรกฎาคม 2549 ปดการประชุมเวลา 12.00 น.

Page 156: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

145

รายงานการประชุม แนวทางการปฏิบัติของวชิา รอ.800

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการวาดวยการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ครั้งท่ี 2 / 2549 วันท่ี 26 กรกฎาคม 2549

ณ หองบรรยาย 911 อาคารเอนกประสงค ชั้น 9 ผูเขารวมประชุม 1. รศ.ดร. กิตติ บุนนาค อาจารยท่ีปรึกษาวิชาการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

2. นายสุวิทย พันธสุมา รหัสนักศึกษา 4720126020 3. นายปราโมท พลพณะนาวี รหัสนกัศึกษา 4720126033 4. นายอัมพร ราตรี รหัสนักศึกษา 4720126065 5. นายธนากร ธนบวรเกยีรติ รหัสนักศึกษา 4720126069

ผูไมเขารวมประชุม 1. นายจาตุรนต ทองหวั่น รหัสนักศึกษา 4720126082 (ขอลาเน่ืองจากติดภารกิจ) เร่ิมประชุมเวลา 14.00 น. รศ.ดร. กิตติ บุนนาค ประธานในท่ีประชุมกลาวเปดการประชุม วาระท่ี1 การพิจารณากรอบแนวคิดการวิจัย

1.1 ประธานฯใหเปล่ียนช่ือหวัขอการวจิัยเปน “การศึกษาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืนของเกษตรกรในเขตพ้ืนท่ีชลประทาน : กรณศึีกษา จังหวดับุรีรัมย”

1.2 ใหปรับปรุงกรอบแนวคิดการวจิัยใหม 1) การใชลูกศรเช่ือมโยงจากตัวแปรอิสระ 6 ตัวไปยังตัวแปรตาม ใหแยกลูกศรเปนของแตละตัวแปรอิสระ ไมนํามาโยงรวมกนั เพราะทําใหการแปลความผิดไปจากสมมุติฐานท่ีต้ังไว

Page 157: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

146

2) ใหทําตารางตัวช้ีวดัของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามไวตางหาก ไมนํามาใสไวใตตัวแปร ซ่ึงตัวช้ีวดัท่ีนําเสนอมาใชไดแตควรปรับปรุงใหเกดิความชัดเจนยิง่ข้ึน

3) การหาความจริงเกีย่วกบั ตัวแปร X1 – Xn หาหลักฐานจริงมายนืยันตามตัวช้ีวัด 3.1) จากเอกสาร

3.2) สังเกตการณ 3.3) สัมภาษณ 10 – 15 ราย ( รายละ 2 – 3 ช่ัวโมง) การหาความจริงเกี่ยวกับ X1 –Xn อาจใชแบบสอบถามไดแตเปนแคหลักฐานสนับสนุน เพราะมันเปนระดับความเห็นเทานั้น) 4) การหาความจริงเกีย่วกับ ตัวแปร Y

4.1) ตัวแปร Y เชิงคุณภาพ ใชแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ ใช 5 Scals

4.2 ) ตัวแปร Y เชิงปริมาณ ตองใชหลักฐานจริง วดัจากรายได คาใชจาย 5) Format ของแบบสอบถาม ประกอบดวย

- ขอมูลสวนบุคคล - คําถาม Likert Scale

- ขอเสนอแนะ

วาระท่ี 2 ปรับแกตัวแบบ ตัวชี้วัด แบบสอบถาม

1) ปรับแกตัวแบบ ตัวช้ีวดั แบบสอบถาม ใหมใหมีความเหมาะสมยิ่งข้ึน โดยดูจากตัวอยางท่ีประธานฯ นํามาใหด ู

2) เม่ือแบบสอบถามเสร็จแลวใหลงภาคสนามเก็บขอมูลไดเลย

วาระท่ี 3 นัดหมายการประชุมคร้ังตอไป

กําหนดการประชุม คร้ังท่ี 3 ในวันท่ี 6 กันยายน 2549 เวลา 14.00 น. ณ หองบรรยาย 911 อาคารเอนกประสงค ช้ัน 9 เชนเดิม โดยใหสงรายงานฉบับรางใหประธานฯ ตรวจสอบภายใน 31 สิงหาคม 2549 ปดการประชุมเวลา 16.30 น.

