โครงการวิจัย - ridkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·...

123
โครงการวิจัย การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทาน ที่ไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ระหวางปงบประมาณ 2549-2553 The Effectiveness and Worthiness Assessment On the Royal Irrigation Officer who received a scholarships to study, training and work aboard in 2006-2010 สวนฝกอบรม สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล กรมชลประทาน พ.ศ.2554

Upload: others

Post on 20-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

โครงการวิจัย

การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทาน ที่ไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ระหวางปงบประมาณ 2549-2553

The Effectiveness and Worthiness Assessment On the Royal Irrigation Officer who received

a scholarships to study, training and work aboard in 2006-2010

สวนฝกอบรม สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล

กรมชลประทาน พ.ศ.2554

Page 2: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

กิตติกรรมประกาศ

การทําวิจัยเรื่อง การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือนําผลการวิจัยไปใชประโยชน และเปนการเตรียมความพรอมในการดําเนินการตามเกณฑ PMQA ระดับกาวหนา (Progressive Level: PL) ในหมวด 5 การมุงเนนทรัพยากรบุคคล ใน HRP 3 ซ่ึงกําหนดใหมีแนวทางและกระบวนการพัฒนาและประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากร โดยกรมชลประทานจะตองดําเนินการพัฒนาองคกรสู เกณฑในระดับกาวหนา (Progressive Level: PL) ในปงบประมาณ 2555 ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม (PMQA)

ในการทําวิจัยครั้งนี้จะไมสามารถสําเร็จลุลวงไดเลยหากไมไดรับความกรุณาจากนางศิวพร ภมรประวัติผูอํานวยการสวนฝกอบรม สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคลท่ีไดกรุณาใหคําปรึกษา และขอเสนอแนะรวมท้ังสละเวลาเพ่ือแกไขงานวิจัยใหมีความสมบูรณในเนื้อหา สงผลใหงานวิจัยสําเร็จลุลวงดวยดี

ขอขอบคุณกองการเงินและบัญชีท่ีกรุณาใหขอมูลผูไดรับทุนไปดูงานตางประเทศภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน และขอขอบคุณนางสาววิไลลักษณ จิโรจนสกุล นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ และเจาหนาท่ีสวนฝกอบรม สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล ท่ีมีสวนชวยเหลือและใหขอมูลบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศระหวางปงบประมาณ 2549 – 2553 ในการทําวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณบุคลากรของกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศทุกทานท่ีใหความรวมมือในการตอบแบบประเมินในการทําวิจัยครั้งนี้ ซ่ึงผลท่ีไดจากการวิจัยจะเปนประโยชนในการนําไปวิเคราะห และตัดสินใจในการวางแผนการพัฒนาขาราชการของกรมชลประทานตอไป

พิลาวัลย นาคพนม สุนันท พาซิทนี่ย

ผูวิจัย

Page 3: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

สารบัญ หนา บทคัดยอ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทท่ี 1 บทนํา 1 วัตถุประสงค 2 ขอบเขตของงานวิจัย 2 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 2 กรอบแนวความคิด 3 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาบุคลากร 4 แนวคิดเก่ียวกับการประเมินผลการฝกอบรม 11 แนวคิดเก่ียวกับประสิทธิผล 17 การวัดระดับการเปนผูสนับสนุนองคกร (Net Promoter Score, NPS) 21

โครงสราง วิสัยทัศน พันธกิจ กรมชลประทาน 22 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ 24

บทท่ี 3 การดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง 26 สรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 27 การเก็บรวบรวมขอมูล 29 การวิเคราะหขอมูล 29

เกณฑในการเทียบเคียงประสิทธิผลความคุมคา 30 เกณฑการประเมินความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรกรมชลประทาน 30

การใชคาดัชนีวัดความยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม และดูงานดวยการใชคะแนน 31 NPS (Net Promoter Score) บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ตอนท่ี 1 วิเคราะหขอมูลท่ัวไป 33 ตอนท่ี 2 การเทียบเคียงเกณฑประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา 41 ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ

ตอนท่ี 3 การเทียบเคียงเกณฑการวัดระดับความยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม 45 และดูงานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score)

ตอนท่ี 4 รวบรวมความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากคําถามปลายเปดและนําเสนอผลการ 57

Page 4: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

สารบัญ (ตอ) หนา วิเคราะหในเชิงบรรยาย บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 59 อภิปรายผล 63 ขอเสนอแนะ 66 เอกสารอางอิง 54 ภาคผนวก

Page 5: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 แสดงเพศของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 33 2 แสดงอายุของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 34 3 แสดงวุฒิการศึกษาของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 34 4 แสดงอายุราชการของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 34 5 แสดงตําแหนงของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 35 6 แสดงระดับของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 36 7 แสดงสํานัก / กองของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 37 8 แสดงประเภททุนของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 38 9 แสดงประเภทปริญญาบัตรของบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษาตอตางประเทศ 38 10 แสดงระยะเวลาท่ีบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 39 11 แสดงแหลงเงินทุนท่ีบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 39 12 แสดงการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 40 หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ 13 แสดงการยายไปทํางานหนวยงานอ่ืนของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและ 40 ดูงานตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ 14 แสดงบุคลากรท่ียังปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิมหลังจากท่ีไดรับทุนไปศึกษา 41 ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ 15 แสดงความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 41 หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ ในแงของการสงเสริมการพัฒนาตนเอง 16 แสดงความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 42 หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ ในแงของการสงเสริมการพัฒนางาน 17 แสดงความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 43 หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ ในแงของการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรม 18 แสดงความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ 44 หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ ในแงของความพึงพอใจจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน 19 แสดงประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน 44 20 แสดงผลการวัดระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา/หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม 45

และดูงานใหผูอ่ืน 21 แสดงหลักสูตรท่ีบุคลากรไดรับการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน 46

Page 6: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา 1 แสดงกรอบแนวคิดในการดําเนินการวิจัย 3 2 แสดงปจจัยสําคัญท่ีควรไดรับการพิจารณา หรือตรวจสอบในการประเมินผล 13

Page 7: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ช่ือโครงการวิจัย การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับ ทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ช่ือผูวิจัย นางสาวพิลาวัลย นาคพนม นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ นางสุนันท พาซิทนี่ย นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากร กรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ระหวางปงบประมาณ 2549 – 2553 จําแนกตามประเด็น 4 ประเด็นตามกรอบ Training Scorecards ไดแก ความพึงพอใจในหลักสูตรท่ีไปศึกษา ฝกอบรม

และดูงานตางประเทศ ประโยชนดานการพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองคกร โดยอาศัยตัวชี้วัด วิธีดําเนินการวิจัยไดกําหนดกลุมตัวอยาง เปนบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ระหวางปงบประมาณ 2549 –2553 จํานวน 227 คน เครื่องมือท่ีใชในการเก็บ

ขอมูล เปนแบบสอบถามปลายปดและปลายเปด การวิเคราะหขอมูลผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลของผูตอบแบบสอบถามปลายปดโดยการวิเคราะหคาเฉลี่ย เทียบเคียงเกณฑประสิทธิผลความคุมคาการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน และเกณฑการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน การใชคา

ดัชนีวัดความประทับใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนของบุคลากรกรมชลประทานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score) สําหรับคําถามปลายเปดผูวิจัยไดรวบรวมความคิดเห็นและขอเสนอแนะแลวนําเสนอผลการวิจัยในเชิงบรรยาย

ผลการวิจัยพบวา ภาพรวมการเขารับการพัฒนาของบุคลากรกรมชลประทานมีประสิทธิผลความคุมคาผานเกณฑการประเมินประสิทธิผลความคุมคา อยูในเกณฑความคุมคาระดับปานกลาง และเม่ือแยกเปนประเด็นตาง ๆ พบวา

1. ประโยชนดานการสงเสริมการพัฒนาตนเอง ในภาพรวมของการเขารับการพัฒนามีประสิทธิผลความคุมคาผานเกณฑการประเมิน โดยบุคลากรมีการนําความรูท่ีไดรับมาเพ่ิมพูนความรู เพ่ิมพูนทักษะในการปฏิบัติงาน และมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติเพ่ือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล คิดเปนรอยละ 74.0 2. ประโยชนดานการสงเสริมการพัฒนางาน ในภาพรวมของการเขารับการพัฒนามีประสิทธิผลความคุมคาผานเกณฑการประเมิน โดยบุคลากรมีการนําความรูท่ีไดรับมาประยุกตใชในการทํางาน เพ่ือลดปญหาและแกไขงานท่ีผิดพลาด สงเสริมภาวะผูนําของทีมงานท่ีเกงงาน เกงคน และเกงคิด มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือนรวมงาน และเปนการเพ่ิมเครือขายในการประสานงาน คิดเปนรอยละ 72.5

3. ประโยชนดานการพัฒนาองคกร ในภาพรวมของการเขารับการพัฒนามีประสิทธิผลความคุมคาไมผานเกณฑการประเมิน ในดานการลดตนทุน และการเพ่ิมผลผลิต โดยบุคลากรเพียงแตนําเทคนิคและวิธีการมาปรับปรุง ดัดแปลงและพัฒนางานโดยการลดระยะเวลาการปฏิบัติงานและเพ่ิมความพึงพอใจของ

Page 8: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ผูรับบริการเทานั้น แตมีการระบุการนําความรูท่ีไดรับมาสรางผลงานหรือนวัตกรรมท่ีเปนรูปธรรมมีนอยมาก นั่นคือไมผานเกณฑ คิดเปนรอยละ 68.1 4. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของบุคลากร ในภาพรวมของการเขารับการพัฒนามีประสิทธิผลความคุมคาผานเกณฑการประเมิน โดยบุคลากรมีความพึงพอใจในดานความรูท่ีไดรับตรงกับความคาดหวัง รวมท้ังไดเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรม และดูงาน คิดเปนรอยละ 78.6 5. เพ่ือวัดระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน ดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score) คือ คะแนนการบอกตอสุทธิ พบวา บุคลากรท่ีไดรับการศึกษา ฝกอบรมและดูงานมีความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน คิดเปนรอยละ 39.4 บุคลากรไมยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนคิดเปนรอยละ 15.7 และมีคาระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน เทากับ 23.7 6. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพความคุมคาของการพัฒนาบุคลากร กรมชลประทาน ท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ สรุปไดดังนี้ 6.1 กรมชลประทานควรกําหนดเปาหมายหลักหรือผลงานท่ีคาดหวังจากบุคลากรหลังจากไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศโดยกําหนดผลลัพธจากการพัฒนาแตละหลักสูตรใหชัดเจนวาหลังการเขารับการพัฒนาแลวควรมีผลลัพธเรื่องใดบางท่ีตองพัฒนาปรับปรุง โดยเนนประเด็นและตัวชี้วัดท่ีไมผานเกณฑการประเมินเปนอันดับแรก คือ การพัฒนาองคกรไดแก 1) การลดตนทุน และ 2) การเพ่ิมผลผลิต 6.2 ผูบริหารควรวางแผนกําหนดกลยุทธในการสนับสนุนการสรางนวัตกรรมใหมๆใหเกิดข้ึนในองคกรจากผูไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศท่ีไดนําเสนอผลงานและรายงานผลใหกรมทราบถึงผลลัพธของการพัฒนาอยางเปนรูปธรรม 6.3 ควรสงเสริมสนับสนุนใหมีการรวบรวมและเผยแพรความรูและทักษะใหมๆ ท่ีไดจากการศึกษาและฝกอบรมดวยสื่อตางๆ เพ่ือหนวยงานตางๆ ท่ีเก่ียวของสามารถนํามาใชเปนแนวทางหรือคูมือในการพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางเปนรูปธรรม 6.4 ควรมีการวัดและประเมินผล ความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรโดยการศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป 6.5 องคกรควรมีการยกยองชมเชย ใหรางวัลและสิ่งจูงใจ เพ่ือสนับสนุนใหบุคลากรผูรับทุนท่ีไดสรางนวัตกรรมใหมใหกับองคกรและนําความรูไปใชประโยชนในการพัฒนาปรับปรุงงานอยางมีรูปธรรมมีขวัญกําลังใจในการทํางานอยางมีประสิทธิผล มีจิตสํานึกในการทํางานท่ีมุงเนนผลประโยชนใหกับองคกรเนื่องจาก พบวาบุคลากรท่ีไดรับทุนศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศไดรับการเลื่อนตําแหนง คิดเปนรอยละ 4.5

Page 9: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

บทท่ี 1

บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การพัฒนาบุคลากร คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพดานทักษะ ความชํานาญในการทํางาน ตลอดจน

ปรับเปลี่ยนทัศนะคติของบุคลากรทุกระดับใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน การเพ่ิมประสิทธิภาพบุคลากรสามารถทํา

ไดดวยวิธีการฝกอบรม ปฐมนิเทศ สงไปดูงานตางประเทศ รวมสัมมนาท้ังในและนอกสถานท่ี ฯลฯ เพ่ือใหบุคคลนั้น

สามารถปฏิบัติงานไดอยางเต็มท่ี สําเร็จตามเปาหมายขององคกร การพัฒนาบุคลากรนั้นทําใหมีการเปลี่ยนแปลง

ภายในองคกร เชน องคกรมีการขยายตัว องคกรจึงตองมีการฝกอบรม เพ่ือพัฒนาบุคลากรใหมีประสิทธิภาพการ

ทํางานสูงข้ึน หรือหากองคกรตองการปรับลดขนาดลง การพัฒนาบุคลากรยังมีสวนสําคัญท่ีจะชวยกระตุนให

บุคลากรเกิดความคลองตัวในการทํางานมากยิ่งข้ึน เม่ือเกิดการเปลี่ยนแปลงภายนอกองคกร เชนสภาพสังคม

การเมือง เศรษฐกิจ ฯลฯ องคกรจําเปนตองพัฒนาบุคลากร เพ่ือใหพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงภายนอก

ตลอดเวลา และการพัฒนายังชวยละลายพฤติกรรมมนุษย โดยปกติบุคลากรมีทัศนคติแตกตางกัน การพัฒนา

บุคลากรสามารถใชเปนเครื่องมือละลายพฤติกรรมบุคลากรท่ีมาทํางานรวมกันใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

นอกจากนี้ ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี อาทิ เครื่องจักรท่ีทันสมัย คอมพิวเตอร การอบรมบุคลากรใหมี

ความรู ความชํานาญในการใชเทคโนโลยีเหลานั้น จะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการทํางานใหแก

บุคลากร

กรมชลประทานไดนําแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม (PMQA) มาใชใน

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของกรม โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2552 ถึง พ.ศ. 2554 ใชเกณฑการพัฒนา

คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพ้ืนฐาน (Fundamental Level: FL) เปนพ้ืนฐานในการพัฒนาองคกรสู

เกณฑในระดับกาวหนา (Progressive Level: PL) ท่ีจะตองดําเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตอไป โดย

ตามเกณฑ PMQA ระดับกาวหนาในหมวด 5 การมุงเนนทรัพยากรบุคคล ใน HRP 3 ระบุใหสวนราชการมีการ

พัฒนาบุคลากรและผูบริหาร รวมท้ังระบบการเรียนรูของบุคลากรและผูบริหาร ตลอดจนมีการประเมินประสิทธิผล

ความคุมคาของการพัฒนาและระบบการเรียนรูในสวนราชการตามแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลท่ี

กําหนดไว เพ่ือใหสามารถปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามวัตถุประสงคเชิงยุทธศาสตร

ดังนั้น สวนฝกอบรม สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล จึงไดจัดทําโครงการวิจัย

เพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศ เพ่ือนําผลการวิจัยมาใชในการพัฒนา และกําหนดแนวทางการพัฒนาปรับปรุงการพัฒนาบุคลากร

ของกรมชลประทานตอไป

Page 10: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

2

2. วัตถุประสงคของงานวิจัย

เพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดู

งานตางประเทศ จําแนกตามประเด็น 4 ประเด็นตามกรอบ Training Scorecards ไดแก ความพึงพอใจใน

หลักสูตรท่ีไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ประโยชนดานการพัฒนาตนเอง ประโยชนดานการพัฒนางาน

และประโยชนดานการพัฒนาองคกร

3. ขอบเขตของการวิจัย

ประชากรท่ีใชในการศึกษาวิจัยเพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศครั้งนี้เปนบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศในระหวางปงบประมาณ พ.ศ.2549 – ป พ.ศ.2553 โดยอาศัยแบบสอบถาม 4. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย

เพ่ือนําผลจากการวิเคราะหและประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไป

ศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ไปเปนขอมูลประกอบการวางแนวทางการพัฒนาสําหรับบุคลากรของกรม

ชลประทาน และใชเปนขอมูลสําหรับผูกําหนดนโยบายประกอบการจัดทําแผนพัฒนาและบริหารจัดการบุคลากร

ของกรมชลประทานเพ่ือใหเกิดประสิทธิผลความคุมคาตอไปซ่ึงเปนไปตามเกณฑในการพัฒนาระบบบริหารจัดการ

ในระดับกาวหนา (Progressive Level: PL) หมวด 5 การมุงเนนทรัพยากรบุคคล

Page 11: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

3

5. กรอบแนวความคิด

แผนภาพท่ี 1 แสดงกรอบแนวความคิดในการทําวิจัย

ขอเสนอแนะเพ่ือเพ่ิมประสิทธิผลความคุมคาของ

การพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทานดวยการให

ทุนศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

PMQA หมวด 5 PL HRP 3

ตัวชี้วัดประสิทธิผลความคุมคา

ตัวชี้วัดดานการพัฒนาตนเอง

ตัวชี้วัดดานการพัฒนาองคกร

ตัวชี้วัดดานการพัฒนาทีมงาน

ตัวชี้วัดดานความพึงพอใจในหลักสูตร

การประเมินประสิทธิผลความคุมคา โดยอาศัย

ตัวชี้วัด

เทียบเคียงประสิทธิผลความคุมคาตามเกณฑ

Page 12: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

4

บทท่ี 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

การวิจัยเพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศไดทําการตรวจเอกสารท่ีเก่ียวของ ดังนี้

1. แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาบุคลากร

2. แนวคิดเก่ียวกับการประเมินผลการฝกอบรม

3. แนวคิดเก่ียวกับประสิทธิผล

4. โครงสราง วิสัยทัศน พันธกิจ กรมชลประทาน

5. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

1. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร

การพัฒนาบุคลากรดวยการจัดโครงการฝกอบรมนั้นจะสงผล และ เอ้ืออํานวยประโยชนใหกับองคกร

หรือหนวยงานไดเพียงใด ยอมข้ึนอยูกับความรูความสามารถและทัศนคติท่ีมีตองานของบุคลากรผูรับผิดชอบ

จัดการฝกอบรมเปนสําคัญ หากจะใหสามารถปฏิบัติงานดานการบริหารงานฝกอบรมไดอยางมีประสิทธิภาพ

นอกเหนือไปจากจะตองมีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับกระบวนการฝกอบรม และหลักการบริหารงานฝกอบรมแต

ละข้ันตอนแลว ผูรับผิดชอบงานฝกอบรมควรจะตองมีความรูพ้ืนฐานทางสังคมศาสตร และ พฤติกรรมศาสตรแขนง

ตางๆ อยางกวางขวาง เชน สังคมวิทยา จิตวิทยา และศาสตรการจัดการ ซ่ึงจะชวยเอ้ืออํานวยใหสามารถกําหนด

หลักสูตร และโครงการฝกอบรมไดงายข้ึน มีความรูเก่ียวกับหลักการบริหารบุคคลและการพัฒนาบุคคลดวยวิธีการ

อ่ืนๆ นอกเหนือไปจากการฝกอบรม มีความเขาใจถึงหลักการเรียนรูของผูใหญ เพ่ือใหสามารถปฏิบัติตอผูเขาอบรม

ไดอยางเหมาะสม ตลอดจนเขาใจถึงหลักการวิจัยทางสังคมศาสตรอยูบางพอท่ีจะสามารถทําการสํารวจ เพ่ือ

รวบรวมและวิเคราะหขอมูลท่ีจําเปนในการบริหารงานฝกอบรมได นอกจากนั้น ผูดําเนินการฝกอบรมยังจําเปนท่ี

จะตองมีความสามารถในการสื่อสาร ท้ังดานการเขียนและการพูดในท่ีชุมนุมชน ตลอดจนมีมนุษยสัมพันธดีเพ่ือให

สามารถติดตอสื่อสารกับกลุมผูเขาอบรม และประสานงานกับผูเก่ียวของอ่ืนๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพดวยการ

ฝกอบรมกับการศึกษาและการพัฒนาบุคคล

ท้ังการศึกษา การพัฒนาบุคคล และการฝกอบรมลวนแตมีลักษณะท่ีสําคัญๆ คลายคลึงกัน และเก่ียวของกันจนดูเหมือนจะแยกออกจากกันไดยากแตความเขาใจถึงความแตกตางระหวางท้ัง 3 เรื่องดังกลาวจะชวยทําใหสามารถเขาใจถึงลักษณะของกระบวนการฝกอบรม ตลอดจนบทบาทและหนาท่ีของผูรับผิดชอบจัดการฝกอบรมเพ่ิมมากข้ึน

การศึกษาเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางมีระบบ เพ่ือใหบุคคลมีความรู ทักษะ

ทัศนคติในเรื่องท่ัวๆไป อยางกวางๆ โดยมุงเนนการสรางคนใหมีความสมบูรณ เพ่ือใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคม

ดวยดี และสามารถปรับตัว ใหเขากับสภาพแวดลอมไดเปนสําคัญ ถึงแมวาการศึกษายุคปจจุบันจะเนนให

ความสําคัญแกตัวผูเรียนเปนหลัก (Student-Centered) ท้ังในดานของการจัดเนื้อหาการเรียนรู ระดับความยาก

งายและเทคนิควิธีการเรียนรู เพ่ือใหตรงกับความสนใจ ความตองการ ระดับสติปญญา และความสามารถของ

Page 13: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

5

ผูเรียนก็ตาม การศึกษาโดยท่ัวไปก็ยังคงเปนการสนองความตองการของบุคคล ในการเตรียมพรอม หรือสราง

พ้ืนฐานในการเลือกอาชีพมากกวาการมุงเนนใหนําไปใชในการปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง นอกจากนั้น การศึกษาเปน

เรื่องท่ีสามารถกระทําไดตลอดชีวิต (Lifelong Education) ไมจํากัดระยะเวลาอีกดวย

สวนคําวา การพัฒนาบุคคล นั้น นักวิชาการดานการฝกอบรมบางทานเห็นวาเกือบจะเปนเรื่อง

เดียวกันกับการฝกอบรม โดยกลาววา การฝกอบรม เปนการเสริมสรางใหเกิดการเรียนรู สําหรับบุคลากรระดับ

ปฏิบัติการ เพ่ือใหสามารถทํางานอยางใดอยางหนึ่งไดตามจุดประสงคเฉพาะอยาง ในขณะท่ีการพัฒนาบุคคลนั้น

มุงเสริมสรางใหเกิดการเรียนรูในเรื่องท่ัวๆไป อยางกวางๆ เฉพาะสําหรับบุคลากรระดับบริหารเปนสวนใหญซ่ึง

ในทางปฏิบัติแลวบุคลากรท้ังสองระดับก็ตองมีท้ังการฝกอบรมและการพัฒนาบุคลากรรวมๆกันไป เพียงแตวาจะ

เนนหนักไปในทางใดเทานั้น

เดนพงษ พลละคร เห็นวาคําวา การพัฒนาบุคคล เปนคําท่ีมีความหมายกวางมาก กลาวคือ กิจกรรม

ใดท่ีจะมีสวนทําใหพนักงานมีความรู ทักษะ ประสบการณ และทัศนคติท่ีดีข้ึน สามารถท่ีจะปฏิบัติหนาท่ีท่ียากข้ึน

และมีความรับผิดชอบท่ีสูงข้ึนในองคกรไดแลว เรียกวาเปนการพัฒนาบุคคลท้ังนั้น ซ่ึงหมายความรวมถึงการให

การศึกษาเพ่ิมเติม การฝกอบรม การสอนงาน หรือ การนิเทศงาน (Job Instruction) การสอนแนะ (Coaching)

การใหคําปรึกษาหารือ (Counseling) การมอบหมายหนาท่ีใหทําเปนครั้งคราว (Job Assignment) การให

รักษาการแทน (Acting) การโยกยายสับเปลี่ยนหนาท่ีการงานเพ่ือใหโอกาสศึกษางานท่ีแปลกใหม หรือการไดมี

โอกาสศึกษาหาความรู และประสบการณจากหนวยงานอ่ืน (Job Rotation) เปนตน

จากความหมายของการพัฒนาบุคคลดังกลาวขางตน ทําใหเขาใจไดทันทีวาการฝกอบรมเปนเพียง

วิธีการหนึ่ง หรือ สวนหนึ่งของการพัฒนาบุคคลเทานั้น เพราะการพัฒนาบุคคลเปนเรื่องซ่ึงมีจุดประสงคและ

แนวคิดกวางขวางกวาการฝกอบรม ดังท่ีมีผูนิยามวา การฝกอบรม คือ " การพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความ

เขาใจ ทักษะ ทัศนคติ ท่ีเหมาะสมในการปฏิบัติงาน จนกระท่ังเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานไป

ในทิศทางท่ีตองการ "

นอกจากนั้น การฝกอบรมเพ่ือพัฒนาบุคคลนั้น เปนเรื่องท่ีมีวัตถุประสงคเฉพาะเจาะจง เนนถึงการ

เพ่ิมประสิทธิภาพของงานซ่ึงตัวบุคคลนั้นปฏิบัติอยู หรือจะปฏิบัติตอไปในระยะยาว เนื้อหาของเรื่องท่ีฝกอบรมอาจ

เปนเรื่องท่ีตรงกับความตองการของตัวบุคคลนั้นหรือไมก็ได แตจะเปนเรื่องท่ีมุงเนนใหตรงกับงานท่ีกําลังปฏิบัติอยู

หรือกําลังจะไดรับมอบหมายใหปฏิบัติ การฝกอบรม จะตองเปนเรื่องท่ีจะตองมีกําหนดระยะเวลาเริ่มตน และ

สิ้นสุดลงอยางแนนอน โดยมีจุดประสงคใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซ่ึงสามารถประเมินผลไดจากการ

ปฏิบัติงานหรือผลงาน (Performance) หลังจากไดรับการฝกอบรม ในขณะท่ีการศึกษา เปนเรื่องระยะยาว และ

อาจประเมินไมไดในทันที

เทาท่ีกลาวมาแลวท้ังหมดในสวนของการศึกษา การพัฒนาบุคคลและการฝกอบรม อาจสรุปความ

แตกตางของท้ัง 3 คํา อยางสั้น ๆ ไดดังนี้

การศึกษา (Education) เนนท่ีตัวบุคคล (Individual Oriented)

การฝกอบรม (Training) เนนถึงการทําใหสามารถทํางานท่ีตองการได (Job Oriented)

Page 14: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

6

การพัฒนา (Development) เนนท่ีองคกร (Organizational Oriented) เพ่ือใหตรงกับนโยบาย

และเปาหมายขององคกรท่ีสังกัด

การฝกอบรมบุคลากร: นิยามและจุดมุงหมาย การฝกอบรม (Training) คือ กระบวนการจัดการเรียนรูอยางเปนระบบเพ่ือสรางหรือเพ่ิมพูนความรู

(knowledge) ทักษะ (skill) ความสามารถ (ability) และเจตนา (attitude) ของบุคลากร อันจะชวยปรับปรุงใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ดังนั้น การฝกอบรมจึงเปนโครงการท่ีถูกจัดข้ึนมาเพ่ือชวยใหพนักงานมีคุณ สมบัติในการทํางานสูงข้ึน เชน เปนหัวหนางานท่ีสามารถบริหารงานและบริหารผูใตบังคับบัญชาไดดีข้ึน หรือเปนชางเทคนิคท่ีมีความสามารถในการซอมแซมเครื่องจักรไดดีข้ึน เปนตน

โดยท่ัวไปแลว การฝกอบรมบุคลากรในองคกรมีจุดประสงค 3 ประการดังตอไปนี้ 1. เพ่ือปรับปรุงระดับความตระหนักรูในตนเอง (self–awareness) ของแตละบุคคล ความตระหนักรูในตนเองคือ การเรียนรูเก่ียวกับตนเอง อันไดแก การทําความเขาใจเก่ียวกับบทบาทและความรับผิดชอบของตนเองในองคกร การตระหนักถึงความแตกตางระหวางสิ่งท่ีตนเองปฏิบัติจริงและปรัชญาท่ียึดถือ การเขาใจถึงทัศนะท่ีผูอ่ืนมีตอตนเอง และการเรียนรูวาการกระทําของตนมีผลกระทบตอผูอ่ืนอยางไร เปนตน 2. เพ่ือเพ่ิมพูนทักษะการทํางาน (job skills) ของแตละบุคคล โดยอาจเปนทักษะดานใดดานหนึ่งหรือหลายดานก็ได เชน การใชคอมพิวเตอร การดูแลรักษาความปลอดภัยในการทํางาน หรือการปกครองบัญชาลูกนอง เปนตน 3. เพ่ือเพ่ิมพูนแรงจูงใจ (motivation) ของแตละบุคคล อันจะทําใหการปฏิบัติงานเกิดผลดีแม วาบุคคลหนึ่ง ๆ จะมีความรูความสามารถในการปฏิบัติงาน แตหากขาดแรงจูงใจในการทํางานแลว บุคคลนั้นก็อาจ จะมิไดใชความรูและความสามารถของตนเองอยางเต็มท่ี และผลงานก็ยอมจะไมมีประสิทธิภาพเทาท่ีควร ดังนั้น การสรางแรงจูงใจในการทํางานจึงเปนสิ่งท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จขององคกร วัตถุประสงคของการฝกอบรม

องคกรจะทําการฝกอบรมเพ่ือเปนการเพ่ิมพูนสมรรถภาพหรือปรับปรุงพฤติกรรมของผูเขารับการฝก อบรมเพ่ือใหเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีตองการ ดังนี้ 1. เพ่ือท่ีจะเพ่ิมปริมาณผลผลิต บุคลากรท่ีผานการฝกอบรมจะมีทักษะในการปฏิบัติงานท่ีถูกตอง

ตลอดจนมีศักยภาพในการทํางานท่ีสูงข้ึนจึงทําใหมีผลิตภาพสูงข้ึนกวาอดีต

2. เพ่ือท่ีจะพัฒนาคุณภาพของผลผลิตเม่ือบุคลากรมีทักษะในการปฏิบัติงานท่ีถูกตองเขาใจข้ัน

ตอนในการดําเนินงานยอมสามารถปฏิบัติงานและผลิตผลงานท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนดไวได

3. เพ่ือลดตนทุนของงานอันเนื่องมาจากคาเสียหายและคาซอมแซมท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการ

ดําเนินการ เนื่องจากบุคลากรมีความรู ทักษะ และความเขาใจในงานของตนอยางถูกตอง จึงสามารถปฏิบัติตามได

อยางราบรื่นและลดขอบกพรองใหนอยลง

4. เพ่ือลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ อันจะสงผลตอการลดตนทุนท่ีเก่ียวของกับอุบัติเหตุ กอใหเกิด

ตนทุนท้ังโดยทางตรงและทางออมแกองคกรดังท่ีจะกลาวถึงในเรื่องอุบัติเหตุและความปลอดภัย ถาบุคลากรไดรับ

การฝกอบรมจนสามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตองตามข้ันตอนท่ีกําหนดก็จะทําใหอัตราการสูญเสียและเกิด

อุบัติเหตุลดลงซ่ึงจะมีผลโดยตรงตอการสูญเสียและคาใชจายท่ีเกิดข้ึน

Page 15: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

7

5. เพ่ือลดอัตราการหมุนเวียน (turn over) และการขาดงาน (absenteeism) ของบุคลากร ซ่ึง

เปนผลสืบเนื่องมาจากการขาดขวัญและกําลังใจในการทํางานความเบื่อหนายหรือบรรยากาศในการทํางานท่ีไม

เหมาะสม

ความแตกตางระหวางการฝกอบรม การพัฒนา และการใหการศึกษาบุคลากร การฝกอบรมบุคลากรนั้น มีความสัมพันธอยางแนบแนนกับการพัฒนาบุคลากร (personnel

development) กลาวคือ การพัฒนาบุคลากร คือ การจัดประสบการณการเรียนรูใหแกบุคคล เพ่ือปรับปรุงการทํางานใหดีข้ึน และ/หรือเพ่ือใหบุคคลมีความงอกงามเติบโตทางจิตใจ การพัฒนาบุคลากรจึงเปนสิ่งท่ีมีเปาหมายในระยะยาว และมุงหวังผลในดานการชวยใหบุคคลมีความงอกงามเติบโต มากกวาการมุงเนนเปาหมายระยะสั้น และการแกไขขอบกพรองในการปฏิบัติงานของบุคลากร ซ่ึงเปนสิ่งท่ีการฝกอบรมใหความสําคัญ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาการพัฒนาบุคลากร เปนกระบวนการท่ีประกอบดวยรูปแบบและวิธีการหลายชนิด ตัวอยางเชน การฝกอบรม การหมุนเวียนงาน การดูงาน การสอนงาน การใหการศึกษา ท้ังในดานการสงบุคลากรไปเรียนในสถานศึกษา หรือการเรียนดวยตนเอง การปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทํางาน และการสงเสริมสุขภาพและการกีฬา เปนตน (สุปราณี ศรีฉัตราภิมุข, 2533) ดังนั้น การฝกอบรมจึงมีความหมายท่ีแคบกวาการพัฒนาบุคลากร และอาจถึงไดวาการฝกอบรมเปนวิธีการหนึ่งของการพัฒนาบุคลากร อยางไรก็ตาม การฝกอบรมจัดไดวาเปนกิจกรรมหลักท่ีมีการกระทําเปนประจําในการพัฒนาบุคลากรขององคกร

สวนความแตกตางระหวางการฝกอบรมกับการศึกษานั้น (เสนาะ ติเยาว , 2519) ไดกลาววาการฝกอบรมและการศึกษามีความแตกตางกันบางประการในดานจุดมุงหมาย วิธีการ และระยะเวลา กลาวคือ

1. จุดมุงหมาย การศึกษามุงพัฒนาบุคคลใหมีความรู พ้ืนฐาน เพ่ือใหสามารถดําเนินชีวิตและมีความกาวหนาในการทํางาน แตการฝกอบรมมีจุดมุงหมายสําคัญเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานของพนักงานในองคกร

2. วิธีการ การศึกษาโดยสวนใหญจัดกันอยางเปนทางการโดยสถาบันการศึกษาตาง ๆ เพ่ือใหความรูความเขาใจท่ัว ๆ ไป และนักศึกษามักจะเปนผูเสียคาใชจาย สวนการฝกอบรมมักจัดข้ึนโดยองคกรตางๆ ท้ังแบบเปนทางการ เพ่ือเพ่ิมพูนความรู ทักษะ ความสามารถ และเจตคติของบุคลากร โดยผูรับการอบรมมักจะไมตองเสียคาใชจายดวยตนเอง

3. ระยะเวลา การศึกษาไมมีวันสิ้นสุด แมจะเรียนจบหลักสูตรไปแลว แตก็ยังตองศึกษาตอไปจนตลอดชีวิต สวนการฝกอบรมมักจะมีการกําหนดระยะเวลาอยางแนนอน ท้ังระยะสั้นและระยะยาว

กลาวโดยสรุป การฝกอบรมบุคลากร เปนกระบวนการเรียนรูซ่ึงถูกจัดข้ึนอยางเปนระบบ โดยมีจุดประสงคเพ่ือพัฒนาความรู ทักษะ ความสามารถ รวมท้ังความตระหนักรูและแรงจูงใจของบุคลากรในองคกร อันจะสงผลใหบุคลากรเหลานี้มีเจตคติตอองคกร และผลการปฏิบัติงานดีข้ึนกวาเดิม ประเภทของการฝกอบรม

การฝกอบรมบุคลากรมีอยูดวยกันหลายประเภท และสามารถจําแนกตามเกณฑตาง ๆ ได ดังตอไปนี้ 1. แหลงของการฝกอบรม เกณฑประเภทนี้บงบอกถึงแหลงของผูรับผิดชอบการฝกอบรม ซ่ึงแบงได

เปน 2 ลักษณะคือ 1.1 การฝกอบรมภายในองคกร (in-house training) การฝกอบรมแบบนี้เปนสิ่งท่ีองคกรจัดการ

ข้ึนภายในสถานท่ีทํางาน โดยหนวยฝกอบรมขององคกรจะเปนผูออกแบบและพัฒนาหลักสูตร กําหนดตารางเวลา และเชิญผูทรงคุณวุฒิท้ังจากภายในและภายนอกองคกรมาเปนวิทยากร การฝกอบรมประเภทนี้มีขอดีตรงท่ีวา องคกรสามารถกําหนดหลักสูตรการฝกอบรม ใหสอดคลองและเหมาะสมกับสภาพการดําเนินงานขององคกรได

Page 16: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

8

อยางเต็มท่ี แตขอเสียก็คือ องคกรอาจจะตองทุมเททรัพยากรท้ังในดานกําลังคน และเงินทองใหแกการฝกอบรมประเภทนี้มากพอสมควร เนื่องจากจําเปนตองเปนผูรับผิดชอบการดําเนินการท้ังหมด ตั้งแตการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร การจัดหาวิทยากร การจัดการดานตาง ๆ รวมท้ังการประเมินผล

1.2 การซ้ือการอบรมจากภายนอก การฝกอบรมประเภทนี้มิไดเปนสิ่งท่ีองคกรจัดข้ึนเองแตเปน

การจางองคกรฝกอบรมภายนอกใหเปนผูจัดการฝกอบรมแทนหรืออาจสงเปนพนักงานเขารับการฝกอบรมซ่ึงจัดข้ึน

โดยองคกรภายนอกท่ีรับจัดการฝกอบรมใหแกผูอ่ืนมีอยูดวยกันหลายองคกร ตัวอยางเชน สมาคมการจัดการงาน

บุคคลแหงประเทศไทย (PMAT) ศูนยเพ่ิมผลผลิตแหงประเทศไทย สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย

สมาคมการตลาดแหงประเทศไทย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุน) และกองฝกอบรม กรมสวัสดิการและ

คุมครองแรงงาน เปนตน การซ้ือการฝกอบรมจากภายนอก มักจะเปนท่ีนิยมขององคกรท่ีมีขนาดเล็ก มีพนักงานไม

มาก และไมมีหนวยฝกอบรมเปนของตนเอง

2. การจัดประสบการณการฝกอบรม เกณฑขอนี้บงบอกวาการฝกอบรมไดรับการจัดข้ึนในขณะท่ีผูรับ

การอบรมกําลังปฏิบัติงานอยูดวย หรือหยุดพักการปฏิบัติงานไวชั่วคราว เพ่ือรับการอบรมในหองเรียน

2.1 การฝกอบรมในงาน (on-the-job training) การฝกอบรมประเภทนี้จะกระทําโดย การให

ผูรับการฝกอบรมลงมือปฏิบัติงานจริง ๆ ในสถานท่ีทํางานจริง ภายใตการดูแลเอาใจใสของพนักงานซ่ึงทําหนาท่ี

เปนพ่ีเลี้ยง โดยการแสดงวิธีการปฏิบัติงานพรอมท้ังอธิบายประกอบ จากนั้น จึงใหผูรับการอบรมปฏิบัติตามพ่ีเลี้ยง

จะคอยดูแลใหคําแนะนําและชวยเหลือหากมีปญหาเกิดข้ึน

2.2 การฝกอบรมนอกงาน (off-the-job training) ผูรับการฝกอบรมประเภทนี้จะเรียนรูสิ่ง

ตาง ๆ ในสถานท่ีฝกอบรมโดยเฉพาะ และตองหยุดพักการปฏิบัติงานภายในองคกรไวเปนเวลาชั่วคราว จนกวาการ

ฝกอบรมจะเสร็จสิ้น

3. ทักษะท่ีตองการฝก หมายถึง สิ่งท่ีการฝกอบรมตองการเพ่ิมพูนหรือสรางข้ึนในตัวผูรับการอบรม

3.1 การฝกอบรมทักษะดานเทคนิค (technical skills training) คือการฝกอบรมท่ีมุงเนนการ

พัฒนาทักษะท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงานดานเทคนิค เชน การบํารุงรักษาเครื่องจักร การวิเคราะหสินเชื่อ การ

ซอมแซมรถยนต เปนตน

3.2 การฝกอบรมทักษะดานการจัดการ (managerial skills training) คือ การฝกอบรมเพ่ือ

เพ่ิมพูนความรู และทักษะดานการจัดการและบริหารงานโดยสวนใหญแลว ผูรับการฝกอบรมมักจะมีตําแหนงเปน

ผูจัดการหรือหัวหนางานขององคกร

3.3 การฝกอบรมทักษะดานการติดตอสัมพันธ (interpersonal skills training) การฝกอบรม

ประเภทนี้มุงเนนใหผูรับการฝกอบรม มีการพัฒนาทักษะในดานการทํางานรวมกับผูอ่ืน รวมท้ังการมีสัมพันธภาพท่ี

ดีกับเพ่ือนรวมงาน

4. ระดับชั้นของพนักงานท่ีเขารับการฝกอบรม หมายถึง ระดับความรับผิดชอบในงานของผูเขารับ

การอบรม

4.1 การฝกอบรมระดับพนักงานปฏิบัติการ (employee training) คือการฝกอบรมท่ีจัดใหแก

พนักงานระดับปฏิบัติการซ่ึงทําหนาท่ีผลิตสินคาหรือใหบริการแกบุคลากรโดยตรง โดยมักจะเปนการฝกอบรมท่ี

Page 17: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

9

เก่ียวของกับลักษณะและข้ันตอนของการปฏิบัติงาน เชน การซอมแซมและการบํารุงรักษาเครื่องจักร การโตตอบ

ทางโทรศัพท หรือ เทคนิคการขาย เปนตน

4.2 การฝกอบรมระดับหัวหนางาน (supervisory training) คือ การฝกอบรมท่ีมุงเนนกลุม

พนักงานท่ีดํารงตําแหนงเปนผูบริหารระดับตนขององคกรโดยสวนใหญแลว การฝกอบรมประเภทนี้มักจะมี

หลักสูตรท่ีใหความรูความเขาใจเบื้องตนเก่ียวกับการบริหารงาน

4.3 การฝกอบรมระดับผูจัดการ (managerial training) กลุมเปาหมายของการฝกอบรม

ประเภทนี้คือ กลุมพนักงานระดับผูจัดการฝายหรือผูจัดการระดับกลางขององคกร เนื้อหาของการฝกอบรมแบบนี้ก็

จะมุงเนนใหผูรับการฝกอบรม มีความรูความเขาใจในหลักการจัดการและบริหารงานท่ีลึกซ้ึงมากข้ึนกวาเดิม

เพ่ือใหสามารถบริหารงานและจัดการคนไดอยางมีประสิทธิภาพ

4.4 การฝกอบรมระดับผูบริหารชั้นสูง (executive training) การฝกอบรมประเภทนี้มุงเนนให

ผูรับการอบรมซ่ึงเปนผูบริหารระดับสูงขององคกร ผูอํานวยการฝาย กรรมการบริหาร ประธานและรองประธาน

บริษัท มีความรูความเขาใจอยางลึกซ้ึงเก่ียวกับการบริหารองคกร เชน การวางแผนและการตัดสินใจเชิงกลยุทธ

(strategic planning and decision-making) หรือ การพัฒนาองคกร (organizational development)

บทบาทและประโยชนของการฝกอบรม การฝกอบรมบุคลากรเปนเครื่องมือของการบริหารชนิดหนึ่ง ซ่ึงไดรับการจัดข้ึนเพ่ือเสริมสราง

ประสิทธิภาพการดําเนินงานขององคกร ดังนั้น การฝกอบรมบุคลากรจึงควรจะตอบสนองตอเปาหมายขององคกร หากการฝกอบรมไมสามารถจะสนับสนุนใหองคกรบรรลุเปาหมายใดๆแลวก็ไมมีประโยชนอันใดท่ีจะจัดการฝกอบรมข้ึนมา กลาวโดยท่ัวไปแลว การฝกอบรมมีบทบาทในการปรับปรุงประสิทธิภาพขององคกรไดในหลายๆทางดวยกัน ดังตอไปนี้ (Johnson, 1976; McGehee & Thayer, 1961)

1. ชวยพัฒนาความรู ทักษะ ความสามารถ และเจตคติของพนักงาน การฝกอบรมจะชวยปรับปรุงให พนักงานมีคุณสมบัติท่ีจําเปนตอการทํางานดีข้ึนกวาเดิม อันจะสงใหผลผลิตสูงข้ึนท้ังในดานปริมาณและคุณภาพ

2. ชวยลดคาใชจายดานคาจางแรงงาน โดยการลดปริมาณเวลาท่ีใชในการผลิตสินคาหรือบริการ แตยังไดสินคาหรือบริการท่ีมีปริมาณและคุณภาพคงเดิม นอกจากนั้น ยังลดเวลาท่ีใชในการพัฒนาพนักงานท่ีขาดประสบการณ เพ่ือใหมีผลการปฏิบัติงานอยูในระดับท่ีนาพึงพอใจ

3. ชวยลดตนทุนการผลิต โดยการลดปริมาณสินคาท่ีผลิตอยางไมไดมาตรฐาน 4. ชวยลดคาใชจายดานการบริหารบุคคล โดยการลดอัตราการลาออกจากงาน การขาดงาน การมา

ทํางานสาย อุบัติเหตุ การรองทุกข และสิ่งอ่ืนๆท่ีบั่นทอนประสิทธิภาพในการทํางาน 5. ชวยลดคาใชจายในการใหบริการแกบุคลากร โดยการชวยปรับปรุงระบบการใหบริการหรือสง

สินคาใหแกบุคลากร 6. ชวยพัฒนาพนักงานเพ่ือใหเปนกําลังทดแทนในอนาคต การฝกอบรมบุคคลากรจะชวยใหองคกรมีกําลังทดแทนไดทันทวงที หากมีพนักงานบางสวนเกษียณ หรือลาออกจาการทํางาน

7. ชวยตระเตรียมพนักงานกอนการกาวข้ึนไปสูตําแหนงหนาท่ีท่ีสูงข้ึนการฝกอบรมจะชวยใหพนักงานท่ีไดรับการเลื่อนตําแหนงใหม มีความพรอมและสามารถปรับตัวใหเขากับตําแหนงหนาท่ีใหมไดอยางเหมาะสม

8. ชวยขจัดความลาหลังดานทักษะ เทคโนโลยี วิธีการทํางาน และการผลิต การฝกอบรมจะชวยใหพนักงานขององคกรมีความรู ทักษะ และความสามารถท่ีทันกับความเปลี่ยนแปลงของโลก และชวยใหองคกรสามารถแขงขันกับผูอ่ืนได

Page 18: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

10

9. ชวยใหการประกาศใชนโยบายหรือขอบังคับขององคกร ซ่ึงไดรับการแกไขหรือรางข้ึนมาใหมเปนไปอยางราบรื่น

10. ชวยปรับปรุงและพัฒนาความสัมพันธระหวางพนักงานในองคกรรวมท้ังชวยเพ่ิมพูนขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานของพนักงานดวย ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอความสําเร็จของการฝกอบรม

ความสําเร็จและประสิทธิผลของโครงการฝกอบรม ข้ึนอยูกับปจจัยหลายประการ ดังตอไปนี้

(McGehee & Thayer, 1961)

ประการแรก องคกรจะตองถือวาการฝกอบรมเปนหนทาง (means) ท่ีจะนําไปสูเปาหมาย (end)

การฝกอบรมโดยตัวของมันเองมิไดเปนจุดสุดทายท่ีวาดหวังไวแตประการใด หากผูบริหารขององคกรคิดวาหนวย

ฝกอบรมไดรับการจัดตั้งข้ึนเพ่ือฝกอบรมพนักงานเทานั้น โดยมิไดมีจุดประสงคใดมากไปกวานั้นแลว การ

ฝกอบรมก็เปนพียงจุดสุดทายเทานั้น ซ่ึงท่ีจริงแลว หนวยฝกอบรมก็มีวัตถุประสงคของการทํางานเชนเดียวกับ

หนวยอ่ืน ๆ ขององคกร เชน หนวยวิจัยและพัฒนา (research & development unit) เปนตน กลาวคือ

หนวยฝกอบรมกระทําโดยการเพ่ิมพูนความรู ทักษะและความสามารถของพนักงาน แตหนวยวิจัยและพัฒนา

กระทําโดยการสรางสรรคผลิตภัณฑใหม ๆข้ึนมา

ดังนั้น ตราบใดท่ีผูบริหารยังไมมองวา การฝกอบรมเปนเครื่องมือชนิดหนึ่งของการเพ่ิมพูน

ประสิทธิภาพขององคกรแลว การฝกอบรมก็อาจจะเปนเพียงของเลนชิ้นหนึ่งท่ีจําเปนตองมีไวอวดผูอ่ืนเทานั้น

ประการท่ีสอง ฝายบริหารขององคกรจะตองเปนผูรับผิดชอบในการจัดการโครงการฝกอบรม

ถึงแมวาพนักงานจะสามารถเรียนรูงานไดเองจากการไดปฏิบัติงานจริง แตประสิทธิภาพของการเรียนรูแบบนี้ จะ

ไมดีเทากับการท่ีพวกเขาไดรับการฝกอบรมอยางเปนระบบ ดังนั้น ฝายบริหารขององคกรจะตองเปนผูรับผิดชอบ

ในการจัดการและพัฒนาการฝกอบรมข้ึนมา

ประการท่ีสาม ฝายบริหารขององคกรจะตองมีความรูและทักษะเก่ียวกับการพัฒนาและการจัดการ

โครงการฝกอบรม ถาหากไมมีผูใดท่ีมีความสามารถในการจัดการฝกอบรมใด ๆ หากผูท่ีปฏิบัติงานดีมิไดรับ

ผลตอบแทนและความกาวหนาในหนาท่ีการงานท่ีดีกวาผูท่ีปฏิบัติงานไมดี ดังนั้น ฝายบริหารจะตองจัดโครงสราง

และระบบขององคกรเพ่ือใหพนักงานรูสึกวาการฝกอบรมมีความหมายตอความกาวหนาในอาชีพการงาน

ของพวกเขา

กลาวโดยสรุป จะเห็นไดวาปจจัยท่ีชวยสนับสนุนความสําเร็จของการฝกอบรมท้ัง 3 ประการท่ีกลาว

มาขางตนนั้น ลวนแตมีความสัมพันธอยางแนบแนนกับบทบาทของฝายบริหารขององคกรท้ังสิ้น กลาวคือ ฝาย

บริหารจะตองใหความสําคัญและมีความมุงม่ันตอการสนับสนุนงานฝกอบรม กุญแจสําคัญของความสําเร็จของ

องคกรคือคุณภาพของผูปฏิบัติงาน ฝายบริหารขององคกรสามารถจะใชการฝกอบรม เปนเครื่องมือในการเพ่ิมพูน

คุณภาพของบุคคลากรไดเปนอยางดีหากมีการจัดการฝกอบรมอยางเปนระบบและสอดคลองกับเปาหมายของ

องคกร

Page 19: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

11

2. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผลการฝกอบรม

ความหมายของการประเมินผลการอบรม

เม่ือนักวิชาการดานการพัฒนาบุคคลไดประชุมระดมสมองกันเพ่ือใหความหมายของการประเมินผล

การฝกอบรม ปรากฏผลสรุปไดวา หมายถึง การวินิจฉัยและคนหาคุณคาท่ีไดรับจากการฝกอบรม วา การฝกอบรม

ท่ีจัดข้ึนนั้น บรรลุวัตถุประสงคของหลักสูตร และโครงการหรือไมอยางไร อีกท้ังเปรียบเทียบผลท่ีไดกับการ

ปฏิบัติงานวา ผูเขาอบรมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือไม หรือ กลาวอีกนัยหนึ่ง การประเมินผลการฝกอบรม ก็คือ

การประเมินผลปฏิกิริยาตอการฝกอบรม การเรียนรูและฝกปฏิบัติ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในการปฏิบัติงาน

และผลงานของผูเขารับการอบรมนั่นเอง

ขจรศักดิ์ หาญณรงค กลาววา การประเมินผลโครงการฝกอบรม หมายถึง "การศึกษาขอมูลตาม

สภาพความเปนจริง เพ่ือประเมินดูวาโปรแกรมฝกอบรมท่ีจัดข้ึนเพ่ือพัฒนาบุคคลกลุมใดกลุมหนึ่งนั้น ไดบรรลุผล

สมความมุงหมายหรือไม

นักวิชาการของสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน สํานักงาน ก.พ. กลาววา "การประเมินผลในการ

ฝกอบรม หมายถึงการวัดผลการฝกอบรม แลวนํามาวิเคราะหและประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเขารับ

การฝกอบรม

ทนง ทองเต็ม เห็นวาโดยสรุปแลว การประเมินผลการฝกอบรม คือ "กระบวนการในการวัดผลการ

ฝกอบรม วาผูเขาอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทางดานความคิด ความรูสึกและการกระทํา ในลักษณะใด

และเพียงใด เม่ือเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของโครงการฝกอบรมท่ีไดกําหนดไว

เชนเดียวกัน นันทนา รางชางกูร ไดใหความเห็นวา การประเมินผลการฝกอบรมในเชิงปฏิบัตินาจะ

หมายถึง "กระบวนการศึกษา พฤติกรรม 3 ประการ ไดแก พฤติกรรมดานความคิด (Thinking) ความรูสึก

(Feeling) และการปฏิบัติ (Acting) ของผูผานการอบรม วาเปลี่ยนแปลงอยางไร หลังจากผานการอบรมชวงระยะ

หนึ่ง ๆ โดยเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของโครงการท่ีวางไว

สวน อาชวัน วายวานนท และ วินิต ทรงประทุม เห็นวา หากมองการบริหารงานฝกอบรมในรูประบบ

แลว การประเมินผลการฝกอบรม หมายถึง "การท่ีตัวระบบเองถูกนํามาพิจารณาและประเมิน เพ่ือใหแนใจวา

เนื้อหา ลําดับ กลยุทธ เจาหนาท่ี สิ่งอํานวยความสะดวก อุปกรณและเอกสารเก่ียวกับการฝกอบรมตาง ๆ ได

สอดคลองกับวัตถุประสงค เหมาะสมกับผูเขาอบรม และไดทํางานตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวจริง ๆ หรือไม สวนการ

ติดตามผลการอบรม หมายถึง “การทําใหระบบการฝกอบรมสมบูรณดวยการติดตามผลผูสําเร็จการอบรมไปแลว

เพ่ือใหทราบผลพิสูจนอันแทจริงของประสิทธิผลของระบบการฝกอบรมและพัฒนาโดยการวัดคุณภาพของผลการ

ปฏิบัติงานของผูสําเร็จการอบรม”

จากความหมายของการประเมินผลการฝกอบรมดังกลาวมาแลวขางตนท้ังหมด อาจสรุปไดวา

ถึงแมวาการประเมินผล การฝกอบรมเนนถึงการวัดประสิทธิผล ซ่ึงหมายถึงการศึกษาวาการฝกอบรมไดผลบรรลุดัง

วัตถุประสงคของการฝกอบรมเพียงใด แตก็ควรจะครอบคลุมถึงการตรวจสอบการประเมินประสิทธิภาพ ซ่ึง

หมายถึงความคุมคาของการบริหารงานฝกอบรมโดยรวมดวยเชนกัน

วัตถุประสงคของการประเมินผลการฝกอบรม

ทนง ทองเต็ม เห็นวาโดยปกติแลว การประเมินผลการฝกอบรมนั้นก็เพ่ือท่ีตองการจะทราบวา

Page 20: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

12

1. ผูเขาอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางดานความคิด อันไดแก ความรู ความเขาใจ

ความชํานาญ และความสามารถ ในการประเมิน วิเคราะห และสังเคราะหเพียงใด

2. ผูเขาอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางดานความรูสึก เชน ความสนใจ ทัศนคติ ความเชื่อ

คานิยม ในทิศทางใด ระดับใด

3. ผูเขาอบรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางดานการประพฤติปฏิบัติ ตลอดจนผลการปฏิบัติงาน

ภายหลัง การฝกอบรมอยางไร และเพียงใด

4. การเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตนเปนการเปลี่ยนแปลงซ่ึงผูรับผิดชอบการฝกอบรมตองการให

เปลี่ยนแปลงหรือไม และไดผลดีกวา การเปลี่ยนแปลงดวยวิธีการอ่ืนหรือไม

5. การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนการเปลี่ยนแปลงอยางถาวร หรือเปนการเปลี่ยนแปลงเพียงชั่วคราว

เทานั้น

วัตถุประสงคในการประเมินผลการฝกอบรมดังกลาวขางตน มุงเนนเฉพาะประเด็นของการ

เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเปนผลท่ีเกิดข้ึนตามวัตถุประสงคของการฝกอบรมเทานั้น หากทวาวัตถุประสงคในการ

ประเมินผลการฝกอบรมควรจะครอบคลุมกวางขวางกวา 5 ขอดังระบุขางตน โดยขยายขอบขายไปถึงความมุง

หมายในการประเมินกระบวนการฝกอบรมท้ังระบบดวย กลาวคือ

1. เพ่ือทราบสัมฤทธิผลของโครงการฝกอบรมนั้น ๆ วาไดผลตามเปาหมายท่ีตั้งไวหรือไม เชน เกิดการ

เรียนรู (Learning) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทํางาน (Behavior) หรือไม เพ่ือทราบขอดี ขอบกพรอง

ความเหมาะสม รวมถึงปญหา และอุปสรรคตาง ๆของโครงการฝกอบรม ท้ังในดานของกระบวนการฝกอบรม (เชน

เนื้อหาวิชา วิทยากร ระยะเวลา เปนตน) และการจัดฝกอบรม (เชน สถานท่ี การอํานวยความสะดวกตาง ๆ) เพ่ือ

แกไขและปรับปรุงโครงการฝกอบรมในครั้งตอ ๆ ไปใหดียิ่งข้ึน

2. เพ่ือทราบคุณคาหรือความเปนประโยชนของโครงการฝกอบรมตอการปฏิบัติงานของผูเขาอบรม

เชน ประโยชนของหัวขอวิชาตางๆในหลักสูตรการฝกอบรมในครั้งตอๆไปใหดียิ่งข้ึน

3. เพ่ือทราบผลลัพธหรือผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการฝกอบรม เชน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการ

ทํางาน ผลการปฏิบัติงาน เม่ือเปรียบเทียบกับกอนการฝกอบรม ความกาวหนาในหนาท่ีการงานหลังจากการผาน

การฝกอบรมแลว

4. เพ่ือใชเปนขอมูลพ้ืนฐานในการตัดสินใจของผูบริหาร เชน พิจารณาวาควรจะดําเนินการจัด

ฝกอบรม หลักสูตรนั้น ๆ ตอไปหรือไม ชวยประกอบการตัดสินใจในการแตงตั้งหรือพัฒนาบุคคลใหสอดคลอง

เหมาะสมกับหนาท่ีความรับผิดชอบ

วัตถุประสงค 4 ขอหลังเกิดมาจากแนวคิด (Concept) ซ่ึงมองการฝกอบรมอยางเปนระบบ และเห็น

วาการประเมินผล การฝกอบรม ควรจะครอบคลุมเรื่องดังตอไปนี้

1.ปจจัยนําเขาของการฝกอบรม (Inputs)

2.กระบวนการดําเนินการฝกอบรม (Process)

3.ผลจากการฝกอบรม (Outputs)

ซ่ึงแตละสวน จะมีปจจัยสําคัญท่ีควรไดรับการพิจารณา หรือตรวจสอบในการประเมินผล

ดังแผนภาพ ขางลางนี้

Page 21: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

13

แผนภาพท่ี 2 ปจจัยสําคัญท่ีควรไดรับการพิจารณา หรือตรวจสอบในการประเมินผล

ประเด็นท่ีควรพิจารณาตรวจสอบในการประเมินผลการฝกอบรม

เม่ือพิจารณาตามแผนภาพดังกลาวขางตน มีสิ่งท่ีควรพิจารณาตรวจสอบในการประเมินผลโครงการ