รายงานการประชุม แนวทางการปฏิบัติของวชิา รอ.800

Page 158: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

147

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการวาดวยการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน ครั้งท่ี 3 / 2549 วันท่ี 6 กันยายน 2549 ณ หองประชุม อาคารเอนกประสงค ชั้น 7

ผูเขารวมประชุม 1. รศ.ดร. กิตติ บุนนาค อาจารยท่ีปรึกษาวิชาการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

2. นายสุวิทย พันธสุมา รหัสนักศึกษา 4720126020 3. นายปราโมท พลพณะนาวี รหัสนกัศึกษา 4720126033 4. นายอัมพร ราตรี รหัสนักศึกษา 4720126065 5. นายธนากร ธนบวรเกยีรติ รหัสนักศึกษา 4720126069

6. นายจาตุรนต ทองหวั่น รหัสนักศึกษา 4720126082 เร่ิมประชุมเวลา 14.30 น. รศ.ดร. กิตติ บุนนาค ประธานในท่ีประชุมไดกลาวเปดประชุม และช้ีแจงผลการตรวจรายงานการวิจัยท่ีไดสงมา ดังนี้ 1. ใหตรวจสอบตัวสะกดในเอกสารอยาใหผิดพลาดเพราะเปนตัวช้ีวัดอยางหนึ่งของคุณภาพรายงานการวิจัย 2. ตรวจสอบเอกสารอางอิงตองครบถวน 3. บรรณานุกรม ตองระบุเอกสารอางอิงครบถวนตรงตามการนําเสนอเนื้อหาในรายงาน 4. รูปเลมตองมี บทคัดยอ คํานํา กิตติกรรมประกาศ สารบัญ(สารยัญเนื้อหา/สารบัญตาราง/สารบัญรูปภาพ) 5. บทท่ี 3 ทบทวนวรรณกรรม ตองมีขอมูลวรรณกรรมของตัวแปร X และ Y อยาใหขาดหรือเกิน 6. บทท่ี 4 ระเบียบวิจัย ยังมีตกหลนอยูบางเร่ืองใหตรวจสอบใหครบ และระบุวิธีการหรือเคร่ืองมือท่ีใชนั้นใชกับใคร

Page 159: การศึกษาศักยภาพการพ ึ่งพา ...ridceo.rid.go.th/buriram/download/reserch-mppm8-nida.pdf · 2012-02-17 · การศึกษาศักยภาพการพ

148

7. บทท่ี 5 ผลของขอมูล ยังขาดความชัดเจนในการนําเสนอ และตองตรวจทานความเหมาะสม ลําดับการนําเสนอควรเปนเชนไรจึงทําใหเกิดการตอเนื่องเม่ือมาอานรายงาน และงายตอการทําความเขาใจ 8. บทท่ี 6 ขอเสนอแนะ แยกขอเสนอแนะเชิงนโยบาย และเชิงปฏิบัติ โดยตองสอดคลองกับผลของขอมูลท่ีคนพบในบทท่ี 5 ตองยกตัวอยางประกอบขอเสนอแนะเพื่อกอใหเกิดรูปธรรมท่ีชัดเจน 9. ใหสงตนรางท่ีปรับแกแลว ภายใน 19 กันยายน 2549 กอน 16.30 น. และในวันท่ี 13 กันยายน 2549 ประธานจะนําเสนอผลการวิจัยหัวขอ การวิเคราะหผลลัพธและผลกระทบจากขอตกลงการคาเสรี(FTA) ไทย – ออสเตรเลีย สามารถนําตนรางมาสงในวันดังกลาวและรวมรับฟงการนําเสนอผลการวิจัยเพื่อเปนแนวทางในการใชนําเสนอในวันสอบ ในวันท่ี 20 ตุลาคม 2549 ได 10. การนําเสนอการวิจัยใหเตรียมเอกสารสรุปไปแจกใหผูฟงดวย และใหนําเสนอใหเปนธรรมชาติในลักษณะบอกเลา แทนการอานใหฟง ปดประชุมเวลา 16.30 น.