ฝกอบรมดังตอไปนี้

1. ปจจัยนําเขาของการฝกอบรม (Inputs) – ควรตรวจสอบ

1.1 การวิเคราะหหาความจําเปนในการฝกอบรม

1.1.1 มีการวิเคราะหหาความจําเปนมากอนหรือไม

1.1.2 ขอมูลท่ีไดครอบคลุม และเชื่อถือไดเพียงใด มีอะไรเปนเครื่องชี้วัด

1.1.3 ความจําเปนดังกลาวสามารถแกไขไดดวยการฝกอบรมหรือไม

1.2 วัตถุประสงคหลัก/วัตถุประสงครองของโครงการฝกอบรม

1.2.1 วัตถุประสงคหลักของโครงการสอดคลองกับความจําเปนในการฝกอบรมหรือไม

1.2.2 วัตถุประสงคหลักของโครงการเขียนในลักษณะท่ีสามารถจะประเมินผลไดหรือไม

1.2.3 วัตถุประสงคของโครงการฝกอบรมมีสวนสนับสนุนโครงการเพียงใด

1.3 หลักสูตรและวิธีการฝกอบรม

1.3.1 หัวขอวิชาตาง ๆ ในหลักสูตรสอดคลองกับวัตถุประสงคหลักของโครงการหรือไม

1.3.2 วัตถุประสงครายวิชาแตละวิชาสอดคลองกับวัตถุประสงคหลักของโครงการหรือไม

1.3.3 ระยะเวลาของแตละหัวขอวิชาเหมาะสมกับวัตถุประสงคและเนื้อหาวิชาของวิชานั้นๆ

หรือไม

1.3.4 เทคนิคและวิธีการฝกอบรมท่ีใชในแตละหัวขอวิชาเหมาะสมและสอดคลองกับ

วัตถุประสงคและระยะเวลาของหัวขอ วิชานั้น ๆ หรือไม

1.3.5 โสตทัศนูปกรณเหมาะสมกับเนื้อหาวิชา ระยะเวลา และสถานการณในการฝกอบรม

เพียงใด

Page 22: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

14

1.4 โครงการและกําหนดการฝกอบรม

1.4.1 การขออนุมัติโครงการลาชา หรือมีอุปสรรคหรือไม และควรจะขจัดอุปสรรคอยางไร

1.4.2 วันเวลาท่ีฝกอบรมเหมาะสมกับหลักสูตร ทุกหมวดวิชาหรือไม

1.4.3 รายละเอียดโครงการและกําหนดการฝกอบรมท่ีใชเวียนแจงหนวยงาน วิทยากร และ

แจกผูเขาอบรม มีความชัดเจนเพียงใด

1.5 การบริหาร/เตรียมการกอนการฝกอบรม

1.5.1 การคัดเลือกวิทยากรมีความเหมาะสมหรือไม

1.5.2 การเชิญและประสานงานกับวิทยากรมีประสิทธิภาพหรือไม

1.5.3 การเลือกสถานท่ีฝกอบรมมีเหตุผลอยางไร

1.5.4 สถานท่ีฝกอบรมมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและวิธีการฝกอบรมหรือไม

1.5.5 การประสานงานกับเจาของสถานท่ีฝกอบรมมีปญหาหรือไม

1.6 การสง/คัดเลือกผูเขาอบรม

1.6.1 ในการแจงเชิญสงผูเขาอบรม ไดมีการใหเวลาหนวยงานผูสงและผูเขาอบรมในการ

พิจารณา สง/เตรียมสมัคร เขาอบรมเพียงพอหรือไม

1.6.2 หนวยงานคัดเลือกผูท่ีจะสงเขาอบรมอยางเหมาะสมตรงกับคุณสมบัติท่ีกําหนดใน

โครงการหรือไม

1.6.3 มีการคัดเลือกผูสมัครเขาอบรม (ในกรณีใหสมัครเอง) โดยใชเกณฑอะไร และเกณฑ

ดังกลาวมีความเหมาะสมหรือไม

1.6.4 มีปริมาณการขอถอนการสงเขาอบรม/สมัครเขาอบรมเปนจํานวนมากหรือไม และขอ

ถอนไปเพราะเหตุใด

1.7 งบประมาณ/การเบิกจายเงิน

1.7.1 ไดรับการจัดสรรงบประมาณสําหรับโครงการนี้ ตลอดท้ังโครงการหรือไม

1.7.2 สามารถใชจายเงินในโครงการไดตรงตามท่ีประมาณการไวหรือไม ถาไมตรง เพราะ

เหตุใด และจะตองปรับปรุงอยางไร

1.7.3 สามารถดําเนินการเบิกจายเงินไดตามหลักเกณฑท่ีหนวยงานกําหนดไวหรือไม หรือมี

ปญหาอุปสรรคในการเบิกจายเงินอยางไรบาง

2. กระบวนการดําเนินการฝกอบรม (Process) - มีสิ่งท่ีควรพิจารณาในการประเมินผล คือ

2.1 วิทยากร

2.1.1 มีการชี้แจงวัตถุประสงคของหัวขอวิชาใหผูเขาอบรมทราบหรือไม

2.1.2 มีความรอบรูในเนื้อหาวิชานั้นหรือไม

2.1.3 มีความสามารถในการถายทอดความรู/กระตุนใหเกิดการเรียนรูไดเพียงใด

2.1.4 การจัดลําดับข้ันตอนของเนื้อหาวิชาเหมาะสมเพียงใด

2.1.5 มีการตอบคําถามชัดเจนและตรงประเด็นหรือไม

Page 23: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

15

2.1.6 ใหโอกาสผูเขาอบรมแสดงความคิดเห็นหรือไม

2.1.7 มีการใชโสตทัศนูปกรณชวยในการฝกอบรมอยางเหมาะสมหรือไม

2.2 ผูเขาอบรม

2.2.1 สนใจและเอาใจใสตอการฝกอบรมหรือไม

2.2.2 มาเขาอบรมตามกําหนดเวลาตลอดท้ังหลักสูตรหรือไม

2.2.3 มีการซักถามแสดงความคิดเห็นหรือแสดงความมีสวนรวมในการฝกอบรมหรือไม

2.2.4 ใหความรวมมือตาง ๆ ระหวางการอบรมหรือไม

2.3 เอกสารประกอบการอบรม

2.3.1 แตละวิชามีเอกสารประกอบการอบรมหรือไม

2.3.2 เนื้อหาสาระของเอกสารประกอบการอบรมสอดคลองและสนับสนุนวัตถุประสงคของ

หัวขอวิชานั้นหรือไม

2.3.3 เอกสารแจกไดทันเวลา/ทันความตองการหรือไม

2.4 การดําเนินงานของเจาหนาท่ี

2.4.1 มีการควบคุมเวลาระหวางการอบรมใหเปนไปตามกําหนดการหรือไม

2.4.2 การกลาวแนะนําวิทยากรสําหรับแตละหัวขอวิชาดําเนินไปอยางเหมาะสม และ

สามารถสรางบรรยากาศ ในการเรียนรูไดหรือไม

2.4.3 การกลาวขอบคุณวิทยากรสําหรับแตละหัวขอวิชาดําเนินไปอยางเหมาะสมหรือไม และ

ชวยสรางความรูสึกท่ีดีแกวิทยากร และผูเขาอบรมหรือไม

2.4.4 ชวยใหบริการและอํานวยความสะดวกแกวิทยากรและผูเขาอบรมอยางเต็มใจ

กระตือรือรนหรือไม

2.4.5 มีมนุษยสัมพันธดีกับผูเขาอบรมหรือไม

2.5 สภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ

2.5.1 การจัดสถานท่ีอบรม รวมท้ังโตะ เกาอ้ี เหมาะสมหรือไม

2.5.2 อุณหภูมิ การถายเทอากาศเหมาะสมหรือไม

2.5.3 แสงสวางเพียงพอหรือไม

2.5.4 เสียงดังชัดเจนหรือไม

2.5.5 อุปกรณตาง ๆ ท่ีตองใชในการฝกอบรม มีเพียงพอหรือไม

2.5.6 มีสิ่งรบกวนตาง ๆ ในระหวางการฝกอบรมหรือไม (เชน เสียงรบกวน การเดินเขาออก

การตามผูเขาอบรม หรือวิทยากรไปรับโทรศัพทบอยครั้ง)

3. ผลท่ีไดจากการฝกอบรม (Outputs) เปนสวนสําคัญท่ีใชในการศึกษาวิเคราะหเพ่ือประเมินผลการ

ฝกอบรมท้ังระบบ โดยอาจแบงการประเมินผลในชวงนี้ออกไดเปน 4 ระดับ หรือประเภท คือ

3.1 ข้ันปฏิกิริยา (Reaction) ของผูเขาอบรม - หมายถึง ความคิดเห็น ความรูสึก และทัศนคติท่ีผู

เขาอบรมมีตอสิ่งตอไปนี้

3.1.1 ความเหมาะสมของหลักสูตรและหัวขอวิชา

Page 24: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

16

3.1.2 การดําเนินการฝกอบรมของวิทยากร

3.1.3 ประโยชนของการฝกอบรมตอการปฏิบัติงานของผูเขาอบรมความเหมาะสมในการ

บริหารโครงการฝกอบรมและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ

3.1.4 สัมพันธภาพในกลุมผูเขาอบรม

3.1.5 ความคุมคาในการเขารับการอบรม

3.2 ข้ันการเรียนรู (Learning) ของผูเขาอบรมวาเกิดการเรียนรูจริงหรือไม โดยอาจแยกออกเปน

2 ประเด็น คือ

3.2.1 ผูเขาอบรมเกิดการเรียนรูตามท่ีกําหนดไวในวัตถุประสงคหลักของโครงการหรือไม

3.2.2 ผูเขาอบรมไดรับความรูความเขาใจเพ่ิมข้ึนจากความรูสึกของตนเองเพียงใด

3.3 ข้ันพฤติกรรม (Behavior) ของผูเขาอบรมเม่ือกลับไปปฏิบัติงาน ณ สถานท่ีทํางานแลววามี

การเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึน หรือไม โดยอาจแยกประเด็นพิจารณา คือ

3.3.1 ผูเขาอบรมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามท่ีคาดหวังไวในวัตถุประสงคของโครงการ

หรือไม

3.3.2 พฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงเปนไปในทางไหน ระดับใด ชั่วคราวหรือถาวรดีข้ึนหรือเลวลง

4. ข้ันผลลัพธ (Outcomes หรือ Results) อาจแยกเปน 2 ประเด็นหลัก คือ

4.1 ผลท่ีองคกรไดรับ - มีประเด็นท่ีควรพิจารณา คือ

4.1.1 ผลงานท้ังในดานปริมาณและคุณภาพท่ีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

4.1.2 ผลลัพธทางดานเศรษฐกิจ ไดแก การลดคาใชจาย ลดการสูญเสียหรือของเสีย จากการ

ผลิตหรือการดําเนินงาน ลดอุบัติเหตุ และลดความสิ้นเปลืองตาง ๆ

4.1.3 ขวัญและกําลังใจของผูใตบังคับบัญชา หรือผูรวมงาน ของผูผานการอบรม

4.1.4 การลดความขัดแยง บัตรสนเทห หรือขอรองเรียน ซ่ึงมีผลมาจากการบริหารงาน หรือ

การดําเนินงานของผูผานการอบรม

4.1.5 ความพึงพอใจ หรือความนิยมของผูรับบริการ หรือหนวยงานท่ีประสานงานหรือ

ดําเนินงานเก่ียวเนื่องดวยกับผูผานการอบรม

4.2 ผลท่ีผูเขาอบรมเองไดรับ - อาจพิจารณาไดจาก

4.2.1 มีทักษะดานตาง ๆ พรอมท่ีปฏิบัติงานในหนาท่ีความรับผิดชอบ และการเลื่อนระดับ

ตําแหนงเพียงใด

4.2.2 ผูผานการอบรม มีความกาวหนาในสายงานเพียงใด

4.2.3 มีทักษะดานตาง ๆ พรอมท่ีจะเปนผูบริหารสําหรับตําแหนงท่ีครองอยู และตําแหนง

ใหมเพียงใด (ในกรณีโครงการ ฝกอบรมเพ่ือพัฒนาผูบริหาร)

Page 25: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

17

3. แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิผล ความหมายของประสิทธิผล ยุทธนา มุงสมัคร (2539:16) กลาววา ประสิทธิผล หมายถึง การพิจารณาถึงผลของงานท่ีสําเร็จตาม

วัตถุประสงคและเปาหมายท่ีกําหนดไว ศิริวรรณ เสรีรัตน (2542 : 26) กลาววา ประสิทธิผลเปนการวัดผลผลิตของงาน (Output) ซ่ึงเปน

การบรรลุเปาหมาย หรือวัตถุประสงคของโครงการท่ีกําหนดไว ซ่ึงในบางครั้งไมไดคํานึงถึงปริมาณทรัพยากรท่ีใชในกระบวนการปฏิบัติงาน เปนการอธิบายถึงการกระทําท่ีเก่ียวของกับกิจกรรมการทํางานท่ีสามารถชวยใหโครงการบรรลุเปาหมาย ประสิทธิผลจะอธิบายถึงการกระทําในสิ่งท่ีถูกตอง (Doing the right things) ซ่ึงจะเก่ียวของกับกิจกรรมหรือวิธีการท่ีจะทําใหเกิดการบรรลุวัตถุประสงค สวนประสิทธิภาพจะแสดงถึงความสําคัญระหวางปจจัยนําเขา (Input) และผลผลิต (Output) โดยมีเปาหมายท่ีจะใชตนทุนหรือทรัพยากรท่ีต่ําท่ีสุด

พิทยา บวรวัฒนา (2543:176) กลาววา ประสิทธิผลหมายถึง การท่ีบุคคลในโครงการสามารถทํางานไดสําเร็จตามเปาหมายท่ีตั้งไว ประสิทธิผลจึงเปนเรื่องของความสําเร็จของโครงการในการกระทําสิ่งตาง ๆ ตามท่ีตั้งเปาหมายเอาไว องคกรท่ีมีประสิทธิผลสูงจึงเปนองคกรท่ีประสบความสําเร็จอยางสูงในการทํางานตามเปาหมาย

จากความหมายการประเมินประสิทธิผลท่ีหลาย ๆ ทานกลาวมาขางตนผูศึกษาพอสรุปไดวา เปนการพิจารณาหรือการวัดถึงผลของงานท่ีสําเร็จตามวัตถุประสงค และเปาหมายท่ีกําหนดไว

ความสําคัญของประสิทธิผล การศึกษาความหมายของประสิทธิผลขององคกรท่ีสําคัญ สามารถแยกออกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ

คือ ศึกษาในการสรางทฤษฎี และการศึกษาวิจัย ประเภทแรกซ่ึงเปนการศึกษาในการสรางทฤษฎีนั้นเปนการศึกษาซ่ึงใหความหมายแคแนวคิดเก่ียวกับ

ประสิทธิผลขององคกร จุดมุงหมายของทฤษฎีคือ เพ่ือใหเปนแนวทางในการวิจัยและปฏิบัติ ในขณะท่ีผลการวิจัยจะชวยปรับปรุงทฤษฎี การปฏิบัติในดานการบริหารองคกรก็จะมีพ้ืนฐานท่ีม่ันคงยิ่งข้ึนหากตั้งอยูบนทฤษฎี

การศึกษาประเภทท่ี 2 คือการศึกษาวิจัยหรือจากการสังเกตจากการปฏิบัติจริง ซ่ึงสวนใหญจะมุงศึกษาสวนประกอบของความมีประสิทธิผลขององคกร และความสัมพันธตอกันระหวางสวนประกอบเหลานั้นดัง ตอไปนี้

ทฤษฎีของแคปโลว (Theodore Caplow’s Theory) การกลาวในเชิงทฤษีเก่ียวกับการปฏิบัติการขององคกรแคปโลว (Caplow, 2007 : 119-124 อางถึง

ใน ภรณี (กีรติบุตร) มหานนท, 2529 : 59-60) มุงท่ีจะสรางสิ่งท่ีเขาเรียกวา “แบบจําลองเดี่ยวทางทฤษฎี” ถึงแมจะทําอยางคราว ๆ แบบไมสมบูรณ ซ่ึงสามารถใชในการวิเคราะหองคกรทุกประเภทหรือขนาด ไมวาจะตั้งอยูในแหลงท่ีมีวัฒนธรรมหรือประวัติศาสตรอยางไร และเพ่ือนําไปสูการคาดคะเนท่ีเปนประโยชนใหกวางขวางข้ึน และจําลองของแคปโลว เสนอแนะวาประสิทธิผลขององคกรสามารถเอามาเปรียบเทียบกันได และประเมินผลโดยวัดจากตัวแปร 4 ตัวดวยกัน คือ

1. ความม่ันคง การวัดความม่ันคงขององคกรหมายถึง การวัดความสามารถขององคกรในการรักษา โครงสรางขององคกรไว ตัวแปรนี้สัมพันธโดยตรงกับปจจัยดานตัวปอน และกระบวนการ ในทฤษฎีระบบ การ ฃรักษาไวซ่ึงสภาพและการพัฒนาโครงสรางรวมถึงกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการไดมาซ่ึงทรัพยากร การใชตัวปอนอยางมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติอยางมีเหตุผล และการรักษาระเบียบกิจการท้ังหมดท่ีมุงไปสูการสรางองคกร ซ่ึงสามารถควบคุมพฤติกรรมของสมาชิกองคกรไดสําเร็จ

2. ความผสมผสานเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หมายถึง การวัดความสามารถขององคกร ในการหลีก เลี่ยงการขัดแยงระหวางสมาชิกขององคกร วิธีการเบื้องแรกเพ่ือใหบรรลุเปาหมายดังกลาวก็คือ โดยการ

Page 26: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

18

ติดตอสื่อสารซ่ึงเพ่ิมความมีสัมพันธตอกันระหวางสมาชิก แนวความคิดนี้เทียบไดเทากับแนวความคิดของไพรช (Price) เก่ียวกับการปฏิบัติตาม และไดรับการตีความไปในดานของทฤษฎีระบบเชนเดียวกัน การสรางและการรักษาไวซ่ึงขอกําหนดเก่ียวกับพฤติกรรม ซ่ึงครอบคลุมความสัมพันธระหวางสมาชิกเปนกิจกรรมสําคัญซ่ึงสัมพันธกับท้ังการเปนอันหนึ่งอันเดียวกันและการปฏิบัติตาม

3. ความสมัครใจ หมายถึง “ความสามารถขององคกรในการจัดใหมีความพึงพอใจสําหรับบุคคลและความปรารถนาของสมาชิกท่ีจะคงมีสวนรวมตอไป” แนวคิดดังกลาวคลายคลึงกันกับแนวคิดดานขวัญ หรือความพึงพอใจ และเก่ียวของโดยตรงกับกิจกรรมในการสนองตอบความตองการของพนักงาน

4. ความสําเร็จ หมายถึง “ผลรวมสุทธิของกิจกรรมขององคกร” ซ่ึงคลายคลึงกับคําวา ความสามารถในการผลิต และคําวา การผลิตผลผลิต นอกจากนี้ยังใกลเคียงกับแนวคิดของไพรช วาประสิทธิผล หมายถึง ความสามารถนอยของการบรรลุถึงเปาหมายแตแคปโลวเนนวาประสิทธิผลเปนผลรวมของปจจัยอยางนอย 4 ประการดวยกันในขณะท่ีไพรช เนนประสิทธิผลในปจจัยดานเดียวคือ ผลผลิต อยางไรก็ตามแนวคิดท่ีวาประสิทธิผลประกอบดวย ปจจัยหลายประการนั้นสอดคลองกับแนวความคิดในทฤษฎีระบบมากกวา

การประเมินประสิทธิผล มอท (Mott, 1972: 20-24 อางถึงใน ภรณี (กีรบุตร) มหานนท, 2529: 66-67) ไดทําการสํารวจเพ่ือ

วิเคราะหประสิทธิผลขององคกรอยางกวางขวาง มอทเสนอสมมุติฐานวา ประสิทธิผลขององคกรประกอบดวยปจจัย 3 ประการดวยกัน คือ 1) ความสามารถในการผลิต 2) ความสามารถในการปรับตัว และ 3) ความสามารถยืดหยุนได สมมุติฐานนี้กลาวอยางงาย ๆ วาประสิทธิผลท้ังหมดขององคกรสัมพันธโดยตรงกับปจจัย 3 ประการนี้ วิธีการซ่ึง มอท ใชในการวัดตัวแปรท้ัง 3 มีดังนี้

1. ความสามารถในการผลิต วัดจากเฉลี่ยคําตอบของสมาชิกในองคกรท่ีใหตอบแบบประเมินใน 3 ประเด็นดวยกัน โดยขอใหผูตอบประเมิน 1) ปริมาณ 2)คุณภาพ และ 3)ประสิทธิภาพของงานท่ีทําใหองคกร วิธีการของมอทในเรื่องนี้อาจจะไมเปนท่ียอมรับกันอยางกวางขวางนัก เพราะแนวความคิดของมอท ในการวัดผลผลิตมิไดใชขอมูลท่ีเก่ียวกับคาใชจายตอหนวย และผลผลิตตอชั่วโมงในการทํางาน อยางท่ีใชกันอยางกวางขวางมาวิเคราะห

2. ความสามารถในการปรับตัว วัดโดยการถามคําถาม 4 ขอแกผูตอบคําถามแตละขอเก่ียวกับ กระบวนการมีสวนรวม และการแกไขปญหาโดยรวมถึงคําถามท่ีสะทอนใหเห็นถึงความรวดเร็วในการท่ีคนในองคกรยอมรับวิธีการ และระเบียบใหม ๆ และสะทอนใหเห็นถึงอัตราสวนของบุคคล ซ่ึงยอมรับการเปลี่ยนแปลงในองคกร ดังนั้น ตัวแปรขอนี้จึงรวมถึงแนวความคิดเรื่องการผสมผสานของแคปโลวไวดวย

3. ความสามารถยืดหยุนได วัดโดยการถามคําถามซ่ึงขอใหผูตอบประเมินวาคนในองคกรปรับตัวใหเขากับสภาวะฉุกเฉินไดดีเพียงใด เชน เครื่องจักรเสีย งานลนมืออยางไมคาดคิดไวกอน หรือมีการเรงหมายกําหนดการทํางานใหเร็วข้ึนมาอยางดวน

ประสิทธิผลท้ังหมดขององคกรไดจากการวัดจากคําตอบโดยเฉลี่ยคําตอบ 8 ขอ ซ่ึงครอบคลุมตัวแปรท้ัง 3 ซ่ึง มอท รายงานวาสัมพันธกันดีพอสมควร

ฮอย และมิสคอล (Hoy & Miskel, 2001: 289-307) ไดเสนอ รูปแบบการประเมินประสิทธิผลขององคกรสามารถแบงได 3 รูปแบบ ดังตอไปนี้

1. การประเมินประสิทธิผลขององคกรในเชิงเปาหมาย เปนรูปแบบการประเมินใชเปนเกณฑ โดยพิจารณาวาองคกรจะมีประสิทธิผลหรือไมนั้นใหดูท่ีระดับการบรรลุเปาหมายขององคกรซ่ึงสามารถวัดไดจากความสามารถในการผลิต วัดจากผลกําไร เปนตน

Page 27: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

19

2. การประเมินประสิทธิผลในเชิงระบบทรัพยากร เปนรูปแบบการประเมินท่ีเนนปจจัยปอนเขา มากกวาผลผลิต โดยพิจารณาวาองคกรจะมีประสิทธิผลหรือไมนั้น ใหพิจารณาท่ีความสามารถในการแสวงหาประโยชนจากสภาพแวดลอมเพ่ือใหไดมา ซ่ึงทรัพยากรท่ีมีคุณคา และท่ีตองการ 3. การประเมินประสิทธิผลโดยใชหลายเกณฑ เปนรูปแบบการประเมินท่ีใชเกณฑหลายอยาง โดยพิจารณาจากตัวแปรหลักท่ีอาจสงผลตอความสําเร็จขององคกร มีนักวิชาการหลายทานไดนําเสนอแนวความคิดเก่ียวกับการประเมินรูปแบบ เชน มอท ( Mott, 1972: 27 อางถึงใน กมลวรรณ ชัยวานิชศิริ, 2536: : 34) ไดกําหนดเกณฑประเมินประสิทธิผลขององคกร โดยพิจารณาจาก 1) ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต 2) ประสิทธิภาพ 3) ความสามารถในการปรับตัว และ 4) ความสามารถในการยืดหยุน

ประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากร Philip and Schmidt (2003) ไดนํา Training Scorecard มาใชในการติดตาม รวบรวม สังเคราะห

และรายงานขอมูล 5 ประเด็นท่ีเก่ียวของกับการฝกอบรม ในชวงเวลาตาง ๆ ซ่ึงขอมูลในแตละประเด็นดังกลาวท่ีใชเปนตัวชี้วัด ไดแก การประเมินปฏิกิริยา (Reactive) การประเมินการเรียนรู (Learning) การประเมินการนําไปใช (Behavior Application) ผลตอองคกร (business impact) และผลตอบแทนจากการลงทุน (return on investment) หรือผลตอบแทนท่ีเปนนามธรรม (Intangible Benefits) โดยแตละประเด็นมีขอคําถามดังนี้

ประเด็นท่ี 1 การประเมินปฏิกิริยา (Reactive) ปฏิกิริยาของผูเขารับการฝกอบรม และความพึงพอใจในโครงการหลักสูตร

ประเด็นท่ี 2 การประเมินการเรียนรู (Learning) สามารถประเมินตนเอง ทีมงาน วิทยากรไดอยางไมเปนทางการ และสามารถทดสอบวัตถุประสงค ผลการปฏิบัติงานหรือแบบจําลองไดอยางเปนทางการ การประเมินตนเองจากการเรียนรูอาจทําไดโดยการถามผูเขารับการอบรมถึงระดับของผลท่ีไดรับจากการเรียนรู ดังนี้

1. ความเขาใจในความรูและทักษะท่ีไดรับ 2. ความสามารถในการใชความรูและทักษะท่ีไดรับ 3. ความม่ันใจในการนําความรูและทักษะท่ีไดรับไปใช

ประเด็นท่ี 3 การประเมินการนําไปใช (Behavior Application) เปนการวัดการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมการทํางาน ขณะท่ีผลท่ีไดจากการฝกอบรมไดนําไปประยุกตใชขอมูลท่ีเก็บไดจากการติดตามหรือแบบประเมินในคําถามท่ีสําคัญดังนี้

1. ความสําคัญของความรูและทักษะท่ีไดรับตองานท่ีทํา 2. ความถ่ีในการนําความรูและทักษะท่ีไดรับใหมไปใช 3. ประสิทธิผลความคุมคาของความรูและทักษะเม่ือนําไปประยุกตใชในงาน

ประเด็นท่ี 4 ผลตอองคกร (Business Impact) เปนผลท่ีไดรับจากการฝกอบรมตามหลักสูตรท่ีเขารับการฝกอบรม การเก็บรวบรวมขอมูลอาจไดมากจากขอมูลทุติยภูมิหรือขอมูลปฐมภูมิโดยการใชแบบประเมินในการติดตามผลก็ได ข้ึนอยูกับรูปแบบของโครงการ หลักสูตรและวัตถุประสงคของโครงการ โดยมีขอมูลท่ีตองรวบรวมดังนี้

1. ระดับผลผลิต 2. คุณภาพ 3. การควบคุมตนทุน 4. ความพึงพอใจของบุคลากร

Page 28: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

20

ประเด็นท่ี 5 ผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment) เปนการวัดผลตอบแทนท่ีเปนตัวเงินของโครงการหลักสูตรท่ีใชในการเปรียบเทียบกับตนทุนของโครงการหลักสูตร ซ่ึงในการจัดการฝกอบรมมีตนทุนคอนขางสูง วิธีการนี้ใชเพ่ือเปลี่ยนขอมูลใหสามารถรายงานผลได โดยการคํานวณผลตอบแทนจากการลงทุน แตเนื่องจากผลตอบแทนดังกลาวของกรมไมสามารถวัดเปนตัวเงินไดจึงวัดผลตอบแทนท่ีเปนนามธรรม เนื่องจากการเปลี่ยนขอมูลใหเปนรูปของตัวเงินคอนขางยุงยากจึงใชวิธีการนี้แทน โดยใชขอคําถามดังนี้

1. ความพึงพอใจในงานท่ีเพ่ิมข้ึน 2. ความขัดแยงท่ีลดลง 3. ความเครียดท่ีลดลง 4. การทํางานเปนทีมท่ีดีข้ึน

ตัวชี้วัดการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรม

และดูงานตางประเทศ

จาก Phillip and Schmidt (2003) ไดนํา Training Scorecard มาใชเม่ือตองการติดตาม รวบรวม

สังเคราะห และรายงานขอมูล 5 ประเด็นท่ีเก่ียวกับการฝกอบรม ในชวงเวลาตาง ๆ ซ่ึงขอมูลในแตละประเด็น

ดังกลาวท่ีใชเปนตัวชี้วัด ไดแก การประเมินปฏิกิริยา การประเมินการเรียนรู การประเมินการนําไปใช ผลตอ

องคกร และผลตอบแทนจากการลงทุน หรือผลตอบแทนท่ีเปนนามธรรม โดยแตละประเด็นสามารถปรับใชให

สอดคลองกับการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของผูไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศไดเปน 4

ประเด็น โดยในแตละประเด็นมีตัวชี้วัด ดังนี้

ประเด็นท่ี 1 การประเมินปฏิกิริยาและการประเมินการเรียนรูท่ีไดจากการพัฒนาตนเอง ตัวชี้วัด

ไดแก

1. การเพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมีความสามารถในการปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะไดดี

2. การเพ่ิมพูนทักษะ ความชํานาญ หรือทักษะในการทํางาน

3. การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล

ประเด็นท่ี 2 การประเมินการนําไปใชท่ีไดจากการสงเสริมการพัฒนาทีมงานตัวชี้วัด ไดแก

1. การปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองใหเปนผูนําท่ีดีของทีมงาน

2. การลดปญหาและแกไขงานท่ีผิดพลาด

3. มีการนําความรูท่ีไดมาประยุกตใชในการทํางาน

4. สงเสริมภาวะผูนําของทีมงานท่ีเกงงาน เกงคนและเกงคิด

5. มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือนรวมงาน

6. เพ่ิมเครือขายในการประสานงาน

ประเด็นท่ี 3 ผลตอองคกรท่ีไดจากการประยุกตใชความรูในการพัฒนาองคกรอยางเปนรูปธรรม

ตัวชี้วัด ไดแก

1. การลดตนทุน

2. การลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน

3. การเพ่ิมผลผลิต

Page 29: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

21

4. การเพ่ิมความพึงพอใจของผูรับบริการ

ประเด็นท่ี 4 ผลตอบแทนจากการลงทุน หรือผลตอบแทนท่ีเปนนามธรรมท่ีไดจากความพึงพอใจ

ตัวชี้วัด ไดแก 1. หลักสูตรนี้ตรงกับความพึงพอใจท่ีคาดหวัง

2. ระดับการเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

3. การศึกษา ฝกอบรมและดูงานจะชวยเพ่ิมประสิทธิผล ใหกับหนวยงาน

4. ความประทับใจและยินดีแนะนําการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน

การวัดระดับการเปนผูสนับสนุนองคกรของลูกคา (Net Promoter Score, NPS)

ในเกณฑประเมินรางวัลคุณภาพแหงชาติ หมวด 3 คือเรื่องของการมุงเนนท่ีลูกคาและตลาด (Customer

and Market Focus) ซ่ึงรายละเอียดของเกณฑการประเมินรางวัลนั้นมีหัวขอประเมินในเรื่องของการวัดผลความ

พึงพอใจของลูกคา (Customer Satisfaction Survey) รวมอยูดวย เพ่ือสํารวจ วิเคราะห ความพึงพอใจของลูกคา

และทําการปรับปรุงการทํางานและการใหบริการ ยกระดับความพึงพอใจลูกคาใหสูงข้ึน

ปจจุบันมีการนําเสนอตัวชี้วัดในมิติของความพึงพอใจ และความรูสึกรวมของลูกคาท่ีมีตอองคกร ตัวชี้วัดนี้

เปนตัวชี้วัดท่ีวัดถึงความรูสึกของลูกคา เปนตัวชี้วัดท่ีมีความลึกกวาการวัดความพึงพอใจของลูกคาเพราะเปนการ

วัดระดับการเปนผูสนับสนุนองคกรของลูกคา (Net Promoter Score, NPS) ซ่ึงเปนความรูสึกโดยรวมของลูกคา

วาจะสนับสนุนองคกรเราตอไปหรือไม ในระดับใด ตัวชี้วัดนี้ ทานสามารถนําไปใชประเมินตอยอดจากการประเมิน

ความพึงพอใจของลูกคาก็ได องคกรในเมืองไทยท่ีนําเครื่องมือ NPS Score มาใช ยกตัวอยางเชน บมจ.อยุธยา อลิ

แอนซ ซีพี ธนาคารกรุงศรีอยุธยา เปนตน รายละเอียดการนําเอาเครื่องมือ NPS (Net Promoter Score) ระดับ

การเปนผูสนับสนุนองคกร มาใชโดยมีรายละเอียดดังนี้

NPS ยอมาจากคําวา Net Promoter Score คือ คาสุทธิของลูกคาผูซ่ึงจะแนะนําองคกรเราตอคนรอบ

ขาง วาใหใชบริการของเราเปนตัวชี้วัดหนึ่งท่ีนิยม เปนตัวชี้วัดความภักดีของลูกคาท่ีพัฒนาโดย Fred Reichheld,

Bain & Company และ Satmetrix ในป 2003 Reichheld รีวิวบทความธุรกิจเรื่อง "The One คุณตองเติบโต".

ท่ีใหความสําคัญในการนําเสนอผลประโยชนของว ิธีการเก็บฐานลูกคาเกา โดยลดความซับซอนและการสื่อสารลง มี

การสราง "promoters" เพ่ือเปนผูท่ีมีอิทธิพลตอการคงอยูของกิจการ และลด“detractors" ซ่ึงเปนผูมีอิทธิพลตอ

การสูญหายของกิจการ แนวคิดนี้เกิดจากการขยายความพึงพอใจท่ีทุกภาคสวนมีการวิเคราะห แตไมมีการ

เปรียบเทียบกลุมของผูมีอิทธิพลซ่ึงเม่ือมีการเปรียบเทียบกลุมผูมีอิทธิพลจะทําใหผลการดําเนินงานท่ีสามารถ

เปรียบเทียบขามหนวยธุรกิจและแมกระท่ังในอุตสาหกรรมและ ตีความหมายท่ีเพ่ิมข้ึนของการเปลี่ยนแปลงใน

แนวโนมพึงพอใจของลูกคาในชวงเวลาตางๆกันได

ระดับคะแนนท่ีใชดําเนินการใน Net Promoter Score มีระดับ 0 ถึง 10 โดยแปลความให 10 คือ"มี

แนวโนมอยางมาก"และ 0 คือ"ไมท่ีมีแนวโนม..." วิธีการคือสรางขอความท่ีมีขอมูลเก่ียวกับแนวโนมท่ีผูรับบริการ

อยากจะแนะนําบริษัท/องคกรของเราให เพ่ือนหรือเพ่ือนรวมงาน โดยแบงประเภทเปน 3 กลุม ไดแก

กลุม Promoters (9-10 คะแนน)

กลุม Passives (7-8 คะแนน)

Page 30: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

22

กลุม Detractors (0-6 คะแนน)

รอยละของ detractors จะหักออกจากรอยละของ promoters จะไดรับคะแนนสนับสนุนสุทธิ (NPS)

NPS สามารถมีคาต่ําสุดท่ี -100 (ทุกคนเปน Detractors) หรือสูงสุดท่ี 100 (ทุกคนเปน promoters) NPS ไมได

เปนเปอรเซ็นต แตเปนคาท่ีมีสัญลักษณ + หรือ - โดยแปลผลเม่ือเปนบวก (เชนสูงกวาศูนย) แสดงวารูสึกกับ

องคกรดีเม่ือมีโอกาสจะแสดงใหผูอ่ืนรับรูรายละเอียดการใหบริการ/สินคากับผูอ่ืนตอไป มีการชักชวนลูกคาอ่ืนมา

เปนลูกคาของบริษัท/องคกร ดวยเหตุผลเหลานี้จะเปนแนวทางใหกับพนักงานและทีมงานดําเนินการบริหารจัดการ

พัฒนาองคกรใหมีทิศทางท่ีดีข้ึนได

Reichheld ยังเสนอแนวทางการสงเสริมการขาย ท่ีมีผลมาจากคะแนน NPS วาสามารถนํามาใชเพ่ือ

กระตุนใหองคกรเนนการปรับปรุงผลิตภัณฑและบริการสําหรับลูกคา โดยใชคะแนนไปเปรียบเทียบความสัมพันธ

กับสุทธิเติบโตของรายได ซ่ึงเม่ือมีการเปรียบเทียบจะพบวา ในชวงท่ีมีคะแนน NPS ท่ีดี รายไดของแตละบริษัทก็ดี

ข้ึนตามไปดวย สงผลถึงการเจริญเติบโตของธุรกิจ ซ่ึงงานวิจัยอิสระหลายผลงานยังยืนยันถึงความสัมพันธนี้และ

เสนอเปนวิธีการสงเสริมการขาย โดยนําเสนอผลการวิเคราะหทางสถิติท่ีทําข้ึนเพ่ือแนะนํา แตใชคา NPS แสดง

อํานาจหรือการทํานายผลประโยชนท่ีบริษัทจะไดรับ

4. โครงสราง วิสัยทัศน พันธกิจ กรมชลประทาน

ในการศึกษาแนวคิดเก่ียวกับกรมชลประทานจะแบงออกเปนหัวขอตาง ๆ ดังนี้

1. โครงสราง 2. วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร

1. โครงสราง

การกําหนดโครงสรางการแบงงานภายในกรมชลประทาน มีการแบงสวนราชการออกเปน 26 สํานัก

2 สํานักงาน 4 กอง 3 กลุม 1 ศูนย ดังตอไปนี้

1.1 สํานักงานเลขานุการกรม

1.2 กองการเงินและบัญชี

1.3 กองกฎหมายและท่ีดิน

1.4 กองแผนงาน

1.5 กองพัสดุ

1.6 ศูนยสารสนเทศ

1.7 สํานักเครื่องจักรกล

1.8 สํานักโครงการขนาดใหญ

1.9 สํานักงานจัดรูปท่ีดินกลาง

1.10 – 1.26 สํานักชลประทานท่ี 1-17

1.27 สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

1.28 สํานักบริหารโครงการ

1.29 สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล

Page 31: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

23

1.30 สํานักวิจัยและพัฒนา

1.31 สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา

1.32 สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม

1.33 สํานักสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

1.34 กลุมตรวจสอบภายใน

1.35 กลุมพัฒนาระบบบริหาร

1.36 กลุมกิจกรรมพิเศษ

2. วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค

วิสัยทัศน

น้ําสมบูรณ สนับสนุนการผลิต เสริมสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจม่ันคง

พันธกิจ

1. พัฒนาแหลงน้ําตามศักยภาพของลุมน้ําใหสมดุล 2. บริหารจัดการน้ําอยางมีประสิทธิภาพ ท่ัวถึง เปนธรรม และยั่งยืน 3. เสริมสรางการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาและบริหารจัดการน้ําทุกระดับอยางบูรณาการ 4. ดําเนินการปองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา

ประเด็นยุทธศาสตร

1. การพัฒนาแหลงน้ํา 2. การบริหารจัดการน้ํา 3. การปองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา

เปาประสงค กรมชลประทาน ไดกําหนดเปาประสงคตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 4 ดาน คือดานประสิทธิผลตามพันธกิจ ดานคุณภาพการใหบริการ ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ และดานการพัฒนาองคกร มีจํานวน 16 เปาประสงค คือ ก. ดานประสิทธิผลตามพันธกิจ 1. มีปริมาณน้ําเก็บกักและพ้ืนท่ีชลประทานเพ่ิมข้ึน 2. ทุกภาคสวนไดรับน้ําอยางท่ัวถึง และเปนธรรม 3. ความสูญเสียอันเนื่องจากภัยอันเกิดจากน้ํา ข. ดานคุณภาพการใหบริการ 4. อาคารชลประทานอยูในสภาพพรอมใชงาน 5. ผูใชน้ําไดรับน้ําความพึงพอใจจากการบริหารน้ํา 6. คุณภาพน้ําไดเกณฑมาตรฐาน ค. ดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7. การกอสราง ซอมแซม และปรับปรุงแลวเสร็จตามแผนงาน 8. การเตรียมความพรอมกอนการกอสรางเปนไปตามแผนงาน 9. ประชาชน ชุมชน และหนวยงานท่ีเก่ียวของมีสวนรวม 10. มีการประชาสัมพันธอยางตอเนื่องและท่ัวถึง

Page 32: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

24

11. มีการวางแผน และการดําเนินการบริหารจัดการน้ําท่ีดี 12. มีผลการศึกษา วิจัยและการพัฒนาสนับสนุนการดําเนินงาน 13. มีระเบียบและกฎหมายทีทันสมัย ง. ดานการพัฒนาองคกร 14. ระบบบริหารงานมีประสิทธิภาพ 15. บุคลากรมีสมรรถนะ และขวัญกําลังใจในการทํางาน 16. มีระบบฐานขอมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม

ประเด็นในการศึกษา

จากการศึกษาผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ผูศึกษาไดแนวความคิด ทฤษฎี งานวิจัยและเอกสารตาง ๆ ท่ี

เก่ียวของสามารถกําหนดประเด็นการศึกษาไดดังตอไปนี้

1. ขอมูลท่ัวไป

1.1 หนวยงานในสังกัดกรมชลประทาน ไดแก

1.1.1 หนวยงานสังกัดสํานัก/กองสวนกลาง ไดแก สํานักเลขานุการกรม กองการเงินและ

บัญชี กองกฎหมายและท่ีดิน กองแผนงาน กองพัสดุ สํานักสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน กลุมพัฒนา

ระบบบริหาร กลุมกิจกรรมพิเศษ กลุมตรวจสอบภายใน สํานักจัดรูปท่ีดินกลาง ศูนยสารสนเทศ สํานัก

เครื่องจักรกล สํานักโครงการขนาดใหญ สํานักบริหารโครงการ สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงาน

บุคคล สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สํานักวิจัยและ

พัฒนา และสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

1.1.2 หนวยงานสังกัดสวนกลางแตปฏิบัติงานในสวนภูมิภาค คือ สังกัดสํานักชลประทานท่ี

1-17 ไดแก ฝายบริหารท่ัวไป สวนวิศวกรรมบริหาร สวนจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา สวนปฏิบัติการ สวน

เครื่องจักรกล โครงการชลประทานจังหวัด โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา และโครงการกอสราง

2. ความตองการฝกอบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะตามประเด็นยุทธศาสตรของกรมชลประทาน

2 ดาน คือ

2.1 ดานการพัฒนาความรูและทักษะตามภารกิจหลัก ภารกิจรอง และภารกิจสนับสนุน

2.2 ดานการพัฒนาสมรรถนะตามสมรรถนะหลักขาราชการพลเรือน สมรรถนะหลักขาราชการ

กรมชลประทาน สมรรถนะการบริหารและสมรรถนะตามลักษณธงานท่ีปฏิบัติ

5. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ชัชฎา แกวเปย. (2552) ไดทําการวิจัยเรื่อง ทัศนะของบุคลากรสํานักงานประกันสังคมท่ีไดรับทุน

ศึกษาเพ่ิมเติมตอการนําความรูมาปรับใชในการปฏิบัติงาน พบวา มีระดับการนําความรูมาปรับใชในการปฏิบัติงาน

ในภาพรวมอยูในระดับมาก ยกเวนดานการถายทอดแบงปนความรูและการประยุกตใชความรูท่ีมี การนําความรูมา

Page 33: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

25

ปรับใชอยูในระดับนอย สวนปญหาอุปสรรคในการนําความรูมาปรับใชในการปฏิบัติงานในภาพรวมมีอุปสรรคอยู

ในระดับนอย ยกเวนปญหาอุปสรรคในการนําความรูท่ีมีสาเหตุมาจากองคกรและสิ่งแวดลอมท่ีมีปญหาอุปสรรคอยู

ในระดับมาก อีกท้ังทัศนะตอแนวทางการพัฒนาการนําความรูมาปรับใชในการปฏิบัติงานของกลุมตัวอยางมีทัศนะ

เห็นดวยในระดับมาก สวนใหญเห็นดวยกับการมีนโยบายสรางจิตสํานึกในการเรียนรูใหแกบุคลากร การมีนโยบาย

การจัดทําแผนการนําความรูสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมและควรมีการปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีใหเอ้ือตอ

การปฏิบัติงาน

อนงคทิพย เอกแสงศรี. (2531) ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง การประเมินโครงการพัฒนาบุคลากร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ศึกษาเฉพาะการใหทุนการศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ พบวา ขาราชการ

มหาวิทยาลัยรามคําแหงซ่ึงเคยไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ สวนใหญประสบความสําเร็จ

ในทางวิชาการ และประสบการณ และเห็นวาควรมีการปรับปรุงระเบียบฯ วาดวยการใหทุนแกขาราชการ

มหาวิทยาลัยรามคําแหงใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากข้ึน

Page 34: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

26

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินการทําวิจัย

การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดู

งานตางประเทศผูวิจัยไดดําเนินการมีข้ันตอนการดําเนินงาน ดังนี้

1. กําหนดประชากร 2. เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา 3. การวิเคราะหขอมูล 4. คําถามวิจัย 5. การเก็บรวบรวมขอมูล 6. การวิเคราะหขอมูล 7. เกณฑในการเทียบเคียงประสิทธิผลความคุมคา

8. เกณฑการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน

9. การใชคาดัชนีวัดความพึงพอใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน

ของบุคลากรกรมชลประทานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score)

1. กําหนดประชากร

ประชากร คือ บุคลากรของกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ระหวางปงบประมาณ พ.ศ.2549 – พ.ศ.2553 จํานวน 227 คน

( ขอมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2553 : สวนฝกอบรม กรมชลประทาน)

สํานัก / กอง

กลุม

ตัวอยาง

(คน)

กลุมตัวอยางท่ีเก็บ

ขอมูลได (คน)

สวนกลาง 9 6

กลุมพัฒนาระบบบริหาร 3 3

กองพัสดุ 1 1

กองแผนงาน 3 2

กองการเงินและบัญชี 7 7

กองกฎหมายและท่ีดิน 2 0

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา 13 9

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา 8 1

สํานักสงเสริมการมีสวนรวมเพ่ือประชาชน 5 5

สํานักบริหารโครงการ 15 11

สํานักเครื่องจักรกล 6 3

Page 35: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

27

สํานัก / กอง

กลุม

ตัวอยาง

(คน)

กลุมตัวอยางท่ีเก็บ

ขอมูลได (คน)

สํานักโครงการขนาดใหญ 7 0

สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม 5 4

สํานักวิจัยและพัฒนา 6 6

สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล 1 0

สํานักชลประทานท่ี 1 10 10

สํานักชลประทานท่ี 2 6 6

สํานักชลประทานท่ี 3 4 4

สํานักชลประทานท่ี 4 5 0

สํานักชลประทานท่ี 5 6 2

สํานักชลประทานท่ี 6 10 10

สํานักชลประทานท่ี 7 11 11

สํานักชลประทานท่ี 8 10 10

สํานักชลประทานท่ี 9 11 11

สํานักชลประทานท่ี 10 8 4

สํานักชลประทานท่ี 11 15 15

สํานักชลประทานท่ี 12 13 13

สํานักชลประทานท่ี 13 7 7

สํานักชลประทานท่ี 14 6 5

สํานักชลประทานท่ี 15 5 4

สํานักชลประทานท่ี 16 6 4

สํานักชลประทานท่ี 17 2 2

รวม 227 166

2. เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือแบบประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรม

ชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ โดยแบงแบบประเมินออกเปน 4 ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของขาราชการท่ีไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ไดแก

อาย ุ

วุฒิการศึกษา

อายุราชการ

Page 36: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

28

ตําแหนงในสายงาน

ประเภทของทุน

ประเภทของแหลงเงินทุน

การเปลี่ยนแปลงหนาท่ีภายหลังจากไดรับทุน

ตอนท่ี 2 แบบประเมินผลการไดรับทุนไปตางประเทศ โดยแบงเปน 4 ประเด็น และในแตละประเด็น

ประกอบดวยตัวชี้วัด ดังนี้

ตัวชี้วัดดานการพัฒนาตนเอง

1. การเพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมีความสามารถในการปฏิบัติงานยางดยางหนึ่งโดยเพาะไดดี 2. การเพ่ิมพูนทักษะ ความชํานาญ หรือทักษะในการทํางาน 3. การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล

ตัวชี้วัดดานการพัฒนางาน

1. ปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองใหเปนผูนําท่ีดีของทีมงาน 2. ลดปญหาและแกไขงานท่ีผิดพลาด 3. มีการนําความรูท่ีไดมาประยุกตใชในการทํางาน 4. สงเสริมภาวะผูนําของทีมงานท่ีเกงงาน เกงคนและเกงคิด 5. มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือนรวมงาน 6. เพ่ิมเครือขายในการประสานงาน

ตัวชี้วัดดานการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรม

1. การลดตนทุน 2. การลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน 3. การเพ่ิมผลผลิต 4. การเพ่ิมความพึงพอใจของผูรับบริการ

ตัวชี้วัดดานความพึงพอใจจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

1. ความพึงพอใจท่ีคาดหวังจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน 2. การเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน 3. ประสิทธิผลตอหนวยงานท่ีเกิดจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน 4. ความประทับใจและยินดีแนะนําการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน

ตอนท่ี 3 แบบประเมินผลการนําความรูมาใชในการทํางาน มีลักษณะเปนคําถามปลายเปด

ในประเด็น

1. การรายงานผลไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศตอผูบังคับบัญชา 2. การนําความรูท่ีไดจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศมาใชประโยชน 3. การสรางผลงานท่ีเปนรูปธรรม 4. การนําผลงานไปใชประโยชน 5. การพัฒนา / ขยายผลงานตอไปในอนาคต 6. ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

ตอนท่ี 4 คํารับรองของผูบังคับบัญชา

Page 37: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

29

3. การวิเคราะหขอมูล

เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคขางตน ในการศึกษาไดใชกําหนดคําถามวิจัย การวิเคราะหเชิงพรรณนาและการ

วิเคราะหเชิงปริมาณประกอบกัน โดยเปนไปตามกรอบในการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรม

ชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ท่ีตองประกอบดวย แนวคิดดานการพัฒนาตนเอง

การพัฒนางาน การพัฒนาองคกร และความพึงพอใจจากการเขารับการพัฒนา ซ่ึงมีรายละเอียดการวิเคราะห ดังนี้

4. คําถามวิจัย

เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคของการศึกษา จึงกําหนดคําถามวิจัยไดวา ระดับประสิทธิผลความคุมคาการ

พัฒนาบุคลากรกรมชลประทานอยูในระดับใด

อธิบายถึงขอมูลท่ัวไป และการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน เพ่ือเปรียบเทียบหาลักษณะท่ีพึง

ประสงคท่ีนําไปสูการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน โดยพิจารณาแตละลักษณะตามตัวชี้วัด จําแนกตาม

ตัวชี้วัดท่ีทําการศึกษาวาสามารถนําไปสูความมีประสิทธิผลความคุมคาหรือไม และการสรางฐานเทียบเคียงตาม

เกณฑและวัดประสิทธิผลความคุมคาในการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน คือ การหาคารอยละของบุคลากร

ท่ีไดรับการพัฒนาท่ีเห็นวาการพัฒนาดังกลาวมีประโยชนหรือไม จําแนกตาม ประเด็นและตัวชี้วัด

5. การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการดังนี้

1. จัดทําบันทึกขอความ ขอความอนุเคราะหเก็บขอมูลเพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของ

บุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ของกรมชลประทานไปทุกสํานัก/

กอง/กลุม เพ่ือขออนุญาตเก็บขอมูล ขอความรวมมือในการตอบแบบประเมินและรวบรวมแบบประเมินสงคืน

2. ผูวิจัยนําแบบประเมิน จํานวน 227 ชุด สงตามจํานวนกลุมตัวอยางท่ีไดกําหนดไวทุกสํานัก/

กอง/กลุม ใหดําเนินการตอบแบบประเมิน เก็บรวบรวมขอมูลและรวบรวมขอมูลคืนตามเวลาท่ีกําหนด

3. เม่ือผูวิจัยรวบรวมแบบประเมินแลวนํามาวิเคราะหขอมูล ซ่ึงแบบประเมินท่ีไดรับคืน มีจํานวน

166 ฉบับ คิดเปนรอยละ 73.13

6. การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

1. วิเคราะหขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบประเมินโดยการแจกแจงความถ่ีและหาคารอยละ 2. เพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ใน 4 ประเด็นตามกรอบ Training Scorecards ไดแก ประโยชนดานการพัฒนา

ตนเอง พัฒนางาน พัฒนาองคกร และความพึงพอใจในหลักสูตรท่ีไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ โดย

อาศัยตัวชี้วัด ใชวิธีวิเคราะหคาเฉลี่ย และหาคารอยละ เทียบเคียงเกณฑประสิทธิผลการพัฒนาบุคลากรของกรม

ชลประทาน ในภาพรวมท่ีกําหนดไวรอยละ 70 เกณฑในการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของ

กรมชลประทาน สําหรับการติดตามผลของการศึกษา ฝกอบรม และดูงานของบุคลากรของกรมชลประทาน ตาม

Page 38: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

30

เกณฑการติดตามผลโครงการฝกอบรม ในคูมือเกณฑการประเมินตามหลักเกณฑการประกันคุณภาพและการ

ประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการฝกอบรม และในประเด็นความพึงพอใจในหลักสูตรท่ีไปศึกษา ฝกอบรม

และดูงานให ใชคาดัชนีวัดพึงพอใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนของบุคลากรกรม

ชลประทานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score) สวนในคําถามปลายเปดผูวิจัยไดรวบรวมความ

คิดเห็นและขอเสนอแนะแลวนําเสนอผลการวิจัยในเชิงบรรยาย

3. รวบรวมผลการนําความรูมาใชในการทํางาน มีลักษณะเปนคําถามปลายเปดและทําการจัด

หมวดหมูและนําเสนอผลการวิเคราะหในเชิงบรรยายเพ่ือนําไปประกอบการอภิปรายผลการวิจัย

7. เกณฑในการเทียบเคียงประสิทธิผลความคุมคา

เกณฑในการเทียบเคียงประสิทธิผลความคุมคา สําหรับการประเมินผลของการศึกษา ฝกอบรม และ

ดูงานของบุคลากรของกรมชลประทาน ตามเกณฑการประเมินผลสําเร็จของโครงการฝกอบรม ในคูมือเกณฑการ

ประเมินตามหลักเกณฑการประกันคุณภาพและการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการฝกอบรม (สวน

ฝกอบรม กรมชลประทาน , 2553) ในสวนท่ีเก่ียวของกับประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรม

ชลประทาน ไดแก

รอยละ 70 ของผูผานการฝกอบรมมีความเห็นวาการพัฒนาดวยการศึกษา ฝกอบรม และดูงานมี

ประโยชนในการสงเสริมการพัฒนาตนเอง

รอยละ 70 ของผูผานการฝกอบรมมีความเห็นวาการพัฒนาดวยการศึกษา ฝกอบรม และดูงานมี

ประโยชนในการสงเสริมการพัฒนางาน

รอยละ 70 ของผูผานการฝกอบรมมีความเห็นวาการพัฒนาการศึกษา ฝกอบรม และดูงานมี

ประโยชนในการสงเสริมการพัฒนาองคกร

รอยละ 70 ของผูผานการฝกอบรมมีความพึงพอใจในหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม และดูงาน

8. เกณฑการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน

เกณฑในการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน สําหรับการ

ติดตามผลของการศึกษา ฝกอบรม และดูงานของบุคลากรของกรมชลประทาน ตามเกณฑการติดตามผลโครงการ

ฝกอบรม ในคูมือเกณฑการประเมินตามหลักเกณฑการประกันคุณภาพและการประเมินประสิทธิผลความคุมคา

ของการฝกอบรม (สวนฝกอบรม กรมชลประทาน , 2553) ในสวนท่ีเก่ียวของกับประสิทธิผลความคุมคาของการ

พัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน ไดแก

คะแนนเฉลี่ยรวม 80% ข้ึนไป = คุมคาในระดับมาก

คะแนนเฉลี่ยรวม 66 – 79% = คุมคาในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ยรวม 51 – 65% = คุมคาในระดับนอย

คะแนนเฉลี่ยรวมไมเกิน 50% = ไมคุมคา

Page 39: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

31

9. การใชคาดัชนีวัดความพึงพอใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนของบุคลากร

กรมชลประทานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score)

คาดัชนีวัดความพึงพอใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน (Net Promoter

Score, NPS) ซ่ึงเปนความรูสึกโดยรวมของบุคลากรวาพึงพอใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดู

งานใหผูอ่ืนตอไปหรือไม

NPS ยอมาจากคําวา Net Promoter Score คือ คาสุทธิของบุคลากรผูซ่ึงมีความพึงพอใจและยินดี

แนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน เปนตัวชี้วัดหนึ่งท่ีนิยมใชในปจจุบัน

NPS เปนการประเมินคาระดับความพึงพอใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานให

ผูอ่ืน จากบุคลากรโดยสอบถามบุคลากรแตละคนวา “ทานจะแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานให

ผูอ่ืนไหม” แลวใหบุคลากรประเมินวา ดวยคาระดับคะแนนท่ีใหไดตั้งแต 0 ถึง 10 ข้ึนอยูวาบุคลากรจะใหคะแนน

เทาใด

การประเมินแบบ NPS นั้นเกิดจากหลักการท่ีวา ถาหากบุคลากรมีพึงพอใจ และยินดีแนะนําหลักสูตร

การศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน จะทําใหคนท่ีไดรับการแนะนํานั้นมีความรูในหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม

และดูงานนั้นดวย ถือวาเราไดบุคลากรใหมท่ีมีความรูจากคําแนะนําของเพ่ือน อีกท้ังองคกรของเรามิตองลงทุนใน

การสงบุคลากรไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานเพ่ิมเติม ซ่ึงจะทําใหองคกรไดบุคลากรท่ีมีความรูใหม ๆ จากการ

แนะนําตออยูเสมอ

1. วิธีการในการทํา NPS ขององคกรก็คือ การสัมภาษณหรือสอบถามบุคลากรท่ีเคยไดรับการศึกษา

ฝกอบรมและดูงาน

2. สัมภาษณบุคลากรผูท่ีเคยไดรับการศึกษา ฝกอบรมและดูงานดวยคําถามวา “จากคะแนน 0 ถึง 10

ทานพึงพอใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนอยูในระดับใด”

3. นําคะแนนท่ีไดของบุคลากรแตละรายมาวิเคราะหผลรวมของบุคลากรวาพึงพอใจและยินดีแนะนํา

หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม และดูงานสาขาวิชา/หลักสูตรนี้ใหผูอ่ืนอยูในระดับใด

ทานพึงพอใจและยินดีแนะนําการศึกษา ฝกอบรม และดูงานสาขาวิชา/หลักสูตรนี้ใหผูอ่ืนมากนอยเพียงใด

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ไมสนับสนุน เฉย ๆ สนุบสนนุ

หลักการในการวิเคราะหคือ

- บุคลากรผูใหคะแนน 9-10 คือ บุคลากรท่ีมีความพึงพอใจและยินดีแนะนํา (Promoter) การศึกษา

ฝกอบรม และดูงานสาขาวิชา/หลักสูตรนี้ใหผูอ่ืน

- บุคลากรผูใหคะแนน 7-8 คือ บุคลากรท่ัวไป/เฉยๆ (Passive)

- บุคลากรผูใหคะแนน 0-6 คือ บุคลากรท่ีไมมีความพึงพอใจและไมยินดีแนะนํา (Detractor) การศึกษา

ฝกอบรม และดูงานสาขาวิชา/หลักสูตรนี้ใหผูอ่ืน

Page 40: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

32

Net Promoter Score (NPS) =% บุคลากรท่ีมีความพึงพอใจและยินดีแนะนํา - % บุคลากรท่ีไมมีความพึงพอใจ และไมยินดีแนะนํา

คา NPS เปนตัวชี้วัดหนึ่งซ่ึงทราบถึงการท่ีบุคลากรมีความพึงพอใจ และยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน ซ่ึงองคกรสามารถนํามาใชไดอยางตอเนื่อง เพ่ือทราบถึงความรูสึกของบุคลากรและทราบถึงประเด็นท่ีองคกรตองพัฒนาตอไปได

สรุปไดวาเครื่องมือการประเมินคนหาความรูสึกของบุคลากรท่ีมีตอองคกรนั้น สามารถนํามาใชได ตามความเหมาะสมขององคกรไมวาจะเปนการสํารวจความพึงพอใจของบุคลากรหรือ NPS ระดับการเปนผูสนับสนุนองคกร แตสิ่งท่ีสําคัญยิ่งกวาก็คือ การนําเอาความเห็นของบุคลากรนั้นมาใชในการปรับปรุง เพ่ือใหการบริการขององคกรดียิ่งข้ึนกวาเดิม และตอบโจทยของบุคลากรอยางแทจริง องคกรไมควรใหผลการทําสํารวจความเห็นของบุคลากรจบลงในหองประชุมท่ีนําเสนอผลเทานั้น

Page 41: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

33

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและ

ดูงานตางประเทศ

จากการศึกษาประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศไดแบงการศึกษาเปน 4 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 คือขอมูลท่ัวไปของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ตอนท่ี 2 คือการเทียบเคียงเกณฑประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรม

และดูงานตางประเทศเพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคา โดยหาคาคะแนนเฉลี่ย (Mean) และคารอยละ

(Percentage) และเทียบเคียงเกณฑการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน

ตอนท่ี 3 การเทียบเคียงเกณฑการวัดระดับความพึงพอใจของบุคลากรกรมชลประทานดวยการใช

คะแนน NPS (Net Promoter Score)

ตอนท่ี 3 คือการประเมินผลการนําความรูมาใชในการทํางานโดยรวบรวมความคิดเห็นและ

ขอเสนอแนะจากคําถามปลายเปดและนําเสนอผลการวิเคราะหในเชิงบรรยายเพ่ือประเมินผลการนําความรูมาใชใน

การปฏิบัติงานหลังจากการไดรับทุนไปศึกษาฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ขอมูลท่ัวไปของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ เฉพาะหลักสูตรท่ี

บุคลากรของกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ระหวางปงบประมาณ พ.ศ.

2549 – พ.ศ.2553 จํานวน 166 คน จากผูเขารับการพัฒนาท้ังหมด 227 คน คิดเปนรอยละ 73.13

ไดศึกษาใน 6 ประเด็น คือ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา อายุราชการ ตําแหนง ประเภทของทุนท่ีไดรับ

ระยะเวลา การเปลี่ยนแปลงหนาท่ีหลังจากท่ีไดรับทุน

ตารางท่ี 1 เพศของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

เพศ จํานวน รอยละ

ชาย 149 89.8

หญิง 17 10.2

รวม 166 100

จากตารางท่ี 1 เพศของบุคลากรบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศมากท่ีสุด

คือ เพศชาย คิดเปนรอยละ 89.8 รองลงมาคือ เพศหญิง คิดเปนรอยละ 10.2

Page 42: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

34

ตารางท่ี 2 อายุของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ชวงอายุ จํานวน รอยละ

ต่ํากวา 35 ป 10 6.0

36 – 40 ป 30 18.1

41 – 45 ป 34 20.5

46 – 50 ป 32 19.3

51 – 55 ป 31 18.7

มากกวา 55 ป 29 17.5

รวม 166 100

จากตารางท่ี 2 อายุของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศมากท่ีสุด คือ

ชวงอายุ 41 – 45 ป คิดเปนรอยละ 20.5 รองลงมาคือ ชวงอายุ 46 – 50 ป คิดเปนรอยละ 19.3 ชวงอายุ 51 –

55 ป คิดเปนรอยละ 18.7 ชวงอายุ 36 – 40 ป คิดเปนรอยละ 18.1 ชวงอายุมากกวา 55 ป คิดเปนรอยละ 17.5

และชวงอายุท่ีนอยท่ีสุด คือ ต่ํากวา 35 ป คิดเปนรอยละ 6.0

ตารางท่ี 3 วุฒิการศึกษาของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

จากตารางท่ี 3 วุฒิการศึกษาของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ท่ีมาก

ท่ีสุด คือ วุฒิปริญญาโท และวุฒิวุฒิปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 47.0 เทากัน รองลงมาคือ วุฒิปริญญาเอก คิดเปน

รอยละ 5.4 และนอยท่ีสุด คือ ต่ํากวาปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 0.6

ตารางท่ี 4 อายุราชการของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

อายุราชการ จํานวน รอยละ

นอยกวา 10 ป 3 1.8

10 – 20 ป 55 33.1

21 – 30 ป 72 43.4

มากกวา 30 ป 36 21.7

รวม 166 100

วุฒิการศึกษา จํานวน รอยละ

ปริญญาเอก 9 5.4

ปริญญาโท 78 47.0

ปริญญาตร ี 78 47.0

ต่ํากวาปริญญาตรี 1 0.6

รวม 166 100

Page 43: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

35

จากตารางท่ี 4 อายุราชการของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ท่ีมาก

ท่ีสุด คือ ชวงอายุราชการ 21 – 30 ป คิดเปนรอยละ 43.4 รองลงมาคือ ชวงอายุราชการ 10 – 20 ป คิดเปนรอย

ละ 33.1 อายุราชการมากกวา 30 ป คิดเปนรอยละ 21.7 และนอยท่ีสุด คือ อายุราชการนอยกวา 10 ป คิดเปน

รอยละ 1.8

ตารางท่ี 5 ตําแหนงของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ตําแหนง จํานวน รอยละ

ผูบริหาร 2 1.2

ผูเชี่ยวชาญ 6 3.6

ผูอํานวยการสํานัก 5 3.0

ผูอํานวยการกอง 2 1.2

ผูอํานวยการโครงการ 3 1.8

วิศวกรชลประทาน 39 23.5

วิศวกรเครื่องกล 2 1.2

วิศวกรโยธา 10 6.0

นักวิชาการสิ่งแวดลอม 3 1.8

นักวิชาการเงินและบัญชี 4 2.4

นักจัดการงานท่ัวไป 3 1.8

นักวิเทศสัมพันธ 1 0.6

นักวิเคราะหนโยบายและแผน 2 1.2

นักอุทกวิทยา 4 2.4

เศรษฐกร 1 0.6

นายชางเครื่องกล 1 0.6

นายชางชลประทาน 75 45.2

นายชางไฟฟา 1 0.6

นายชางโยธา 1 0.6

เจาพนักงานการเงินและบัญชี 2 1.2

เจาพนักงานการเกษตร 1 0.6

ชางฝมือสนาม 1 0.6

พนักงานชลประทาน 1 0.6

รวม 166 100

จากตารางท่ี 5 ตําแหนงของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ท่ีมากท่ีสุด

คือ ตําแหนงนายชางชลประทาน คิดเปนรอยละ 45.2 รองลงมา คือ ตําแหนงวิศวกรชลประทาน คิดเปนรอยละ

Page 44: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

36

23.5 ตําแหนงวิศวกรโยธา คิดเปนรอยละ 6.0 ตําแหนงผูเชี่ยวชาญ คิดเปนรอยละ 3.6 ตําแหนงผูอํานวยการสํานัก

คิดเปนรอยละ 3.0 ตําแหนงนักวิชาการเงินและบัญชี และตําแหนงนักอุทกวิทยา คิดเปนรอยละ 2.4 เทากัน

ตําแหนงผูอํานวยการโครงการ ตําแหนงนักวิชาการสิ่งแวดลอม และตําแหนงนักจัดการงานท่ัวไป คิดเปนรอยละ

1.8 เทากัน ตําแหนงผูบริหาร , ตําแหนงผูอํานวยการกอง , ตําแหนงวิศวกรเครื่องกล , ตําแหนงเจาพนักงาน

การเงินและบัญชี และตําแหนงนักวิเคราะหนโยบายและแผน คิดเปนรอยละ 1.2 เทากัน และนอยท่ีสุด คือ

ตําแหนงนักวิเทศสัมพันธ , ตําแหนงเศรษฐกร , ตําแหนงนายชางเครื่องกล , ตําแหนงนายชางไฟฟา , ตําแหนงนาย

ชางโยธา , ตําแหนงเจาพนักงานการเกษตร, ตําแหนงชางฝมือสนาม และตําแหนงพนักงานชลประทาน คิดเปน

รอยละ 0.6 เทากัน

ตารางท่ี 6 ระดับของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ระดับ จํานวน รอยละ

อํานวยการสูง 7 4.2

อํานวยการตน 6 3.6

เชี่ยวชาญ 8 4.8

ชํานาญการพิเศษ 14 8.4

ชํานาญการ 47 28.3

ปฏิบัติการ 3 1.8

อาวุโส 31 18.7

ชํานาญงาน 50 30.1

รวม 166 100

จากตารางท่ี 6 ระดับของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศท่ีมากท่ีสุด คือ

ระดับชํานาญงาน คิดเปนรอยละ 30.1 รองลงมาคือ ระดับชํานาญการ คิดเปนรอยละ 28.3 ระดับอาวุโส คิดเปน

รอยละ 18.7 ระดับชํานาญการพิเศษ คิดเปนรอยละ 8.4 ระดับเชี่ยวชาญ คิดเปนรอยละ 4.8 ระดับอํานวยการสูง

คิดเปนรอยละ 4.2 ระดับอํานวยการตน คิดเปนรอยละ 3.6 ระดับท่ีนอยท่ีสุด คือ ระดับปฏิบัติการ คิดเปนรอยละ

1.8

Page 45: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

37

ตารางท่ี 7 สํานัก / กองของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

สํานัก / กอง กลุมตัวอยาง

(คน)

รอยละ

สวนกลาง 9 3.9

กลุมพัฒนาระบบบริหาร 3 1.3

กองพัสดุ 1 0.4

กองแผนงาน 2 0.9

กองการเงินและบัญชี 7 3.0

กองกฎหมายและท่ีดิน 2 0.9

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา 13 5.7

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา 8 3.5

สํานักสงเสริมการมีสวนรวมเพ่ือประชาชน 5 2.2

สํานักบริหารโครงการ 15 6.5

สํานักเครื่องจักรกล 6 2.6

สํานักโครงการขนาดใหญ 7 3.0

สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม 5 2.2

สํานักวิจัยและพัฒนา 6 2.6

สํานักชลประทานท่ี 1 10 4.3

สํานักชลประทานท่ี 2 6 2.6

สํานักชลประทานท่ี 3 4 2.4

สํานักชลประทานท่ี 4 5 2.2

สํานักชลประทานท่ี 5 6 2.6

สํานักชลประทานท่ี 6 10 4.3

สํานักชลประทานท่ี 7 11 4.8

สํานักชลประทานท่ี 8 11 4.8

สํานักชลประทานท่ี 9 10 4.3

สํานักชลประทานท่ี 10 8 3.5

สํานักชลประทานท่ี 11 15 6.5

สํานักชลประทานท่ี 12 13 5.7

สํานักชลประทานท่ี 13 7 3.0

สํานักชลประทานท่ี 14 6 2.6

สํานักชลประทานท่ี 15 5 2.2

สํานักชลประทานท่ี 16 6 2.6

Page 46: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

38

สํานัก / กอง กลุมตัวอยาง

(คน)

รอยละ

สํานักชลประทานท่ี 17 2 0.9

รวม 227 100

จากตารางท่ี 7 สํานัก / กองของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศท่ีมาก

ท่ีสุด คือ สํานักบริหารโครงการ และสํานักชลประทานท่ี 11 คิดเปนรอยละ 6.5 รองลงมา คือ สํานักอุทกวิทยา

และบริหารน้ํา และสํานักชลประทานท่ี 12 คิดเปนรอยละ 5.7 สํานักชลประทานท่ี 7 และสํานักชลประทานท่ี 8

คิดเปนรอยละ 4.8 เทากัน สํานักชลประทานท่ี 1 , สํานักชลประทานท่ี 6 และสํานักชลประทานท่ี 9 คิดเปนรอย

ละ 4.3 เทากัน สวนกลาง คิดเปนรอยละ 3.9 สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา และสํานักชลประทานท่ี

10 คิดเปนรอยละ 3.5 เทากัน กองการเงินและบัญชี , สํานักโครงการขนาดใหญ และสํานักชลประทานท่ี 13 คิด

เปนรอยละ 3.0 เทากัน สํานักเครื่องจักรกล , สํานักวิจัยและพัฒนา , สํานักชลประทานท่ี 2 , สํานักชลประทานท่ี

5, สํานักชลประทานท่ี 14 และสํานักชลประทานท่ี 16 คิดเปนรอยละ 2.6 เทากัน สํานักชลประทานท่ี 3 คิดเปน

รอยละ 2.4 สํานักสงเสริมการมีสวนรวมเพ่ือประชาชน , สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม , สํานัก

ชลประทานท่ี 4 และสํานักชลประทานท่ี 15 คิดเปนรอยละ 2.2 เทากัน กลุมพัฒนาระบบบริหาร คิดเปนรอยละ

1.3 กองแผนงาน , กองกฎหมายและท่ีดินและสํานักชลประทานท่ี 17 คิดเปนรอยละ 0.9 และสํานัก / กองท่ีนอย

ท่ีสุด คือ กองพัสดุ คิดเปนรอยละ 0.4

ตารางท่ี 8 ประเภททุนของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ประเภททุน จํานวน รอยละ

ศึกษา 6 3.6

ฝกอบรม 88 53.0

ดูงาน 72 43.4

รวม 166 100

จากตาราง 8 บุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศมากท่ีสุด คือ ฝกอบรม คิด

เปนรอยละ 53.0 รองลงมา คือ ทุนดูงาน คิดเปนรอยละ 43.4 และนอยท่ีสุด คือ ทุนศึกษาตอ คิดเปนรอยละ 3.6

ตารางท่ี 9 ระดับทุนการศึกษาตอของบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษาตางประเทศ

ระดับ จํานวน รอยละ

ปริญญาเอก 5 62.5

ปริญญาโท 3 37.5

รวม 8 100

Page 47: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

39

จากตาราง 9 ระดับทุนการศึกษาตอของบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษาตางประเทศมากท่ีสุด คือ

ปริญญาเอก คิดเปนรอยละ 62.5 และปริญญาโทนอยท่ีสุด คิดเปนรอยละ 37.5

ตารางท่ี 10 ระยะเวลาการไดรับทุนของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ระยะเวลา จํานวน รอยละ

นอยกวา 1 เดือน 143 86.1

1 – 3 เดือน 14 8.4

4 – 6 เดือน 2 1.2

7 – 12 เดือน 2 1.2

37 – 48 เดือน 2 1.2

มากกวา 48 เดือน 3 1.8

รวม 166 100

จากตาราง 10 ระยะเวลาการไดรับทุนของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศมากท่ีสุด คือ นอยกวา 1 เดือน คิดเปนรอยละ 86.1 รองลงมา คือ 1–3 เดือน คิดเปนรอยละ 8.4

มากกวา 48 เดือน คิดเปนรอยละ 1.8 และระยะเวลาท่ีนอยท่ีสุด คือ ระยะเวลา 4–6 เดือน ระยะเวลา 7–12

เดือน และ ระยะเวลา 37-48 เดือน คิดเปนรอยละ 1.2 เทากัน

ตารางท่ี 11 ประเภทแหลงเงินทุนท่ีบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ประเภทแหลงเงินทุน จํานวน รอยละ

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร 1 0.6

เงินกองทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน 94 56.6

สํานักงาน ก.พ. 11 6.6

รัฐบาลตางประเทศ 23 13.9

อ่ืน ๆ 37 22.3

รวม 166 100

จากตาราง 11 ประเภทแหลงเงินทุนท่ีบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

มากท่ีสุด คือ เงินกองทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน คิดเปนรอยละ 56.6 รองลงมา คือแหลงเงินทุนอ่ืนๆ คิด

เปนรอยละ 22.3 เงินทุนจากรัฐบาลตางประเทศ คิดเปนรอยละ 13.9 เงินทุนจากสํานักงาน ก.พ. คิดเปนรอยละ

6.6 และนอยท่ีสุด คือ สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร คิดเปนรอยละ 0.6

Page 48: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

40

ตารางท่ี 12 การเปลี่ยนแปลงการปฎิบัติหนาท่ีของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ

การเปลี่ยนแปลง จํานวน รอยละ

ยายไปทํางานหนวยงานอ่ืน 12 7.2

ไดรับการเลื่อนตําแหนง 8 4.8

ยังปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิม 146 88.0

รวม 166 100

จากตาราง 12 การเปลี่ยนแปลงการปฎิบัติหนาท่ีของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศมากท่ีสุด คือ ยังปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิม คิดเปนรอยละ 88.0

รองลงมาคือ ยายไปทํางานหนวยงานอ่ืน คิดเปนรอยละ 7.2 และนอยท่ีสุด คือ ไดรับการเลื่อนตําแหนง คิดเปน

รอยละ 4.8

ตารางท่ี 13 การยายไปทํางานหนวยงานอ่ืนของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ

การยายไปทํางานหนวยงานอ่ืน จํานวน รอยละ

ตรงกับความรู ความสามารถท่ีไดไปศึกษา ฝกอบรมและ

ดูงานตางประเทศ

10 83.33

ไมตรงกับความรู ความสามารถท่ีไดไปศึกษา ฝกอบรม

และดูงานตางประเทศ

2 16.67

รวม 12 100

จากตารางท่ี 13 การยายไปทํางานหนวยงานอ่ืนของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ เนื่องจากตรงกับความรู ความสามารถท่ีไดไปศึกษา ฝกอบรมและ

ดูงานตางประเทศ คิดเปนรอยละ 83.33 และไมตรงกับความรู ความสามารถท่ีไดไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศ คิดเปนรอยละ 16.67

Page 49: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

41

ตารางท่ี 14 บุคลากรท่ียังปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิมหลังจากท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

จากตารางท่ี 14 บุคลากรท่ียังปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิมหลังจากท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดู

งานตางประเทศ มีลักษณะงานท่ีสามารถนําความรูท่ีไดจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ มาใชใน

การทํางานได คิดเปนรอยละ 95.89 และมีลักษณะงานท่ีไมสามารถนําความรูท่ีไดจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดู

งานตางประเทศ มาใชในการทํางานได คิดเปนรอยละ 4.11

ตอนท่ี 2 การเทียบเคียงเกณฑประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศเ พ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคา โดยหาคาคะแนนเฉล่ีย (Mean) และคารอยละ

(Percentage) และเทียบเคียงเกณฑการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรม

ชลประทาน

ตารางท่ี 15 ความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไป

ตางประเทศ ในดานของการสงเสริมการพัฒนาตนเอง

รายการ คาคะแนน

เฉล่ีย รอยละ

ผาน/ไมผานเกณฑ

ประสิทธิผลความคุมคา

ไมตํ่ากวารอยละ 70

การประเมินระดับความคุมคา

ตามเกณฑการติดตามผล

โครงการฝกอบรม

เพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมีความสามารถ

ในการปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่ง

โดยเฉพาะไดดี

7.56 75.6 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

เพ่ิมพูนทักษะความชํานาญ หรือ

ทักษะในการทํางาน 7.26 72.6 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

เปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซ่ึงเปนพ้ืนฐาน

ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

ของบุคคล

7.38 73.8 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

74.0 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

การปฎิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิม จํานวน รอยละ

มีลักษณะงานท่ีสามารถนําความรูท่ีไดจากการไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ มาใชในการทํางานได

140 95.89

ซ่ึงมีลักษณะงานท่ีไมสามารถนําความรูท่ีไดจากการไป

ศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ มาใชในการ

ทํางานได

6 4.11

รวม 146 100

Page 50: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

42

จากตารางท่ี 15 พบวาบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ เห็นวาประโยชน

จากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานการสงเสริมการพัฒนาตนเอง เปนการเพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมี

ความสามารถในการปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะไดดีมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 75.6 รองลงมาเปนการ

เปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล คิดเปนรอยละ 73.8 และเปน

การเพ่ิมพูนทักษะความชํานาญ หรือทักษะในการทํางาน คิดเปนรอยละ 72.6 โดยในภาพรวมประโยชนจาก

การศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานของการสงเสริมการพัฒนาตนเอง คิดเปนรอยละ 74.0 และทุกตัวชี้วัดผาน

เกณฑประเมินประสิทธิผลความคุมคา อยูในเกณฑคุมคาในระดับปานกลาง

ตารางท่ี 16 ความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไป

ตางประเทศ ในดานของการสงเสริมการพัฒนางาน

รายการ คาคะแนน

เฉล่ีย รอยละ

ผาน/ไมผานเกณฑ

ประสิทธิผลความคุมคา

ไมตํ่ากวารอยละ 70

การประเมินระดับความ

คุมคาตามเกณฑการติดตาม

ผลโครงการฝกอบรม

ปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองให

เปนผูนําท่ีดีของทีมงาน 7.17 71.7 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

ลดปญหาและแกไขงานท่ีผิดพลาด 7.03 70.3 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

มีการนําความรูท่ีไดมาประยุกตใช

ในการทํางาน 7.58 75.8 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

สงเสริมภาวะผูนําของทีมงานท่ีเกง

งาน เกงคนและเกงคิด 7.08 70.8 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือน

รวมงาน 7.11 71.1 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

เพ่ิมเครือขายในการประสานงาน 7.52 75.2 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

7.25 72.5 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

จากตารางท่ี 16 พบวาบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ เห็นวาประโยชน

จากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานการสงเสริมการพัฒนางาน เปนการนําความรูท่ีไดมาประยุกตใชในการ

ทํางานมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 75.8 รองลงมาเปนการเพ่ิมเครือขายในการประสานงาน คิดเปนรอยละ 75.2 การ

ปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองใหเปนผูนําท่ีดีของทีมงาน คิดเปนรอยละ 71.7 มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือน

รวมงาน คิดเปนรอยละ 71.1 สงเสริมภาวะผูนําของทีมงานท่ีเกงงาน เกงคนและเกงคิด คิดเปนรอยละ 70.8 และ

ลดปญหาและแกไขงานท่ีผิดพลาดนอยท่ีสุด คิดเปนรอยละ 70.3 โดยในภาพรวมประโยชนจากการศึกษา

ฝกอบรมและดูงานในดานของการสงเสริมการพัฒนางาน คิดเปนรอยละ 72.5 และทุกตัวชี้วัดผานเกณฑประเมิน

ประสิทธิผลความคุมคา อยูในเกณฑคุมคาในระดับปานกลาง

Page 51: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

43

ตารางท่ี 17 ความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไป

ตางประเทศ ในดานของการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรม

รายการ คาคะแนน

เฉล่ีย รอยละ

ผาน/ไมผานเกณฑ

ประสิทธิผลความคุมคา

ไมตํ่ากวารอยละ 70

การประเมินระดับความ

คุมคาตามเกณฑการติดตาม

ผลโครงการฝกอบรม

การลดตนทุน 6.32 63.2 ไมผาน คุมคาในระดับนอย

การลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7.03 70.3 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

การเพ่ิมผลผลิต 6.67 66.7 ไมผาน คุมคาในระดับนอย

การเพ่ิมความพึงพอใจของผูรับบริการ 7.23 72.3 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

6.81 68.1 ไมผาน คุมคาในระดับปานกลาง

จากตารางท่ี 17 พบวาบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ เห็นวา

ประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานการสงเสริมการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรม เปนการเพ่ิมความ

พึงพอใจของผูรับบริการมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 72.3 รองลงมาเปนการลดระยะเวลาการทํางาน คิดเปนรอยละ

70.3 การเพ่ิมผลผลิต คิดเปนรอยละ 66.7 และการลดตนทุนนอยท่ีสุด คิดเปนรอยละ 63.2 โดยในภาพรวม

ประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานของการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรม คิดเปนรอยละ 68.1 โดยมี

ตัวชี้วัดท่ีไมผานเกณฑประเมินประสิทธิผลความคุมคา 2 ตัวชี้วัด ไดแก 1) การลดตนทุน และ 2) การเพ่ิมผลผลิต

จึงทําใหภาพรวมประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรม และดูงานในดานการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรมไมผานเกณฑ

ประเมินประสิทธิผลความคุมคา และมีระดับความคุมคาในระดับปานกลาง

Page 52: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

44

ตารางท่ี 18 ความคิดเห็นของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไป

ตางประเทศ ในดานของความพึงพอใจจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

รายการ คาคะแนน

เฉล่ีย รอยละ

ผาน/ไมผานเกณฑ

ประสิทธิผลความคุมคา

ไมตํ่ากวารอยละ 70

การประเมินระดับความ

คุมคาตามเกณฑการติดตาม

ผลโครงการฝกอบรม

หลักสูตรท่ีไดรับตรงกับความพึงพอใจ

ท่ีทานคาดหวัง 7.89 78.9 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

ทานไดเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรม

และดูงาน สาขา / หลักสูตร 7.89 78.9 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

การศึกษา ฝกอบรมและดูงาน สาขา /

หลักสูตรจะชวยเพ่ิมประสิทธิผล

ใหกับหนวยงานของทาน

7.62 76.2 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

7.86 78.6 ผาน คุมคาในระดับปานกลาง

จากตารางท่ี 18 พบวาบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ไดเรียนรูจาก

การศึกษา ฝกอบรมและดูงาน และหลักสูตรท่ีไดรับตรงกับความพึงพอใจท่ีบุคลากรคาดหวัง มากท่ีสุดคิดเปนรอย

ละ 78.9 เทากัน และการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน จะชวยเพ่ิมประสิทธิผล ใหกับหนวยงานนอยท่ีสุด คิดเปนรอย

ละ 76.2 โดยในภาพรวมความพึงพอใจจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานของบุคลากร คิดเปนรอยละ 78.6 และทุก

ตัวชี้วัดผานเกณฑประเมินประสิทธิผลความคุมคา อยูในเกณฑคุมคาในระดับปานกลาง

ตารางท่ี 19 ประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน

รายการ รอยละ การประเมินความคุมคา

ประโยชนในการการพัฒนาตนเอง 74.0 คุมคาในระดับปานกลาง

ประโยชนในการการพัฒนางาน 72.5 คุมคาในระดับปานกลาง

ประโยชนในการการพัฒนาองคกร 68.1 คุมคาในระดับปานกลาง

ความพึงพอใจในหลักสูตร 78.6 คุมคาในระดับปานกลาง

รวม 73.3 คุมคาในระดับปานกลาง

จากตารางท่ี 19 แสดงประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน พบวา

บุคลากรของกรมชลประทานท่ีไดรับการพัฒนาเห็นวาประโยชนในการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทานมีความ

พึงพอใจในหลักสูตรมากท่ีสุด อยูในระดับรอยละ 78.8 รองลงมาเห็นวาเปนประโยชนในการพัฒนาตนเอง อยูใน

ระดับรอยละ 74.0 การพัฒนางาน อยูในระดับรอยละ 72.5 และเปนประโยชนในการพัฒนาองคกรนอยท่ีสุดคือ

Page 53: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

45

รอยละ 68.2 โดยในภาพรวมเห็นวาการเขารับการพัฒนามีประสิทธิผลความคุมคาอยูในระดับรอยละ 73.4 ซ่ึงอยู

ในระดับปานกลาง

ตอนท่ี 3 การเทียบเคียงเกณฑการวัดระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา/หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ใหผูอ่ืนของบุคลากรกรมชลประทานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score)

ตารางท่ี 20 ผลการวัดระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา/หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน

รายการ

ความคิดเห็น

ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

ความยินดีแนะนําสาขาวิชา

/ หลักสูตรการศึกษา

ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน

78 39.4 89 44.9 31 15.7

Net Promoter Score (NPS) =% บุคลากรท่ีเปนผูสนับสนุน - % บุคลากรท่ีไมสนับสนุน

NPS = 39.4 – 15.7 = 23.7

จากตารางท่ี 22 แสดงผลการวัดระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม

และดูงานใหผูอ่ืน พบวา บุคลากรท่ีไดรับการศึกษา ฝกอบรมและดูงานมีความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตร

การศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน คิดเปนรอยละ 39.4 บุคลากรไมยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา

ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนคิดเปนรอยละ 15.7 และมีคาระดับความพึงพอใจและยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตร

การศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน เทากับ 23.7

Page 54: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

46

ตารางท่ี 21 แสดงหลักสูตรท่ีบุคลากรท่ีไดรับการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

หลักสูตรการศึกษา 1 ศึกษาตอปริญญาเอก

สาขาวชิาเศรษฐศาสตร สหราชอาณาจักร 1 100 100

2 ศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวชิาทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม

แคนาดา 1 100 100

3 ศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวชิา Water Resources Engineering

ญึ่ปุนและสหรัฐอเมริกา

2 100 100

4 ศึกษาตอปริญญาโท สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา

ญี่ปุน 1 100 100

หลักสูตรการฝกอบรม 5 ฝกอบรมหัวขอ Flood

Hazard Mapping สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน 1 100 100

6 การฝกอบรม ภาษาอังกฤษสาํหรับการใชในการปฏิบัตงิาน (ILC) ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 รุนที่ 2

สถาบันการตางประเทศ (ทุนจากรัฐบาลตางประทศรวมกับรัฐบาลไทย)

1 100 100

7 ฝกอบรมโครงการนักวิชาการรุนเยาวจากประเทศภาคีสมาชิก (Junior Riparian Professon Project:JRP) รุนที่ 4

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1 100 -100

8 การฝกอบรมระหวางการผลิตและการทดสอบอุปกรณเคร่ืองสูบน้ํา

ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

3 100 -

9 การฝกอบรมหลักสูตร 24/7 Water Supply and Distribution

สาธารณรัฐ สิงคโปร

1 50 1 50 0

Page 55: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

47

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

Management ภายใต Singapore Cooperation Programme Training Award (SCPTA)

10 การฝกอบรมหลักสูตร Counterparts Training Course on Facility Maintence and Water Management on Irrigation and Drainage

ญี่ปุน 1 100 -

11 การฝกอบรมหลักสูตร Integrated Water Resources Management ชวงที่ 2

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

2 100 100

12 การฝกอบรมหลักสูตร International Course on Irrigation System Management

มาเลเซีย 1 50 1 50 -50

13 การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเร่ือง Rapid Appraisal Procedure (RAP-Workshop) ภายใตโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการชลประทานในแปลงนาขาวสาธิต (Improvement of Irrigation Efficiency on Paddy Fields in the Lower Mekong Basin Project : IIEPE)

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1 50 1 50 0

14 การฝกอบรมหลักสูตร Tropical Wetlands Management

มหาวิทยาลัยมหิดล (ทุนรัฐบาลตางประเทศ

รวมกับรัฐบาลไทย)

1 100 -

Page 56: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

48

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

15 ฝกอบรม Education for Sustainable Development in a River Basin Context

ราชอาณาจักรสวีเดน และสาธารณรัฐ

ประชาชนจีน

2 100 100

16 ฝกอบรม Non-conventional Water Resources and Enviormnental Management in Water Scarce Countries ภายใต Japan-Dingapore Partnership Programme for the 21 th(JSPP21)

สาธารณรัฐ สิงคโปร

2 100 100

17 ฝกอบรม IATSS Forum รุนที่ 40

ญี่ปุน 1 100 100

18 ฝกอบรมสาขา Space Applications

สาธารณรัฐฝรั่งเศส 1 100 -

19 ฝกอบรมหลักสูตร Integrated Watershed Management

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร

(ทุนจากรัฐบาลตางประทศรวมกับรัฐบาลไทย)

3 75 1 25 75

20 ฝกอบรมหลักสูตร Small Hydropower technology

สาธารณรัฐประชาชนจีน

1 100 100

21 ฝกอบรมเร่ือง The Integrated Workshop on Coping with Climate Change in the Typhoon Committee Area

สาธารณรัฐประชาชนจีน

1 100 -

22 ฝกอบรมในหัวขอเร่ือง Study on of Effect of Watershed Characteristics on

ญี่ปุน 1 100 100

Page 57: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

49

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

Reservoir Sedimentation in Northeast and North Thailand

23 ฝกอบรมชั้นสงูเก่ียวกับ RS / GIS

ญี่ปุน 1 100 -

24 ฝกอบรมหลักสูตร Small Hydropower ภายใต TCDC

สาธารณรัฐประชาชนจีน

2 100 -

25 ฝกอบรหลักสูตรScience and Technology Research Partnership for Sustainable Development

ญี่ปุน 1 100 100

26 ฝกอบรมหลักสูตร Geo-tools for Water Resources Management with threes specializations

ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

2 100 100

27 ฝกอบรมเร่ือง Agricultion Irrigation Management

สาธารณรัฐประชาชนจีน

2 100 -

28 ฝกอบรมเร่ือง Application of Space Technology for Disaster Management Support with Emphasis on Drought Monitoring , Desertification and Crop Yield Preduction ภายใต TCS of Colombo Plan

สาธารณรัฐอินเดีย 1 100 100

29 ฝกอบรมเร่ือง Evaluation the effect of Watershed Characteristics on Reservoir

ญี่ปุน 1 100 -

Page 58: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

50

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

Sedimentation : A case study Northeast and North Thailand

30 ฝกอบรมเร่ือง Expert on Flood - Related Disaster Mitigation

ญี่ปุน 1 50 1 50 50

31 ฝกอบรมเร่ือง Global Precipitation Measurement (GPM) Asia Workshop

ญี่ปุน 1 100 -

32 ฝกอบรมเร่ือง Groundwater Exploration and Management of Water Resources

อิสราเอล 3 100 100

33 ฝกอบรมหลักสูตร Groundwater Resources Development and Management for ASEAN Member Countries

สาธารณรัฐเกาหลี 1 100 -

34 ฝกอบรมเร่ือง Regional Training on End-to-End Tsunami Warning System

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

1 100 -

35 ฝกอบรมเร่ือง The Modern Methods in canal Operation and Control , 4th International Technical Workshop and Study Tour

สหรัฐอเมริกา 1 100 -

36 ฝกอบรมเร่ือง The Seventh International Planning workshop on Global Precipitation

ญี่ปุน 1 100 -100

Page 59: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

51

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

Measurement (GPM) 37 ฝกอบรมเร่ือง

Watershed and River Basin Management

ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

1 50 1 50 0

38 ฝกอบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการจัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน ,

สาธารณรัฐเกาหลี, เบลเยี่ยม,

เนเธอรแลนด-สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

36 36.5 49 51.0 12 12.5 24

39 ฝกอบรมการใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรสาํหรับ (Decision Support Framework) ของ MRC ที่มีการพัฒนาเพิ่มเติม

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1 100 100

40 ฝกอบรมหลักสูตร International on Demand Side Management of Groundwater

อินเดีย 1 100 -

41 ฝกอบรมหลักสูตร Irrigation Water Resources in Arid & Semi - Arid Region and E.I.A. for Sustainable Development II

ญี่ปุน 1 100 -

หลักสูตรการดูงาน 42 ดูงานโครงการ

International Conference on Forest in Continental River Basins : with a focus on the Mekong River

ราชอาณาจักรกัมพูชา

1 100 -

Page 60: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

52

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

43 ดูงานโครงการจัดตั้งแปลงสาธิตการเกษตรแบบผสมผสาน

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1 33.3 1 33.3 1 33.3 0

44 ดูงานระบบสารสนเทศ สาธารณรัฐ สิงคโปร

1 100 -100

45 ดูงานโครงการ The Impact of Climate Change on Irrigation System and Adaptation Measures (Plaichumpol Irrigation Project Case Study)

ญี่ปุน 1 100 -

46 ดูงานโครงการวางแผนและจัดทาํนโยบายโครงการและมาตรการบรรเทาอุทกภัยลุมน้ําเจาพระยา-ทาจีน

ญี่ปุน 1 100 100

47 ดูงานดานการบริหารจัด การน้ําอยางบูรณาการ

สหพันธสาธารณรัฐเยอรมันนี

2 100 100

48 ดูงาน สวนหนึง่ของหลักสตูรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุนที่ 8

สหราชอาณาจักรสเปน

1 50 1 50 50

49 ดูงาน Principles and Applications of Remote Sensing and GIS for Various Applications

ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

1 100 100

50 ดูงานเก่ียวกับการจัดการเข่ือนอาคาร และเคร่ืองมือชลประทาน

ญี่ปุน 1 50 1 50 50

51 ดูงานเพื่อโครงการก่ิวคอหมา

สาธารณรัฐประชาชนจีน

1 100 -

52 ดูงานเพื่อโครงการชลประทานสระแกว

สาธารณรัฐฝรั่งเศส 2 100 -

53 ดูงานและหารือเก่ียวกับ ราชอาณาจักร 1 50 1 50 -50

Page 61: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

53

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

การประยุกตใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร

เนเธอรแลนด

54 ดูงานและหารือรายละเอียดเก่ียวกับการประยุกตใชโปรแกรม Sobek ตามโครงการปรับปรุงระบบปองกันน้ําเค็ม จังหวัดสมุทรสาครและสมุทรสงคราม

ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

2 50 1 50 -50

55 ดูงานโครงการระบายน้าํ Oyamatsu Toyanogata โครงการที่มีสวนรวม Kamedagou โครงการระบายน้ํา Shin kawa (ระบายน้าํ) โครงการอุโมงคน้ํา Shin-Shin Hisayama โครงการเข่ือนและระบบ Otsugawa

ญี่ปุน 1 100 100

56 ดูงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสรางหนวยงานตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1 100 100

57 ดูงานกอสรางเพื่อโครงการระบายน้ําบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

2 100 -100

58 ดูงานกอสรางโครงการปรับปรุงแมน้ํายม-สายเกา (แมน้ํายมฝงซาย)

สาธารณรัฐประชาชนจีน

1 100 -

59 ดูงานการทดสอบ Hydro - mechanical works

สาธารณรัฐอิตาลี 1 100 -

Page 62: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

54

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

60 ดูงานขบวนการซอมแซมแกไขขอบกพรองของเข่ือนและเทคโนโลยีวิศวกรรมงานเข่ือนเพื่อโครงการชลประทานสระแกว

สาธารณรัฐประชาชนจีน

1 50 1 50 0

61 ดูงานดาน Monitoring Irrigation Water Supply

สหรัฐอเมริกา 1 100 -100

62 ดูงานดานการกําจัดขยะและบาํบัดน้ําเสียชุมชน

ญี่ปุน 1 50 1 50 -50

63 ดูงานตามโครงการพัฒนาขาราชการจังหวัดสุพรรณบุรี

สาธารณรัฐประชาชนจีน

1 100 -100

64 ไปตรวจและทําการ Witnessed Testing เคร่ืองสูบน้ําทีโ่รงงานผูผลิต Ebara Hai Doung Co.,Ltd.

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

1 100 -100

65 ไปตรวจสอบ (Performance Test ) ชุดเฟองทดรอบและตรวจสอบ (Visual Inspection)

สหราชอาณาจักรและราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด 1 100 -

66 ประชุมเชิงปฏิบัติการเก่ียวกับงานชลประทานซึ่งมีทั้งงานดานการบํารุงรักษาและงานดานเคร่ืองจักรตาง ๆ

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1 100 -100

67 ประชุมเชิงปฏิบัติการ International Workshop on Impacts of Reforestation of Degraded Land on Landscape Hydrology in the Asian Region

สาธารณรัฐอินเดีย 1 100 -

68 การประชุมเชิงปฏิบัติการ สาธารณรัฐ 1 100 -100

Page 63: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

55

ท่ี หลักสูตร ประเทศ

ความคิดเห็น

NPS ยินดี เฉย ๆ ไมยินด ี

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

(ฝกอบรม) คร้ังสุดทายตามโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการชลประทานในแปลงสาธิตบริเวณพื้นที่ลุมน้ําโขงตอนลาง (Improvement of Irrigation Efficiency on Paddy Field in the Lower Mekong Basin Project)

ประชาธิปไตยประชาชนลาว

69 การประชุมเชิงปฏิบัติการเร่ือง Workshop on River Basin Dynamics in the Humid Tropic

สาธารณรัฐสิงคโปร 1 100 -

70 การประชุมสดุยอดวาดวยเร่ืองน้ําในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟก คร้ังที่ 1

ญี่ปุน 1 100 -

71 ประชุมและเปนวทิยากรเร่ือง Sabo (Erosion Control Engineering) Sediment Disaster Prevention , Land Conservation and Safety of Nations

ญี่ปุน 1 100 100

รวม 78 39.4 89 44.9 31 15.7 23.7 จากตารางหลักสูตรการศึกษาตอท่ีบุคลากรมีความยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืน คือ การศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชาเศรษฐศาสตร, การศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชาทรัพยากรและสิ่งแวดลอม, การศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชา Water Resources Engineering, และการศึกษาตอปริญญาโท สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา มีคา NPS = 100 หลักสูตรการฝกอบรมท่ีบุคลากรมีความยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืน คือ ฝกอบรมหัวขอ Flood

Hazard Mapping, การฝกอบรมภาษาอังกฤษสําหรับการใชในการปฏิบัติงาน (ILC) ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 รุนที่

2, การฝกอบรมหลักสูตร Integrated Water Resources Management ชวงท่ี 2, Education for Sustainable Development in a River Basin Context, ฝกอบรม Non-conventional Water Resources and Enviornmental Management in Water Scarce Countries ภายใต Japan-Dingapore Partnership

Page 64: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

56

Programme for the 21 th (JSPP21), ฝกอบรม IATSS Forum รุนท่ี 40, ฝกอบรมหลักสูตร Small

Hydropower technology, ฝกอบรมในหัวขอเรื่อง Study on of Effect of Watershed Characteristics on Reservoir Sedimentation in Northeast and North Thailand, ฝกอบรมหลักสูตร Science and Technology Research Partnership for Sustainable Development, ฝกอบรมหลักสูตร Geo-tools for Water Resources Management with threes specializations, ฝกอบรมหลักสูตร Application of Space Technology for Disaster Management Support with Emphasis on Drought Monitoring , Desertification and Crop Yield Preduction ภายใต TCS of Colombo Plan, ฝกอบรมหลักสูตร Groundwater Exploration and Management of Water Resources, ฝกอบรมการใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับ (Decision Support Framework) ของ MRC ท่ีมีการพัฒนาเพ่ิมเติม มีคา NPS = 100 รองลงมา คือ ฝกอบรมหลักสูตร Integratec Watershed Management มีคา NPS = 75 ฝกอบรมเรื่อง Expert on Flood - Related Disaster Mitigation มีคา NPS = 50 และหลักสูตรท่ีบุคลากรท่ีไดรับการฝกอบรมมีความยินดีแนะนําใหผูอ่ืนนอยท่ีสุดคือ อบรมการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารการจัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน มีคา NPS = 24 หลักสูตรการฝกอบรมท่ีบุคลากรไมมีความยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืนมากท่ีสุด คือ ฝกอบรมนักวิชา การรุนเยาวจากประเทศภาคีสมาชิก (Junior Riparian Professon Project: JRP) รุนท่ี 4, ฝกอบรมเรื่อง The Seventh International Planning workshop on Global Precipitation Measurement (GPM) มีคา NPS = -100 ฝกอบรมหลักสูตร International Course on Irrigation System Management มีคา NPS = -50 หลักสูตรการดูงานท่ีบุคลากรมีความยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืน คือ ดูงานโครงการวางแผนและจัด ทํานโยบายโครงการและมาตรการบรรเทาอุทกภัยลุมน้ําเจาพระยา-ทาจีน, ดูงานดานการบริหารจัดการน้ําอยาง บูรณาการ, ดูงาน Principles and Applications of Remote Sensing and GIS for Various Applications, ดูงานโครงการระบายน้ํา Oyamatsu Toyanogata โครงการท่ีมีสวนรวม Kamedagou โครงการระบายน้ํา Shin kawa (ระบายน้ํา) โครงการอุโมงคน้ํา Shin-Shin Hisayama โครงการเข่ือนและระบบ Otsugawa, ดูงานโครง การอบรมเชิงปฏิบัติการสรางหนวยงานตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง, ประชุมและเปนวิทยากรเรื่อง Sabo (Erosion Control Engineering) Sediment Disaster Prevention, Land Conservation and Safety of Nations มีคา NPS = 100 การดูงานสวนหนึ่งของหลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุนท่ี 8, ดูงานเก่ียวกับการจัดการเข่ือนอาคาร และเครื่องมือชลประทาน มีคา NPS = 50 หลักสูตรการดูงานท่ีบุคลากรไมยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืน คือ ดูงานระบบสารสนเทศ, ดูงานเพ่ือโครงการระบายน้ําบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ, ดูงานดาน Monitoring Irrigation Water Supply, ดูงานตามโครงการพัฒนาขาราชการจังหวัดสุพรรณบุรี, ดูงานการ Witnessed Testing เครื่องสูบน้ําท่ีโรงงานผูผลิต Ebara Hai Doung Co.,Ltd., ประชุมเชิงปฏิบัติการเก่ียวกับงานชลประทานซึ่งมีทั้งงานดานการบํารุงรักษาและงานดาน

เคร่ืองจักรตาง ๆ, การประชุมเชิงปฏิบัติการ (ฝกอบรม) ครั้งสุดทายตามโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการชลประทานในแปลงสาธิตบริเวณพ้ืนท่ีลุมน้ําโขงตอนลาง (Improvement of Irrigation Efficiency on Paddy Field in the Lower Mekong Basin Project) มีคา NPS = -100 ดูงานและหารือเก่ียวกับการประยุกตใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร, ดูงานและหารือรายละเอียดเก่ียวกับการประยุกตใชโปรแกรม Sobek ตามโครงการปรับปรุงระบบปองกันน้ําเค็ม จังหวัดสมุทรสาครและสมุทรสงคราม, ดูงานดานการกําจัดขยะและบําบัดน้ําเสียชุมชน มีคา NPS = -50 ในภาพรวมระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน ดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score) คือ คะแนนการบอกตอสุทธิ พบวา บุคลากรท่ีไดรับการศึกษา

Page 65: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

57

ฝกอบรมและดูงานมีความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน คิดเปนรอยละ 39.4 บุคลากรไมยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนคิดเปนรอยละ 15.7 และมีคาระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน เทากับ 23.7

ตอนท่ี 4 รวบรวมความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากคําถามปลายเปดและนําเสนอผลการวิเคราะหในเชิง

บรรยายเพ่ือประเมินผลการนําความรูมาใชในการปฏิบัติงานหลังจากท่ีทานไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดู

งานตางประเทศ

จากการตอบคําถามปลายเปดในตอนท่ี 3 ของแบบประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากร

กรมชลประทานท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ระหวางปงบประมาณ 2549 –2553 ของ

กลุมประชากร จากทุกสํานัก/กอง สามารถสรุปผลได ดังนี้

5.1 การรายงานผลหลังการไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ ใหผูบังคับบัญชา

ทราบ แยกเปนการรายงานเปนลายลักษณอักษร คิดเปนรอยละ 90 รองลงมาเปนการรายงานดวยวาจาคิดเปน

รอยละ 10

5.2 ความรูท่ีรับจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศสามารถนํามาสรางผลงานท่ีเปน

รูปธรรมได ดังนี้

1. การอบรมหลักสูตร Flood Hazard Mapping ไดมีการจัดทําแผนท่ีน้ําทวมเพ่ือใชใน

การเตือนภัยน้ําทวมในเขตเทศบาลนครลําปาง ท่ีสามารถบอกรายละเอียดของขอบเขตพ้ืนท่ีน้ําทวมและความลึก

ของน้ําทวมใหกับประชาชนไดใชในการเตรียมตัวอพยพไดอยางเหมาะสม โดยไดรับงบประมาณในการดําเนินการ

ในรูปของงบประมาณเพ่ือการวิจัยดําเนินการแลวเสร็จในป พ.ศ. 2551

2. การฝกอบรมระหวางการผลิตและการทดสอบอุปกรณเครื่องสูบน้ําเพ่ือนํามาติดตั้ง

เครื่องสูบน้ําของโครงการระบายน้ําบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ เพ่ือสามารถสูบน้ําออกสูทะเลได ทําใหชาวบาน

ไมไดรับความเสียหายจากการเกิดน้ําทวม

3. การศึกษาดูงานโครงการระบายน้ําและโครงการอุโมงคน้ําประเทศญี่ปุน และไดมีการ

นําความรูมาใชพัฒนาพ้ืนท่ีสาธารณะเปนพ้ืนท่ีรับน้ํานองโดยโครงการนํารองในพ้ืนท่ี อ.บางบาล จ.

พระนครศรีอยุธยา โดยใชพ้ืนท่ีดังกลาวเปนพ้ืนท่ีรับน้ํานอง ในชวงฤดูน้ําหลาก เพ่ือชวยลดระดับน้ําทวมในพ้ืนท่ี

ภาคกลาง

4. การศึกษาดูงานหัวขอความปลอดภัยเข่ือน และไดนําความรูมาใชในการวางแผนเพ่ิม

ระดับ Spillway เปนฝายพับเพ่ือใหสามารถเก็บกักน้ําไดมากข้ึนของอางเก็บน้ําพระปรง

5. การฝกอบรมหลักสูตร Training Irrigation Engineer และไดนําความรูมาใชในงาน

กอสรางระบบชลประทาน งานสูบน้ําข้ึนภูเขาหรือโครงการซูบัคซิซเต็มท และไดเริ่มงานกอสรางอางเก็บน้ําคลอง

ระโอก อ.แกลง จ.ระยอง

6. การฝกอบรมหลักสูตร Irrigation Water Resources in Arid & Semi-Arid Region

and E.I.A. for Sustainable Development II และไดนําความรูมาใชทําแบบจําลองระบบคาดการณและ

พยากรณน้ําในลุมน้ําเจาพระยา-ทาจีน รวมกับ AIT

Page 66: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

58

7. โครงการฝกอบรมนักวิชาการรุนเยาวจากประเทศภาคีสมาชิก (Junior Riparian

Profession Project: JRP) รุนท่ี 4 ไดมีการนําความรูมาใชในการสรางผลงานตนแบบโครงงาน การศึกษาการ

เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน เสนอตอสํานักเลขาธิการคณะกรรมการแมน้ําโขง และเขารวมทํางานตรวจสอบ

พ้ืนท่ีชลประทานโดยใช ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร หรือ Geographic Information System (GIS)

8. หลักสูตรฝกอบรมชั้นสูงเก่ียวกับ RS/GIS โดยใดทําผลงานวิจัยเก่ียวกับการใช

ขอมูลภาพถายจากดาวเทียมศึกษาเรื่องน้ําทวมและน้ําเสีย เพ่ือใชในการพัฒนาแหลงน้ําและบริหารจัดการน้ํา

9. หลักสูตรการกําจัดขยะและบําบัดน้ําเสียชุมชน ไดมีการนําความรูมาใชศึกษาวิจัยและ

พัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ และชุมชนตาง ๆ ในจังหวัดเพชรบุรี

10. ฝกอบรมหลักสูตร Small Hydropower Development ไดมีการนําความรูมาใช

ในการพัฒนาไฟฟาพลังน้ําจากเข่ือนขนาดกลาง และขนาดเล็กในประเทศไทย ซ่ึงอยูระหวางการศึกษาและพัฒนา

โครงการขนาดกลางในความรับผิดชอบของสํานักชลประทานท่ี 14

11. อบรมหลักสูตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารการจัดการน้ําของโครงการจาก

ยุทธศาสตรสูการปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน ไดแนวคิดจากการฝกอบรมในการทําอางเก็บ

น้ําอเนกประสงคท่ีไมเพียงแคการเพาะปลูกแตขยายผลไปถึง การผลิตกระแสไฟฟา ผลิตน้ําประปา เพ่ือการ

อุตสาหกรรม ปองกันน้ําทวมและการทองเท่ียว เชน สํานักชลประทานท่ี 6 ทายประตูระบายน้ํา บานโกทา กําลัง

ดําเนินการทดสอบการใชพลังงานน้ําจากทายประตูระบายน้ํานําไปผลิตกระแสไฟฟาขนาดเล็กมาใชในบริเวณหัว

งาน เปนตน

Page 67: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

59

บทท่ี 5

สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศ มีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุน

ไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศและเพ่ือนําขอมูลท่ีไดจากการวิจัยไปใชประกอบการวิเคราะหและวาง

แผนการพัฒนาบุคลากรของกรมในการขอรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

วิธีการดําเนินการวิจัยครั้งนี้ไดกําหนดกลุมตัวอยาง เปนบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศในระหวางปงบประมาณ พ.ศ.2549 – ป พ.ศ.2553

เครื่องมือท่ีใชในการเก็บขอมูล เปนแบบประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ี

ไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ โดยแบงแบบประเมินออกเปน 4 ตอน คือ

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของขาราชการท่ีไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ตอนท่ี 2 แบบประเมินผลการไดรับทุนไปตางประเทศ

ตอนท่ี 3 แบบประเมินผลการนําความรูมาใชในการทํางาน มีลักษณะเปนคําถามปลายเปด

ตอนท่ี 4 คํารับรองของผูบังคับบัญชา

การวิเคราะหขอมูลผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลของผูตอบแบบสอบถามปลายปดโดยการแจกแจงความถ่ีและการหาคารอยละ และวิเคราะหขอมูลในภาพรวมตามวัตถุประสงคการวิจัย เทียบเคียงเกณฑ

ประสิทธิผลความคุมคาการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน และเกณฑการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทาน การใชคาดัชนีวัดความประทับใจและยินดีแนะนําหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนของบุคลากรกรมชลประทานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score) สําหรับคําถาม

ปลายเปดผูวิจัยไดรวบรวมความคิดเห็นและขอเสนอแนะแลวนําเสนอผลการวิจัยในเชิงบรรยาย

สรุปผลการวิจัย

การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศ มีผลการศึกษาจําแนกตามแบบประเมินดังนี้

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของขาราชการท่ีไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศจํานวนและคารอยละของ

ผูตอบแบบประเมินจําแนกตามตัวแปรท่ีศึกษาผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบประเมินสวนใหญเปนเพศชาย คิดเปน

รอยละ 89.8 รองลงมาคือ เพศหญิง คิดเปนรอยละ 10.2 อายุของบุคลากรสวนใหญ คือ ชวงอายุ 41 – 45 ป คิด

เปนรอยละ 20.5 รองลงมาคือ ชวงอายุ 46 – 50 ป คิดเปนรอยละ 19.3 วุฒิการศึกษาของบุคลากรสวนใหญ คือ

วุฒิปริญญาโท และวุฒิปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 47.0 เทากัน อายุราชการของบุคลากรสวนใหญ คือ ชวงอายุ

ราชการ 21 – 30 ป คิดเปนรอยละ 43.4 รองลงมาคือ ชวงอายุราชการ 10 – 20 ป คิดเปนรอยละ 33.1 ตําแหนง

ของบุคลากรสวนใหญ คือ ตําแหนงนายชางชลประทาน คิดเปนรอยละ 45.2 รองลงมา คือ ตําแหนงวิศวกร

ชลประทาน คิดเปนรอยละ 23.5 ระดับของบุคลากรสวนใหญ คือ ระดับชํานาญงาน คิดเปนรอยละ 30.1

รองลงมาคือ ระดับชํานาญการ คิดเปนรอยละ 28.3 สํานัก/กองของบุคลากรท่ีไดรับทุนสวนใหญ คือ สํานักบริหาร

Page 68: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

60

โครงการ และสํานักชลประทานท่ี 11 คิดเปนรอยละ 6.5 รองลงมา คือ สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา และสํานัก

ชลประทานท่ี 12 คิดเปนรอยละ 5.7 ประเภทของทุนท่ีบุคลากรสวนใหญไดรับ คือ ฝกอบรม คิดเปนรอยละ 53.0

รองลงมา คือ ทุนดูงาน คิดเปนรอยละ 43.4 ประเภทปริญญาบัตรของบุคลากรท่ีเขารับการศึกษาตอสวนใหญ คือ

ปริญญาเอก คิดเปนรอยละ 62.5 และปริญญาโทนอยท่ีสุด คิดเปนรอยละ 37.5 ระยะเวลาท่ีบุคลากรสวนใหญไป

ศึกษา ฝกอบรมและดูงานสวนใหญ คือ นอยกวา 1 เดือน คิดเปนรอยละ 86.1 รองลงมา คือ 1 – 3 เดือน คิดเปน

รอยละ 8.4 แหลงเงินทุนท่ีบุคลากรสวนใหญไดรับ คือ เงินกองทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน คิดเปนรอยละ

56.6 รองลงมา คือแหลงเงินทุนอ่ืนๆ คิดเปนรอยละ 22.3 การเปลี่ยนแปลงของบุคลากร หลังจากท่ีไดรับทุนไป

ตางประเทศ สวนใหญ คือ ยังปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิม คิดเปนรอยละ 88.0 รองลงมาคือ ยายไปทํางาน

หนวยงานอ่ืน คิดเปนรอยละ 7.2 การยายไปทํางานหนวยงานอ่ืนของบุคลากร หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ

สวนใหญตรงกับความรู ความสามารถท่ีไดไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ คิดเปนรอยละ 83.33 และไม

ตรงกับความรู ความสามารถท่ีไดไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศคิดเปนรอยละ 16.67 บุคลากรท่ียัง

ปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเดิมหลังจากท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ สวนใหญมีลักษณะงานท่ี

สามารถนําความรูท่ีไดจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ มาใชในการทํางานได คิดเปนรอยละ

95.89 และมีลักษณะงานท่ีไมสามารถนําความรูท่ีไดจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ มาใชในการ

ทํางานได คิดเปนรอยละ 4.11

ตอนท่ี 2 เพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ โดยเทียบเคียงเกณฑประสิทธิผลความคุมคาการพัฒนาบุคลากรของกรม

ชลประทาน และเกณฑการประเมินระดับความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรมชลประทานในคูมือเกณฑ

การประเมินตามหลักเกณฑการประกันคุณภาพและการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการฝกอบรม (สวน

ฝกอบรม กรมชลประทาน, 2553) ในสวนท่ีเก่ียวของกับประสิทธิผลความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรของกรม

ชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศสรุปไดดังนี้

2.1 บุคลากรท่ีไดรับทุนสวนใหญเห็นวาประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานการ

สงเสริมการพัฒนาตนเอง เปนการเพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมีความสามารถในการปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่ง

โดยเฉพาะไดดีคิดเปนรอยละ 75.6 รองลงมาเปนการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานทําใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล คิดเปนรอยละ 73.8 และพบวาทุกตัวชี้วัดผานเกณฑเทียบเคียงประสิทธิผล

ความคุมคาดานการสงเสริมการพัฒนาตนเอง และมีความคุมคาในระดับปานกลาง

2.2 บุคลากรท่ีไดรับทุนสวนใหญเห็นวาประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานการ

สงเสริมการพัฒนางาน เปนการนําความรูท่ีไดมาประยุกตใชในการทํางาน คิดเปนรอยละ 75.8 รองลงมาเปนการ

เพ่ิมเครือขายในการประสานงาน คิดเปนรอยละ 75.2 และพบวาทุกตัวชี้วัดผานเกณฑเทียบเคียงประสิทธิผลความ

คุมคาดานการสงเสริมการพัฒนางาน และมีความคุมคาในระดับปานกลาง

2.3 บุคลากรท่ีไดรับทุนสวนใหญเห็นวาประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานในดานการ

สงเสริมการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรม เปนการเพ่ิมความพึงพอใจของผูรับบริการ คิดเปนรอยละ 72.3 รองลงมา

เปนการลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน คิดเปนรอยละ 70.3 และพบวา มีตัวชี้วัดผานเกณฑเทียบเคียงประสิทธิผล

Page 69: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

61

ความคุมคาดานการสงเสริมการพัฒนาองคกร 2 ตัวชี้วัด คือ การลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน และการเพ่ิมความพึง

พอใจของผูรับบริการ และมีตัวชี้วัดท่ีไมผานเกณฑเทียบเคียงประสิทธิผลความคุมคาดานการสงเสริมการพัฒนา

องคกร 2 ตัวชี้วัด คือ การลดตนทุน และการเพ่ิมผลผลิต โดยในภาพรวมการเทียบเคียงเกณฑประสิทธิผลความ

คุมคาของบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ หลังจากท่ีไดรับทุนไปตางประเทศ ในดาน

ของการสงเสริมการพัฒนาองคกรไมผานเกณฑ แตในการประเมินระดับความคุมคาตามเกณฑการติดตามผล

โครงการฝกอบรม พบวามีความคุมคาในระดับปานกลาง

2.4 ความพึงพอใจบุคลากรท่ีไดรับทุนสวนใหญไดเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน และ

หลักสูตรท่ีไดรับตรงกับความพึงพอใจท่ีบุคลากรคาดหวัง มากท่ีสุดคิดเปนรอยละ 78.9 เทากัน และการศึกษา

ฝกอบรมและดูงาน จะชวยเพ่ิมประสิทธิผล ใหกับหนวยงานนอยท่ีสุด คิดเปนรอยละ 76.2 โดยในภาพรวมความพึง

พอใจจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานของบุคลากร คิดเปนรอยละ 78.6 และทุกตัวชี้วัดผานเกณฑประเมิน

ประสิทธิผลความคุมคา อยูในเกณฑคุมคาในระดับปานกลาง

2.5 บุคลากรสวนใหญมีความพึงพอใจในหลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานท่ีไดรับ คิดเปน

รอยละ 78.8 รองลงมาบุคลากรเห็นวามีประโยชนในการพัฒนางาน คิดเปนรอยละ 72.5 และในภาพรวมเห็นวา

การเขารับการศึกษา ฝกอบรม และดูงานมีประสิทธิผลความคุมคา คิดเปนรอยละ 73.4 และมีความคุมคาในระดับ

ปานกลาง

ตอนท่ี 3 การเทียบเคียงเกณฑการวัดระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา/หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดู

งานใหผูอ่ืนของบุคลากรกรมชลประทานดวยการใชคะแนน NPS (Net Promoter Score)

3.1 การวัดระดับความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน

พบวา บุคลากรท่ีไดรับการศึกษา ฝกอบรมและดูงานมีความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม

และดูงานใหผูอ่ืน คิดเปนรอยละ 39.4 บุคลากรไมยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ใหผูอ่ืนคิดเปนรอยละ 15.7 และมีคาระดับความพึงพอใจและยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรม

และดูงานใหผูอ่ืน เทากับ 23.7

3.2 หลักสูตรการศึกษาตอท่ีบุคลากรมีความยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืน คือ - การศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชาเศรษฐศาสตร - การศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชาทรัพยากรและสิ่งแวดลอม - การศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชา Water Resources Engineering - การศึกษาตอปริญญาโท สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา หลักสูตรการฝกอบรมท่ีบุคลากรมีความยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืน คือ - ฝกอบรมหัวขอ Flood Hazard Mapping - การฝกอบรมภาษาอังกฤษสําหรับการใชในการปฏิบัติงาน (ILC) ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 รุนที่ 2 - การฝกอบรมหลักสูตร Integrated Water Resources Management ชวงท่ี 2, Education for Sustainable Development in a River Basin Context

Page 70: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

62

- ฝกอบรม Non-conventional Water Resources and Enviornmental Management in Water Scarce Countries ภายใต Japan-Dingapore Partnership Programme for the 21 th (JSPP21) - ฝกอบรม IATSS Forum รุนท่ี 40 - ฝกอบรมหลักสูตร Small Hydropower technology - ฝกอบรมในหัวขอเรื่อง Study on of Effect of Watershed Characteristics on Reservoir Sedimentation in Northeast and North Thailand - ฝกอบรมหลักสูตร Science and Technology Research Partnership for Sustainable Development - ฝกอบรมหลักสูตร Geo-tools for Water Resources Management with threes specializations - ฝกอบรมหลักสูตร Application of Space Technology for Disaster Management Support with Emphasis on Drought Monitoring, Desertification and Crop Yield Preduction ภายใต TCS of Colombo Plan - ฝกอบรมหลักสูตร Groundwater Exploration and Management of Water Resources - ฝกอบรมการใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับ (Decision Support Framework) ของ MRC หลักสูตรการดูงานท่ีบุคลากรมีความยินดีท่ีจะแนะนําใหผูอ่ืน คือ - ดูงานโครงการวางแผนและจัด ทํานโยบายโครงการและมาตรการบรรเทาอุทกภัยลุมน้ําเจาพระยา-ทาจีน - ดูงานดานการบริหารจัดการน้ําอยาง บูรณาการ - ดูงาน Principles and Applications of Remote Sensing and GIS for Various Applications - ดูงานโครงการระบายน้ํา Oyamatsu Toyanogata โครงการท่ีมีสวนรวม Kamedagou โครงการระบายน้ํา Shin kawa (ระบายน้ํา) โครงการอุโมงคน้ํา Shin-Shin Hisayama โครงการเข่ือนและระบบ Otsugawa - ดูงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสรางหนวยงานตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง - ประชุมและเปนวิทยากรเรื่อง Sabo (Erosion Control Engineering) Sediment Disaster Prevention, Land Conservation and Safety of Nations

ตอนท่ี 4 เพ่ือประเมินผลการนําความรูมาใชในการปฏิบัติงานหลังจากท่ีทานไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรม

และดูงานตางประเทศ โดยการรวบรวมความคิดเห็นจากคําถามปลายเปด

1. การอบรมหลักสูตร Flood Hazard Mapping ไดมีการจัดทําแผนท่ีน้ําทวมเพ่ือใชในการเตือน

ภัยน้ําทวมในเขตเทศบาลนครลําปาง ท่ีสามารถบอกรายละเอียดของขอบเขตพ้ืนท่ีน้ําทวมและความลึกของน้ําทวม

ใหกับประชาชนไดใชในการเตรียมตัวอพยพไดอยางเหมาะสม โดยไดรับงบประมาณในการดําเนินการในรูปของ

งบประมาณเพ่ือการวิจัยดําเนินการแลวเสร็จในป พ.ศ. 2551

Page 71: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

63

2. การฝกอบรมระหวางการผลิตและการทดสอบอุปกรณเครื่องสูบน้ําเพ่ือนํามาติดตั้งเครื่องสูบ

น้ําของโครงการระบายน้ําบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ เพ่ือสามารถสูบน้ําออกสูทะเลได ทําใหชาวบานไมไดรับ

ความเสียหายจากการเกิดน้ําทวม

3. การศึกษาดูงานโครงการระบายน้ําและโครงการอุโมงคน้ําประเทศญี่ปุน และไดมีการนํา

ความรูมาใชพัฒนาพ้ืนท่ีสาธารณะเปนพ้ืนท่ีรับน้ํานองโดยโครงการนํารองในพ้ืนท่ี อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา

โดยใชพ้ืนท่ีดังกลาวเปนพ้ืนท่ีรับน้ํานอง ในชวงฤดูน้ําหลาก เพ่ือชวยลดระดับน้ําทวมในพ้ืนท่ีภาคกลาง

4. การศึกษาดูงานหัวขอความปลอดภัยเข่ือน และไดนําความรูมาใชในการวางแผนเพ่ิมระดับ

Spillway เปนฝายพับเพ่ือใหสามารถเก็บกักน้ําไดมากข้ึนของอางเก็บน้ําพระปรง

5. การฝกอบรมหลักสูตร Training Irrigation Engineer และไดนําความรูมาใชในงานกอสราง

ระบบชลประทาน งานสูบน้ําข้ึนภูเขาหรือโครงการซูบัคซิซเต็มท และไดเริ่มงานกอสรางอางเก็บน้ําคลองระโอก

อ.แกลง จ.ระยอง

6. การฝกอบรมหลักสูตร Irrigation Water Resources in Arid & Semi-Arid Region and

E.I.A. for Sustainable Development II และไดนําความรูมาใชทําแบบจําลองระบบคาดการณและพยากรณน้ํา

ในลุมน้ําเจาพระยา-ทาจีน รวมกับ AIT

7. โครงการฝกอบรมนักวิชาการรุนเยาวจากประเทศภาคีสมาชิก (Junior Riparian Profession

Project: JRP) รุนท่ี 4 ไดมีการนําความรูมาใชในการสรางผลงานตนแบบโครงงาน การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการ

ใชประโยชนท่ีดิน เสนอตอสํานักเลขาธิการคณะกรรมการแมน้ําโขง และเขารวมทํางานตรวจสอบพ้ืนท่ีชลประทาน

โดยใช ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร หรือ Geographic Information System (GIS)

8. หลักสูตรฝกอบรมชั้นสูงเก่ียวกับ RS/GIS โดยใดทําผลงานวิจัยเก่ียวกับการใชขอมูลภาพถาย

จากดาวเทียมศึกษาเรื่องน้ําทวมและน้ําเสีย เพ่ือใชในการพัฒนาแหลงน้ําและบริหารจัดการน้ํา

9. หลักสูตรการกําจัดขยะและบําบัดน้ําเสียชุมชน ไดมีการนําความรูมาใชศึกษาวิจัยและพัฒนา

สิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ และชุมชนตาง ๆ ในจังหวัดเพชรบุรี

10. ฝกอบรมหลักสูตร Small Hydropower Development ไดมีการนําความรูมาใชในการ

พัฒนาไฟฟาพลังน้ําจากเข่ือนขนาดกลาง และขนาดเล็กในประเทศไทย ซ่ึงอยูระหวางการศึกษาและพัฒนา

โครงการขนาดกลางในความรับผิดชอบของสํานักชลประทานท่ี 14

11. ฝกอบรมหลักสูตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารการจัดการน้ําของโครงการจาก

ยุทธศาสตรสูการปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน ไดแนวคิดในการทําอางเก็บน้ําอเนกประสงค

ท่ีไมเพียงแคการเพาะปลูกแตขยายผลไปถึง การผลิตกระแสไฟฟา ผลิตน้ําประปา เพ่ือการอุตสาหกรรม ปองกันน้ํา

ทวมและการทองเท่ียว เชน สาํนักชลประทานท่ี 6 ทายประตูระบายน้ํา บานโกทา กําลังดําเนินการทดสอบการใช

พลังงานน้ําจากทายประตูระบายน้ํานําไปผลิตกระแสไฟฟาขนาดเล็กมาใชในบริเวณหัวงาน เปนตน

อภิปรายผล

1. จากขอมูลการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ พบวามีความคุมคาในดานการสงเสริมการพัฒนาตนเอง การเพ่ิมพูนความรูเพ่ือให

Page 72: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

64

มีความสามารถในการปฏิบัติงานไดดี การเพ่ิมพูนทักษะ ความชํานาญหรือทักษะในการทํางาน เปลี่ยนแปลง

ทัศนคติซ่ึงเปนพ้ืนฐานท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล ชวยพัฒนาบุคลากรใหมีคุณภาพ ทําให

บุคลากรสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพ และชวยใหการดําเนินงานขององคกรเปนไปตามเปาหมาย

ท่ีตั้งไว ชวยใหบุคลากรมีทัศนคติท่ีดีตองาน องคกร และเพ่ือนรวมงาน กระบวนการฝกอบรมจะชวยใหบุคลากร

เกิดความรูความเขาใจท่ีถูกตองเก่ียวกับงานท่ีทํา ชวยใหเกิดความรักสามัคคีในหนวยงาน ชวยลดความเครียดใน

การทํางาน ทําใหบุคลากรมีสุขภาพจิตท่ีดี ( อางอิงขอมูลมาจาก http://pirun.ku.ac.th ) มีความคุมคาในดานการ

สงเสริมการพัฒนางาน ลดปญหาและแกไขงานท่ีผิดพลาด มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือนรวมงาน เพ่ิมเครือขาย

ในการทํางาน ชวยเสริมสรางความสัมพันธและความสามัคคีกลมเกลียวกันในการทํางานชวยในการติดตอ

ประสานงานและใหความรวมมือซ่ึงกันและกันระหวางบุคลากรในหนวยงานเดียวกัน ชวยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ของบุคลากรในหนวยงาน ชวยกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงองคกร รวมถึงสภาพแวดลอมตาง ๆ ในหนวยงานใหทัน

ตอสภาพการณในปจจุบัน (อางอิงขอมูลจาก เว็บไซต http://webhost.cpd.go.th) และบุคลากรมีความพึงพอใจ

ตรงกับความคาดหวังและไดเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน แตกลับไมมีความคุมคาในประโยชนดานของ

การสงเสริมการพัฒนาองคกรท่ีเปนรูปธรรม เนื่องจากบุคลากรท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานสวนใหญไม

มีการสรางนวัตกรรมใหม ๆ ท่ีเปนรูปธรรมมาพัฒนาองคกร เนื่องจากหลายองคประกอบของปญหาในตางประเทศ

และประเทศไทยมีปจจัยท่ีแตกตางกันในการใชงานใหเปนไปตามวัตถุประสงค ดังนั้นจึงไมสามารถสรางผลงานท่ี

เปนรูปธรรมได แตสามารถนําเทคนิคและวิธีการมาดัดแปลงไดบางจุด ซ่ึงถามีการนํานวัตกรรมมาใชจะชวยใหการ

ทํางานนั้นไดผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกวาเดิม ท้ังยังชวยประหยัดเวลาและแรงงานได ชวยใหเรียนรู

สิ่งใหม ๆ ไดมากข้ึนโดยใชเวลานอยลง เนื่องจากวิทยากรสวนใหญเปนผูท่ีมีความรูความชํานาญเปนอยางดีในเรื่อง

ท่ีใหการฝกอบรม จากขอมูลการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรกรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ พบวาบุคลากรท่ีไดรับทุนไดรับการเลื่อนตําแหนง คิดเปนรอยละ 4.5 ซ่ึงองคกร

ควรมีการยกยองชมเชย การใหรางวัลและสิ่งจูงใจ เพ่ือสนับสนุนใหบุคลากรมีขวัญกําลังใจ มีการทํางานอยางมี

ประสิทธิผล มีจิตสํานึกในการทํางานท่ีมุงเนนผลประโยชนและความตองการของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

(การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานและระบบการยกยองชมเชยจูงใจ) (อางอิงจาก การพัฒนาคุณภาพการ

บริหารจัดการภาครัฐ โดย รศ.ดร. ธีรพงศ แกนอินทร)

2. จากขอมูลการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

พบวา มีความคุมคาในประโยชนดานการนําความรูมาพัฒนาตนเอง ดานการเพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมีความสามารถ

ในการปฏิบัติงาน การเพ่ิมพูนทักษะในการทํางาน ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของกองแกว กระษาปณการ (2545

: บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการพัฒนาตนเองของขาราชการพลเรือนสามัญ สังกัด

สํานักงานประถมศึกษาจังหวัดเลย ผลการวิจัยพบวา กิจกรรมท่ีบุคลากรปฏิบัติหลังจากท่ีไดเขารับการศึกษา

ฝกอบรม และดูงานคือ การปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานหลังจากท่ีไดเขารับการอบรม การนําความรูท่ีไดรับมา

ประยุกตใชในการทํางาน เปลี่ยนแปลงทัศนคติซ่ึงเปนพ้ืนฐานท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล

ชวยพัฒนาบุคลากรใหมีคุณภาพ ทําใหบุคลากรสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพ และชวยใหการ

ดําเนินงานขององคกรเปนไปตามเปาหมายท่ีตั้งไว ชวยใหบุคลากรมีทัศนคติท่ีดีตองาน องคกร และเพ่ือน

รวมงาน กระบวนการฝกอบรมจะชวยใหบุคลากรเกิดความรูความเขาใจท่ีถูกตองเก่ียวกับงานท่ีทํา ชวยใหเกิด

Page 73: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

65

ความรักสามัคคีในหนวยงาน ชวยลดความเครียดในการทํางาน ทําใหบุคลากรมีสุขภาพจิตท่ีดี ( อางอิงขอมูลมา

จาก http://pirun.ku.ac.th ) และสอดคลองกับงานวิจัยของสุเมธ งามกนก ไดทําการวิจัยหลักสูตรฝกอบรมเพ่ิม

อํานาจในการทํางานเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของเจาหนาท่ีวิเคราะหนโยบายและแผน กระทรวงศึกษาธิการ

ผลการวิจัยพบวา การฝกอบรมสามารถพัฒนาสมรรถนะดานความรู ดานทักษะในการปฏิบัติงาน และดาน

บุคลิกลักษณะในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีวิเคราะหนโยบายและแผนไดจริง

3. จากขอมูลการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

พบวา มีความคุมคาในประโยชนดานการสงเสริมการพัฒนางาน ลดปญหาและแกไขงานท่ีผิดพลาด มีการถายทอด

ความรูใหกับเพ่ือนรวมงาน เพ่ิมเครือขายในการทํางาน ชวยเสริมสรางความสัมพันธและความสามัคคีกลมเกลียว

กันในการทํางานชวยในการติดตอประสานงานและใหความรวมมือซ่ึงกันและกันระหวางบุคลากรในหนวยงานเดียว

กัน ชวยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรในหนวยงาน ชวยกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงองคกร รวมถึงสภาพแวด

ลอมตางๆในหนวยงานใหทันตอสภาพการณในปจจุบัน (อางอิงขอมูลจาก เว็บไซต http://webhost.cpd.go.th)

4. จากขอมูลการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

พบวา ไมมีความคุมคาในดานการนําความรูท่ีไดรับจากการศึกษา ฝกอบรม และดูงานไปใชในการพัฒนาองคกร ซ่ึง

จากรวบรวมความคิดเห็นจากแบบประเมินประสิทธิผลความคุมคา ความไมคุมคาท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากบุคลากรท่ี

ไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานสวนใหญไมมีการสรางผลงานท่ีเปนรูปธรรม หรือนําเทคโนโลยีสารสนเทศ

นวัตกรรมใหม ๆ ท่ีเปนรูปธรรมมาพัฒนาองคกร ไดแตเพียงนําเทคนิคและวิธีการมาดัดแปลงไดเพียงบางจุด ซ่ึง

สอดคลองกับบทความของภมรพรรณ วงศเงิน (เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประยุกตใชในภาครัฐ) ท่ีกลาวไววา

เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถเพ่ิมศักยภาพในการผลิตไมวาจะในภาครัฐหรือเอกชน นั่นคือการผลิตสินคาหรือ

บริการในปริมาณเทากัน แตจะใชแรงงานและตนทุนนอยลง ดังนั้นจะเห็นไดวาเทคโนโลยีสารสนเทศเปนอีกหนึ่ง

เครื่องมือท่ีผูนําในองคกรของรัฐควรท่ีจะตระหนักและเขาใจถึงการประยุกตใช อีกท้ังเล็งเห็นคุณประโยชนและ

ความคุมคาอยางแทจริงในการใชและพัฒนาระบบการทํางานท่ีประยุกตมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ความมี

วิสัยทัศนของผูนําจึงเปนปจจัยท่ีกําหนดความสําเร็จหรือความลมเหลวของการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช

ประโยชน ผูนําหรือผูบริหารสามารถทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะกาวกระโดดหรือการเปลี่ยนแปลงทาง

นวัตกรรมได ถาผูนํามุงมองไปท่ีศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศชนิดตางๆ กอนวา สามารถกระทําอะไรได

บางท่ีในอดีตไมเคยไดทํา แลวจึงออกแบบและสรางสรรคกระบวนการทํางานใหมในองคกรใหสามารถใชประโยชน

จากเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางเต็มศักยภาพ และจากขอมูลการประเมินประสิทธิผลความคุมคาของบุคลากร

กรมชลประทานท่ีไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ พบวาบุคลากรท่ีไดรับทุนไดรับการเลื่อน

ตําแหนง คิดเปนรอยละ 4.5 ซ่ึงองคกรควรมีการยกยองชมเชย การใหรางวัลและสิ่งจูงใจ เพ่ือสนับสนุนใหบุคลากร

มีขวัญกําลังใจ มีการทํางานอยางมีประสิทธิผล มีจิตสํานึกในการทํางานท่ีมุงเนนผลประโยชนและความตองการ

ของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย (การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานและระบบการยกยองชมเชยจูงใจ)

(อางอิงจาก การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดย รศ.ดร. ธีรพงศ แกนอินทร) และสอดคลองกับ

บทความของ สํานักบริการขอมูลและสารสนเทศ กลาววา สิ่งจูงใจเปนองคประกอบท่ีสําคัญในการปฏิบัติงานให

บรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย ท่ีกําหนดไว การท่ีบุคคลในองคกรเกิดความรูสึกพึงพอใจในงานมากหรือนอยก็ข้ึน อยู

กับองคประกอบของสิ่งจูงใจตาง ๆ ท่ีผูบริหารงานในองคกรจะนํามาใช ถาผูบริหาร ในองคกรสามารถนําสิ่งจูงใจมา

Page 74: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

66

ใชกับบุคลากรแลวตรงกับความตองการของเขา บุคลากร นั้นยอมเกิดความพึงพอใจในงานมาก การปฏิบัติงาน

ยอมเกิดประสิทธิภาพสูงข้ึน ดังนั้น สิ่งจูงใจท่ีกอใหเกิดความพอใจในการทํางานจึงเปนสิ่งจําเปนอยางหนึ่งของ

ผูบริหาร

5. จากขอมูลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน พบวา

บุคลากรมีความพึงพอใจเก่ียวกับความรูท่ีไดรับตรงกับความคาดหวัง มีความประทับใจและยินดีท่ีจะแนะนํา

หลักสูตรท่ีไดเรียนรูมาใหกับผูอ่ืน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2540:18) ไดกลาวถึงความคาดหวังของ

ผูรับบริการวา เม่ือผูรับบริการมาติดตอกับองคกรหรือธุรกิจบริการใดๆ ก็มักจะคาดหวังวาจะไดรับการบริการอยาง

ใดอยางหนึ่ง ซ่ึงผูใหบริการจําเปนท่ีจะตองรับรูและเรียนรูเก่ียวกับความคาดหวังพ้ืนฐาน และรูจักสํารวจความ

คาดหวังเฉพาะของผูรับบริการ เพ่ือสนองบริการท่ีตรงกับ ความคาดหวัง ซ่ึงจะทําใหผูรับบริการเกิดความพึงพอใจ

หรืออาจเกิดความประทับใจข้ึนได วิรุฬ พรรณเทวี (2542, หนา 111) กลาววา ความพึงพอใจข้ึนอยูกับแตละ

บุคคลวาจะคาดหวังกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางไร ถาคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและไดรับการตอบสนองดวยดีจะมี

ความพึงพอใจมาก แตในทางตรงกันขามอาจผิดหวังหรือไมพึงพอใจเปนอยางยิ่งเม่ือไมไดรับการตอบสนองตามท่ี

คาดหวังไวท้ังนี้ข้ึนอยูกับสิ่งท่ีตนตั้งใจไววามีมากหรือนอย และบุคลากรท่ีไดรับการศึกษา ฝกอบรมและดูงานมี

ความยินดีแนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน คิดเปนรอยละ 39.4 บุคลากรไมยินดี

แนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืนคิดเปนรอยละ 15.7 และมีคาระดับความยินดี

แนะนําสาขาวิชา / หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน เทากับ 23.7 ซ่ึง คา Net Promoter Score คือ

คะแนนการบอกตอสุทธิ คา Net Promoter Score นี้ ยังใชไดท้ังองคกรท่ีมีขนาดใหญและขนาดเล็ก และใชไดใน

หลาย ๆ องคกร เพ่ือนํามาเปนเครื่องมือในการสงเสริมกระบวนการดําเนินงานเพ่ือยกระดับการพัฒนาระบบ

(อางอิงจาก Book Reviews ของ ดร.วุฒิ สุขเจริญ) เพ่ือนํามาพัฒนาระบบการดําเนินงานดานการใหบริการแก

บุคลากรท่ีไดรับทุนการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศเพ่ือใหบุคลากรมีความยินดีแนะนําสาขาวิชา /

หลักสูตรการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใหผูอ่ืน

ขอเสนอแนะ

จากผลการวิจัยพบวาขอเสนอแนะจากการวิจัย คือ

1. องคกรควรกําหนดเปาหมายหลักหรือผลงานท่ีคาดหวังจากพนักงานหลังการฝกอบรม และควรสงเสริม

ใหมีการนําความรูและทักษะใหมๆ ท่ีไดจากการศึกษาและฝกอบรมมาใชในการปฏิบัติงานอยางเปนรูปธรรม

2. ผูบริหารจําเปนตองมีกลยุทธท่ีดีในการสรางนวัตกรรมใหเกิดในองคกรและเปนท่ียอมรับของบุคลากร

อันจะนําไปสูการสรางความไดเปรียบในการแขงขันและยิ่งกวานั้นก็จะสงผลทําใหประเทศชาติมีขีดความสามารถ

ทางการแขงขันกับประเทศอ่ืน ๆ ไดตอไป

3. ผูบังคับบัญชาควรสนับสนุนใหบุคลากรทุกระดับมีโอกาสในการศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ทุก ๆป เพ่ือเสริมสรางวิสัยทัศน และเปดโลกทัศนในการทํางาน และสามารถติดตามความกาวหนาไดทันโลกทัน

เหตุการณ ไมควรมีมุมมองวาสิ้นเปลืองงบประมาณเพียงดานเดียว

Page 75: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

67

4. การศึกษา ฝกอบรม และดูงานควรมีความสอดคลองตรงกับวัตถุประสงคความจําเปนในการนํามาใช

งาน และควรมีการกําหนดวัตถุประสงค/ประเด็นในการดูงานใหชัดเจน เพ่ือนําความรูมาใชประโยชนไดอยางเต็มท่ี

เกิดการพัฒนางานท่ีเปนรูปธรรม

5. การศึกษาดูงานควรเนนท่ีผูปฏิบัติงานโดยตรงเพ่ือนําความรูท่ีไดรับมาพัฒนาองคกรไดอยางเต็มท่ี

6. ควรมีการวัดและประเมินผล ความคุมคาของการพัฒนาบุคลากรโดยการศึกษา ฝกอบรม และดูงาน

ตางประเทศอยางตอเนื่องเปนประจําทุกปเพ่ือนําขอมูลมาใชในการพัฒนาองคกร

Page 76: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

68

เอกสารอางอิง

กองแกว กระษาปณการ. (2545). ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการพัฒนาตนเองของขาราชการพลเรือนสามัญ

สังกัดสํานักงานประถมศึกษาจังหวัดเลย วิทยานิพนธศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตรเพ่ือ

การพัฒนา สถาบันราชภัฎเลย

ชัชฎา แกวเปย. (2552) ทัศนะของบุคลากรสํานักงานประกันสังคมท่ีไดรับทุนศึกษาเพ่ิมเติมตอการนําความรูมา

ปรับใชในการปฏิบัติงาน วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบาย

สวัสดิการสังคม ภาควิชาสังคมสงเคราะหศาสตร คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อนงคทิพย เอกแสงศรี. (2531) การประเมินโครงการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยรามคําแหง : ศึกษาเฉพาะ

การใหทุนการศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ภรณี (กีรติบุตร) มหานนท. (2529). การประเมินประสิทธิผลขององคกร. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2537). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สวนฝกอบรม.2553.คูมือการปฏิบัติงานดานการฝกอบรมตามหลักเกณฑการประกันคุณภาพและการประเมิน

ประสิทธิผลความคุมคาของการฝกอบรม สํานักบริหารโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล

กรมชลประทาน

ปยาภรณ อาสาทรงธรรม (2552). การลดตนทุนเพ่ือความย่ังยืนทางธุรกิจ. กรุงเทพ : วารสารนักบริหาร

วีระยุทธ ชาตะกาญจน การบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://isc.ru.ac.th/data/ED0003477.doc (วันท่ีคนขอมูล 2 กันยายน 2554)

ธีรพงศ แกนอินทร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://qa.pn.psu.ac.th/PMQA160353.doc (วันท่ีคนขอมูล 5 กันยายน 2554)

ภมรพรรณ วงศเงิน เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประยุกตใชในภาครัฐ [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://www.nakhonnayok.go.th/ppisnayok/km4.doc (วันท่ีคนขอมูล 5 กันยายน 2554)

วิรุฬ พรรณเทวี แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php (วันท่ีคนขอมูล 5 กันยายน 2554)

วีระพันธ แกวรัตน การฝกอบรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://www.yonok.ac.th/person/file (วันท่ีคนขอมูล 7 กันยายน 2554)

พสุ เดชะรินทร แนวคิดการบริหาร : สุดยอดตัวช้ีวัดทางดานลูกคา [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=49929

(วันท่ีคนขอมูล 22 พฤศจิกายน 2554)

Page 77: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

69

เอกสารอางอิง (ตอ)

พิสิทธิ์ พิพัฒนโภคากุล NPS (Net Promoter Score) ระดับการเปนผูสนับสนุนองคกร

[ออนไลน] เขาถึงไดจาก: http://www.impressionconsult.com/th/index.php/relax/39-

article/82-net-promoter-score.html (วันท่ีคนขอมูล 22 พฤศจิกายน 2554)

วุฒิ สุขเจริญ Book Reviews by ดร. วุฒิ สุขเจริญ [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://siamkm.com/BookReviews/UltimateQuestion/UltimateQuestion.html

(วันท่ีคนขอมูล 22 พฤศจิกายน 2554)

เทคนิคประเมินผลการฝกอบรม. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก: http://www.hrtothai.com/index.php

(วันท่ีคนขอมูล 7 กันยายน 2554)

การประเมินผลการฝกอบรม. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://www.tu.ac.th/org/ofrector/person/train/handbook /assess.html

(วันท่ีคนขอมูล 7 กันยายน 2554)

ศูนยนวัตกรรมการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน การบริหารจัดการภาครัฐ [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://www.ppmic.ru.ac.th index.php (วันท่ีคนขอมูล 7 กันยายน 2554)

ทฤษฎีและแนวคิดเก่ียวกับความคาดหวัง [ออนไลน] เขาถึงไดจาก:

http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Expectancy_Theory.htm

(วันท่ีคนขอมูล 7 กันยายน 2554)

Philips J.J.and Schmidt L.2003.Implementing Training Scorecards, ASTD Publication.

Page 78: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

แบบประเมินประสิทธิผลความคุมคาของผูไดรบัทุนไปศกึษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

คําช้ีแจง

1. แบบประเมินนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินประสิทธิผลความคุมคาของผูไดรับทุนไปศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

ตางประเทศจึงขอความรวมมือใหทานตอบแบบสอบถามตามประเด็นคําถามขางทายนี้

2. แบบสอบถามแบงออกเปน 4 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของขาราชการที่ไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ตอนที่ 2 แบบประเมินผลการไดรับทุนไปตางประเทศ

ตอนที่ 3 แบบประเมินผลการนําความรูมาใชในการทํางาน

ตอนที่ 4 คํารับรองของผูบังคับบัญชา

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของขาราชการท่ีไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

คําช้ีแจง กรุณาทําเครื่องหมาย √ ลงใน ที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุดหรือเติมขอความลงในชองวาง

1. เพศ ชาย หญิง

2. อายุ ต่ํากวา 35 ป 36 – 40 ป 41 – 45 ป

46 – 50 ป 51 – 55 ป มากกวา 55 ป

3. วุฒิการศึกษา ปริญญาตร ี ปริญญาโท ปริญญาเอก

4. อายุราชการ นอยกวา 10 ป 10 – 20 ป 21 – 30 ป มากกวา 30 ป

5. ช่ือตําแหนงในสายงานปจจุบนั……………………………………………………ระดับ……………………………..…...

สํานัก / กอง…………………………………………………………………………………………………………………

6. ในขณะที่ทานไดรับทุนไปตางประเทศทานดํารงตําแหนงในสายงาน…………………………………………….………..

ระดับ………………………………… สํานัก / กอง…………………………………………….……………………..…..

7. ประเภทของทุนที่ทานไดรบั

ศึกษา ปริญญาโท สาขาวิชา………………………….…………ประเทศ……………………

ปริญญาเอก สาขาวิชา………………………….…………ประเทศ……………………

ฝกอบรม หลักสูตร 1……………………………………………………….ประเทศ……………………

2……………………………………………………….ประเทศ……………………

3……………………………………………………….ประเทศ……………………

ดูงาน หัวขอ 1……………………………………………………….ประเทศ……………………

2……………………………………………………….ประเทศ……………………

3……………………………………………………….ประเทศ…………..………..

Page 79: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

-2-

8. ระยะเวลาที่ทานไดรับทุน

นอยกวา 1 เดือน...................วัน 1 – 3 เดือน 4 – 6 เดือน 7 – 12 เดือน

13 – 24 เดือน 25 – 36 เดือน 37 – 48 เดือน มากกวา 48 เดือน

9. ประเภทของแหลงเงินทนุทีท่านไดรับ

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร เงินกองทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน สํานักงาน ก.พ.

รัฐบาลตางประเทศ อ่ืนๆ (โปรดระบุช่ือแหลงเงินทุน)....................................................................

10. หลังจากที่ไดรบัทุนไปตางประเทศแลวทานมีการเปล่ียนแปลงการปฏิบัตหินาที่อยางไร

ยายไปทํางานหนวยงานอ่ืน

ตรงกับความรู ความสามารถที่ไดไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ไมตรงกับความรู ความสามารถที่ไดไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

ไดรับการเล่ือนตําแหนงทีสู่งขึ้น ภายใน........................ป

ยังปฏิบัตหินาที่ในตําแหนงเดิม

ซ่ึงมีลักษณะงานที่สามารถนําความรูที่ไดจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ มาใช

ในการทํางานได

ซ่ึงมีลักษณะงานที่ไมสามารถนําความรูที่ไดจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ มา

ใชในการทํางานได

Page 80: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

-3-

ตอนท่ี 2 แบบประเมินประสิทธิผลการไดรบัทุนไปตางประเทศ

*โปรดใหคะแนน 0 ถงึ 10 ตามความเห็นของทานโดยยึดเกณฑการใหคะแนนตามสเกลที่กําหนดใหดานลาง

. 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

หมายเหตุ เอกสารนี้สามารถทําสําเนาเพ่ิมเติมไดตามความตองการ

ช่ือหลักสูตร

ประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดู

งานในแงของการสงเสริมการพัฒนา

ตนเอง

(โปรดใหคะแนน 0 ถึง 10 ตามความเห็น

ของทาน)

ประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใน

แงของการสงเสริมการพัฒนางาน

(โปรดใหคะแนน 0 ถึง 10 ตามความเห็นของ

ทาน)

ประสิทธิผลจากการประยุกตใชความรูที่ไดรับ

จากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานไปใชในการ

พัฒนาองคกรที่เปนรูปธรรม

(โปรดใหคะแนน 0 ถึง 10 ตามความเห็นของ

ทาน)

*ความพึงพอใจจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

(โปรดใหคะแนน 0 ถึง 10 ตามความเห็นของทาน)

1…………………..

……………………

……………………

……………………

……………………

……………………

……………………

................1. เพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมี

ความสามารถในการปฏิบัติงานอยางใด

อยางหนึ่งโดยเฉพาะไดดี

................2. เพ่ิมพูนทักษะ ความชํานาญ

หรือทักษะในการทํางาน

................3. เปล่ียนแปลงทัศนคติ ซึ่ง

เปนพ้ืนฐานทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง

พฤติกรรมของบุคคล

................1. ปรับเปล่ียนบทบาทของตนเองให

เปนผูนําที่ดีของทีมงาน

................2. ลดปญหาและแกไขงานที่ผิดพลาด

................3. มีการนําความรูที่ไดมาประยุกตใช

ในการทํางาน

................4. สงเสริมภาวะผูนําของทีมงานที่เกง

งาน เกงคนและเกงคิด

................5. มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือน

รวมงาน

................ 6. เพ่ิมเครอืขายในการประสานงาน

................1. การลดตนทุน

................2. การลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน

................3. การเพ่ิมผลผลิต

................4. การเพ่ิมความพึงพอใจของ

ผูรับบริการ

................ 1. จากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน สาขา / หลักสูตรนี้ตรงกับความ

พึงพอใจที่ทานคาดหวังมากนอยเพียงใด

................ 2. ทานไดเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน สาขา / หลักสูตรนี้

มากนอยเพียงใด

................ 3. การศึกษา ฝกอบรมและดูงาน สาขา / หลักสูตรนี้จะชวยเพ่ิม

ประสิทธิผล ใหกับหนวยงานของทานไดมากนอยเพียงใด

................ 4. ทานประทับใจและยินดีแนะนําการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

สาขาวิชา / หลักสูตรนี้ใหผูอ่ืนมากนอยเพียงใด

Page 81: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

-4-

*โปรดใหคะแนน 0 ถงึ 10 ตามความเห็นของทานโดยยึดเกณฑการใหคะแนนตามสเกลที่กําหนดใหดานลาง

. 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

หมายเหตุ เอกสารนี้สามารถทําสําเนาเพ่ิมเติมไดตามความตองการ

ช่ือหลักสูตร

ประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดู

งานในแงของการสงเสริมการพัฒนา

ตนเอง

(ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ประโยชนจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานใน

แงของการสงเสริมการพัฒนางาน

(ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ประสิทธิผลจากการประยุกตใชความรูที่ไดรับ

จากการศึกษา ฝกอบรมและดูงานไปใชในการ

พัฒนาองคกรที่เปนรูปธรรม

(ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

*ความพึงพอใจจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

(โปรดใหคะแนน 0 ถึง 10 ตามความเห็นของทาน)

2…………………..

……………………

……………………

……………………

……………………

……………………

……………………

................1. เพ่ิมพูนความรู เพ่ือใหมี

ความสามารถในการปฏิบัติงานอยางใด

อยางหนึ่งโดยเฉพาะไดดี

................2. เพ่ิมพูนทักษะ ความชํานาญ

หรือทักษะในการทํางาน

................3. เปล่ียนแปลงทัศนคติ ซึ่ง

เปนพ้ืนฐานทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง

พฤติกรรมของบุคคล

................1. ปรับเปล่ียนบทบาทของตนเองให

เปนผูนําที่ดีของทีมงาน

................2. ลดปญหาและแกไขงานที่ผิดพลาด

................3. มีการนําความรูที่ไดมาประยุกตใช

ในการทํางาน

................4. สงเสริมภาวะผูนําของทีมงานที่เกง

งาน เกงคนและเกงคิด

................5. มีการถายทอดความรูใหกับเพ่ือน

รวมงาน

................ 6. เพ่ิมเครือขายในการประสานงาน

................1. การลดตนทุน

................2. การลดระยะเวลาการปฏิบัติงาน

................3. การเพ่ิมผลผลิต

................4. การเพ่ิมความพึงพอใจของ

ผูรับบริการ

................ 1. จากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน สาขา / หลักสูตรนี้ตรงกับความ

พึงพอใจที่ทานคาดหวังมากนอยเพียงใด

................ 2. ทานไดเรียนรูจากการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน สาขา / หลักสูตรนี้

มากนอยเพียงใด

................ 3. การศึกษา ฝกอบรมและดูงาน สาขา / หลักสูตรนี้จะชวยเพ่ิม

ประสิทธิผล ใหกับหนวยงานของทานไดมากนอยเพียงใด

................ 4. ทานประทับใจและยินดีแนะนําการศึกษา ฝกอบรมและดูงาน

สาขาวิชา / หลักสูตรนี้ใหผูอ่ืนมากนอยเพียงใด

Page 82: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

-5-

ตอนท่ี 3 แบบประเมินผลการนําความรูมาใชในการทํางาน

คําช้ีแจง คําถามตอไปนีเ้ปนคําถามเพ่ือประเมินผลการนําความรูมาใชในการปฏบิัติงานหลังจากที่ทานไดรับทุนไปศึกษา

ฝกอบรมและดงูานตางประเทศ

3.1 ทานไดรายงานผลการศึกษา ฝกอบรมและดงูานตางประเทศ ตอผูบังคับบัญชาของทานหรือไม อยางไร

..........................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................ ..............

..........................................................................................................................................................................................................

3.2 ผลงานที่ทานไดรายงานวาจะนําความรูที่ไดรบัจากการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานมาใชประโยชนคือผลงานเรื่องใด

..........................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................ ..............

..........................................................................................................................................................................................................

3.3 ทานไดสรางผลงานดังกลาวอยางเปนรปูธรรมหรือไม อยางไร

..........................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................

3.4 ผลของการนําผลงานไปใชเปนอยางไร และมีประโยชนอยางไร

..........................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................ ..............

.................................................................................................................................................................................................... ......

3.5 ทานคิดวาผลงานของทานควรมีการพัฒนา / ขยายผลตอหรือไม อยางไร

..........................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................ ..............

..........................................................................................................................................................................................................

3.6 ขอเสนอแนะเพ่ิมเติมเก่ียวกับการไปศึกษา ฝกอบรมและดูงานตางประเทศ

..........................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................ ..............

.............................................................................................................................................................. ............................................

Page 83: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

-6-

ตอนท่ี 4 คํารับรองของผูบังคับบญัชา (ผูบังคับบญัชาระดับเหนือขึน้ไป)

ขอรับรองวารายละเอียดที่กลาวมาแลวเปนความจรงิ

ลงช่ือ.............................................................................

(.............................................................)

ตําแหนง........................................................................

วันที่..............................................................................

Page 84: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายวรพงษ ยังวนิชเศรษฐ วิศวกรโยธาชํานาญการ

สํานักออกแบบวิศวกรรมและ

สถาปตยกรรม กลุมออกแบบระบบ

ชลประทาน

ไปตรวจและทําการ Witnessed Testing เครื่องสูบ

น้ําที่โรงงานผูผลิต Ebara Hai Doung Co.,Ltd.

สาธารณรัฐสังคม

นิยมเวียดนาม

นายโฆสิต ลอศิริรัตน ผชช. ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยากลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Workshop on River

Basin Dynamics in the Humid Tropicสาธรณรัฐสิงคโปร

นายสมศักดิ์ วิวิธเกยูรวาศ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กลุม

งานบํารุงรักษาหัวงาน สวนปรับปรุง

รักษา

การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Rapid Appraisal

Procedure (RAP-Workshop) ภายใตโครงการ

ปรับปรุงประสิทธิภาพการชลประทานในแปลงนาขาว

สาธิต (Improvement of Irrigation Efficiency on

Paddy Fields in the Lower Mekong Basin

Project : IIEPE)

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายวิวัฒน มณีอินทร วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

สํานักชลประทานที่ 3 โครงการสงน้ํา

และบํารุงรักษาเขื่อนแควนอยบํารุง

แดน

การฝกอบรมหลักสูตร International Course on

Irrigation System Managementมาเลเซีย

นายธีระชัย ชนเห็นชอบ ผชช.ดานวิศวกรรมโยธา (ดานวางแผน)กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานวางแผนและโครงการ

ดูงานและหารือรายละเอียดเกี่ยวกับการประยุกตใช

โปรแกรม Sobek ตามโครงการปรับปรุงระบบปองกัน

น้ําเค็ม จังหวัดสมุทรสาครและสมุทรสงคราม

ราชอาณาจักร

เนเธอรแลด

นายชุมลาภ เตชะเสน วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุมงาน

วางโครงการ 1 สวนวางโครงการ

ดูงานและหารือรายละเอียดเกี่ยวกับการประยุกตใช

โปรแกรม Sobek ตามโครงการปรับปรุงระบบปองกัน

น้ําเค็ม จังหวัดสมุทรสาครและสมุทรสงคราม

ราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด

บัญชีรายชื่อขาราชการที่เดินทางไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ ประจําปงบประมาณ 2549

Page 85: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายธนา สุวัฑฒน วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการพิเศษสํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

ดูงานและหารือรายละเอียดเกี่ยวกับการประยุกตใช

โปรแกรม Sobek ตามโครงการปรับปรุงระบบปองกัน

น้ําเค็ม จังหวัดสมุทรสาครและสมุทรสงคราม

ราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด

นายพงศธกรณ สุวรรณพิมลผชช ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยา นัก

อุทกวิทยาเชี่ยวชาญ

กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

งานดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

ดูงานกอสรางเพื่อโครงการระบายน้ําบริเวณสนามบิน

สุวรรณภูมิ

สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน

นายธีระชัย ชนเห็นชอบ ผชช.ดานวิศวกรรมโยธา (ดานวางแผน)กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานวางแผนและโครงการ

ดูงานกอสรางเพื่อโครงการระบายน้ําบริเวณสนามบิน

สุวรรณภูมิ

สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน

นายสุเทพ นอยไพโรจนผูอํานวยการสํานักอุทกวิทยาและ

บริหารน้ําสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

ดูงานกอสรางโครงการปรับปรุงแมน้ํายม-สายเกา

(แมน้ํายมฝงซาย)

สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน

นายโฆสิต ลอศิริรัตน ผชช. ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยากลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

ประชุมเชิงปฏิบัติการ International Workshop on

Impacts of Reforestation of Degraded Land on

Landscape Hydrology in the Asian Region

สาธารณรัฐอินเดีย

นายโฆสิต ลอศิริรัตน ผชช. ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยากลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

ประชุมและดูงาน International Conference on

Forest in Continental River Basins : with a

focus on the Mekong River

ราชอาณาจักรกัมพูชา

น.ส.สุดธิดา เปลี่ยนคารมย เศรษฐกร ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุม

ประเมินผลโครงการฝกอบรม IATSS Forum รุนที่ 40 ญี่ปุน

นางสุวรรณา ยุวนานนท ผชช.ดานสํารวจและทําแผนที่ภาพถาย

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและ

ธรณีวิทยา กลุมงานดานสํารวจและ

วิเคราะห

ฝกอบรม สาขา Space Applications สาธารณรัฐฝรั่งเศส

นายสมศักดิ์ วิวิธเกยูรวงศ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา สวน

ปรับปรุงรักษา

ฝกอบรมหลักสูตร "Refresher Course on Water

Management for Sustainable Rural

Development and Natural Resources

สาธารณรัฐสังคม

นิยมเวียดนาม

Page 86: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายนพดล ผากา วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

ฝกอบรมหลักสูตร "Refresher Course on Water

Management for Sustainable Rural

Development and Natural Resources

สาธารณรัฐสังคม

นิยมเวียดนาม

นายสมจิต อํานาจศาล วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 2 สวนจัดสรรน้ํา

และบํารุงรักษาฝกอบรมหลักสูตร Flood Hazard Mapping ญี่ปุน

นายพรมงคล ชิดชอบ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 4 สวนวิศวกรรม

บริหาร

ฝกอบรมหลักสูตร Groundwater Resources

Development and Management for ASEAN

Member Countries

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสุทธินันท สีวุฒินันท วิศวกรเครื่องกล ระดับชํานาญการ

สํานักเครื่องจักรกล กลุมพิจารณา

ตรวจสอบและกําหนดคุณลักษณะ

เฉพาะ สวนวิศวกรรม

ฝกอบรมหลักสูตร พลังงานน้ําขนาดเล็ก (Small

Hydropower)

สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน

นายชาญชัย ศรีสุธรรม วิศวกรโยธา ระดับปฏิบัติการสํานักสํารวจดานวิศวกรรมและ

ธรณีวิทยา สวนปฐพีกลศาสตรศึกษาตอปริญญาเอก Applied Geology

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

น.ส.วิมลภัทร บําบัดสรรพโรค เศรษฐกร ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุม

ประเมินผลโครงการศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชาเศรษฐศาสตร สหราชอาณาจักร

นายประเสริฐ เฮงสุวรรณ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ สํานักชลประทานที่ 3 สวนปฏิบัติการหลักสูตร Geo-tools for Water Resources

Management with threes specializations

ราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด

นายชัยนรินท พันธภิญญาภรณ ผูอํานวยการสํานัก สํานักชลประทานที่ 11ดูงานกอสรางเพื่อโครงการระบายน้ําบริเวณสนามบิน

สุวรรณภูมิ

สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน

นายสมหวัง ผลประสิทธิโต วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 2 สวนจัดสรรน้ํา

และบํารุงรักษาไปดูงานระบบสารสนเทศ สาธารณรัฐสิงคโปร

Page 87: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายปราโมทย พึ่งเพียร นายชางชลประทาน ระดับอาวุโสสํานักชลประทานที่ 6 โครงการ

ชลประทานกาฬสินธุ

การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Rapid Appraisal

Procedure (RAP-Workshop) ภายใตโครงการ

ปรับปรุงประสิทธิภาพการชลประทานในแปลงนาขาว

สาธิต (Improvement of Irrigation Efficiency on

Paddy Fields in the Lower Mekong Basin

Project : IIEPE)

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายศิริชัย ศักดิ์สิริโกศล

(นายกษิเดช สุรจิรชาติ)

วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักชลประทานที่ 9 สวนวิศวกรรม

บริหารดูงานตามโครงการพัฒนาขาราชการจังหวัดสุพรรณบุรี

สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน

Page 88: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายปกรณ ศักดิ์ศรีชัยสกุล นายชางโยธา (ระดับชํานาญงาน)สํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

Decision Support Framework (DSF)

Administrator

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายบุญชอบ หอมเกษร ผูอํานวยการโครงการ สํานักชลประทานที่ 10 Flood Hazard Mapping ญี่ปุน

นายพรมงคล ชิดชอบ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 4 สวนวิศวกรรม

บริหาร

International Course on Demand Side

Management of Groundwaterสาธารณรัฐอินเดีย

นายปญจศักดิ์ เทพอวยพร วิศวกรไฟฟา ระดับปฏิบัติการสวนเครื่องจักรกลไฟฟา สํานัก

เครื่องจักรกล

International Training Workshop on

Small-sized Hydroelectric Station

Contruction ภายใต MOST

สาธารณรัฐประชาชน

จีน

นายวัชระ เสือดีวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษสํานักวิจัยและพัฒนา

Training of trainer (TOT) หลักสูตร Legislation

& Institution Arrangements in Integrated

Water Resources Management (IWRM) of the

Southeast Asian Region

มาเลเซีย

นายมนูญ นันทกาล นายชางชลประทาน ระดับชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 7 โครงการ

กอสราง 1

เพื่อควบคุมงานโครงการจัดตั้งแปลงสาธิต

การเกษตรแบบผสมผสาน

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายสมภพ สุจริตผชช.ดานวิศวกรรมชลประทาน (ระดับ

เชี่ยวชาญ)

กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

กระบวนการผลิตและการทดสอบเทียบคาเครื่อง

ตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อนแคนาดา

นายเอวิสันต กูเกียรติศักดิ์ วิศวกรชลประทาน ระดับปฏิบัติการสํานักชลประทานที่ 11 โครงการสง

น้ําและบํารุงรักษาเจาเจ็ด-บางยี่หน

ดูงาน Principles and Applications of Remote

Sensing and GIS for Various Applications

ราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด

นายปรีชา ไพจิตราสุคนธ นายชางชลประทาน ระดับอาวุโส สํานักชลประทานที่ 2 สวนปฏิบัติการ ดูงานเพื่อโครงการกิ่วคอหมา สหรัฐอเมริกา

บัญชีรายชื่อขาราชการที่เดินทางไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ ประจําปงบประมาณ 2550

Page 89: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายภูวเนตร ทองรุงโรจนผชช.ดานวิศวกรรมชลประทาน (ระดับ

เชี่ยวชาญ)

กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษาดูงานเพื่อโครงการชลประทานสระแกว สาธารณรัฐฝรั่งเศส

นายโชคชัย เสนาะเกียรติ นายชางชลประทาน ระดับชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 9 โครงการ

ชลประทานสระแกวดูงานเพื่อโครงการชลประทานสระแกว สาธารณรัฐฝรั่งเศส

นายทินกร สุทิน ผูอํานวยการโครงการสํานักชลประทานที่ 9 โครงการ

ปฎิบัติการคันคูน้ําที่ 9ดูงานเพื่อโครงการชลประทานสระแกว สาธารณรัฐฝรั่งเศส

นายนิรันดร นาคทับทิมวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักชลประทานที่ 7 สวนจัดสรรน้ํา

และบํารุงรักษา

ดูงานโครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการสราง

หนวยงานตนแบบการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน

วัฒนธรรม และคานิยมตามแนวทางเศรษฐกิจ

พอเพียง

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายสุรพล ใจยงค ผูอํานวยการสํานัก สํานักชลประทานที่ 9

ดูงานขบวนการซอมแซมแกไขขอบกพรองของเขื่อน

และเทคโนโลยีวิศวกรรมงานเขื่อนเพื่อโครงการ

ชลประทานสระแกว

สาธารณรัฐประชาชน

จีน

นายอําพล ฤทธิ์มณี นายชางชลประทาน ระดับอาวุโสสํานักชลประทานที่ 9 โครงการ

ชลประทานสระแกว

ดูงานขบวนการซอมแซมแกไขขอบกพรองของเขื่อน

และเทคโนโลยีวิศวกรรมงานเขื่อนเพื่อโครงการ

ชลประทานสระแกว

สาธารณรัฐประชาชน

จีน

นายทศพล วงศวารวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

กองแผนงาน กลุมงานวิเคราะห

งบประมาณ

ดูงานดาน Construction of Water Resources

and Distribution System and other Projectsสหรัฐอเมริกา

นายชัยยะ พึ่งโพธิ์สภ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการกลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

กิจกรรมพิเศษ

ดูงานดาน Modernization of Irrigation System

and other Projectสหรัฐอเมริกา

นายประดับ กลัดเข็มเพชร วิศวกรชลประทาน ระดับเชี่ยวชาญ

สํานักชลประทานที่ 1 ศูนยศึกษา

การพัฒนาหวยฮองไครอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริ

ดูงานดาน Monitoring Irrigation Water Supply สหรัฐอเมริกา

นายพรชัย พนชั่ว ผูอํานวยการโครงการสํานักชลประทานที่ 11 โครงการ

ชลประทานนนทบุรีดูงานดาน Monitoring Irrigation Water Supply สหรัฐอเมริกา

Page 90: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายประวัติวิทย สวัสดิ์ดวงวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักชลประทานที่ 13 สวน

วิศวกรรมบริหารดูงานดานการกําจัดขยะและบําบัดน้ําเสียชุมชน ญี่ปุน

นายประสิทธิ์ อยูดี นายชางชลประทาน ระดับอาวุโสสํานักชลประทานที่ 14 โครงการ

ชลประทานเพชรบุรีดูงานดานการกําจัดขยะและบําบัดน้ําเสียชุมชน ญี่ปุน

นายสมชาย พฤฒิพรกิจ วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการพิเศษสํานักโครงการขนาดใหญ สวน

วิศวกรรม

ทดสอบ Pump Model Test and Sump Pump

Model Test เพื่อโครงการระบายน้ําสนามบิน

สุวรรณภูมิ

ราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด

นายวันชัย นพเกา นายชางชลประทาน ระดับชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 7 โครงการ

กอสราง 1

ปฏิบัติงานโครงการจัดตั้งแปลงสาธิตการเกษตรแบบ

ผสมผสาน

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายกิตติ์เมธา สุดสน นายชางสํารวจปฏิบัติงาน

สํานักสํารวจ

ดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา ฝาย

สํารวจกันเขตภาคกลาง สวนสํารวจ

กันเขตและประสานงานรังวัด

ปฏิบัติงานโครงการจัดตั้งแปลงสาธิตการเกษตรแบบ

ผสมผสาน

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายยงยส เนียมทรัพย วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 4 สวนวิศวกรรม

บริหาร

ฝกอบรม International Course on Demand

Side Management of Groundwaterสาธารณรัฐอินเดีย

นายโฆสิต ลอศิริรัตน ผชช. ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยากลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดีกลุม

ดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

ฝกอบรมในหัวขอเรื่อง Study on of Effect of

Watershed Characteristics on Reservoir

Sedimentation in Northeast and North

Thailand

ญี่ปุน

นางสุวรรณา ยุวนานนท ผชช.ดานสํารวจและทําแผนที่ภาพถาย

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและ

ธรณีวิทยา กลุมงานดานสํารวจและ

วิเคราะห

ฝกอบรมชั้นสูงเกี่ยวกับ RS/GIS ญี่ปุน

นายรัฐพันธุ รัตนบรรพต วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 14 สวน

วิศวกรรมบริหาร

ฝกอบรมหลักสูตร Small Hydropower ภายใต

TCDC

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

Page 91: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายวิโรจน มูสิกะเจริญ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

สํานักชลประทานที่ 15 โครงการสง

น้ําและบํารุงรักษาลุมน้ําปากพนัง

ตอนลาง

ฝกอบรมหลักสูตร Water Resources Planningราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด

นายนพดล โควสุวรรณ วิศวกรชลประทาน ระดับปฏิบัติการสํานักชลประทานที่ 1 สวนวิศวกรรม

บริหาร

ศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมโยธา

(สิ่งแวดลอม)สหรัฐอเมริกา

นายสมเกียรติ อภิพัฒนวิศว วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการพิเศษสํานักวิจัยและพัฒนา สวนวิจัยและ

พัฒนาดานวิศวกรรม

ศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชา Water Resources

Engineeringสหรัฐอเมริกา

นายโฆสิต ลอศิริรัตน ผชช. ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยากลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี กลุม

ดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

อบรมเรื่อง Evaluation the effect of Watershed

Characteristics on Reservoir Sedimentation :

A case study Northeast and North Thailand

ญี่ปุน

นายสาธิต มณีผายผชช.ดานวิศวกรรมโยธา (ดาน

ออกแบบและคํานวณ)

สํานักออกแบบวิศวกรรมและ

สถาปตยกรรม กลุมดานออกแบบ

และคํานวณ

อบรมเรื่อง The Modern Methods in canal

Operation and Control , 4th International

Technical Workshop and Study Tour

สหรัฐอเมริกา

นายพงศศักดิ์ อรุณวิจิตรสกุลวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักชลประทานที่ 11 สวนจัดสรร

น้ําและบํารุงรักษา

อบรมเรื่อง The Modern Methods in canal

Operation and Control , 4th International

Technical Workshop and Study Tour

สหรัฐอเมริกา

นายสมศักดิ์ วิวิธเกยูรวงศ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา สวน

ปรับปรุงรักษา

อบรมหลักสูตร Intergrated Water Resources

Management Programme

ราชอาณาจักรสวีเดน

และสาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายณัฐพล สิทธิการ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา สวน

บริหารจัดการน้ํา

อบรมหลักสูตร Irrigation Water Resources in

Arid & Semi - Arid Region and E.I.A. for

Sustainable Development II

ญี่ปุน

Page 92: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายนิวัติ คําแนน วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 7 สวนวิศวกรรม

บริหาร

ปฏิบัติงานโครงการจัดตั้งแปลงสาธิตการเกษตรแบบ

ผสมผสาน

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

Page 93: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายปญจศักดิ์ เทพอวยพร วิศวกรไฟฟา ระดับปฏิบัติการสวนเครื่องจักรกลไฟฟา สํานัก

เครื่องจักรกล

International Training Workshop on

Small-sized Hydroelectric Station

Contruction ภายใต MOST

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายวิทยา สายน้ํา วิศวกรไฟฟา ระดับปฏิบัติการสวนเครื่องจักรกลไฟฟา สํานัก

เครื่องจักรกล

เขารับการฝกอบรมระหวางการผลิตและการ

ทดสอบอุปกรณเครื่องสูบน้ําราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายธีร สุขขีวิศวกรเครื่องกล ระดับชํานาญ

การสํานักเครื่องจักรกล สวนวิศวกรรม

เขารับการฝกอบรมระหวางการผลิตและการ

ทดสอบอุปกรณเครื่องสูบน้ําราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายโยธิน ศรีสารคามนายชางเครื่องกล ระดับชํานาญ

งาน

สํานักโครงการขนาดใหญ

สํานักงานกอสราง 9 (โครงการ

บางปะกง)

เขารับการฝกอบรมระหวางการผลิตและการ

ทดสอบอุปกรณเครื่องสูบน้ําราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายอํานวย ถี่ถวน นายชางไฟฟา ระดับชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 11 สวน

เครื่องจักรกล

เขารับการฝกอบรมระหวางการผลิตและการ

ทดสอบอุปกรณเครื่องสูบน้ําราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายเชิดชัย มาลัย วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุมงาน

วางโครงการ 2 สวนวางโครงการ

ไปตรวจติดตามความคืบหนาโครงการศูนย

พัฒนาและบริการดานการเกษตรหวยซอน-

หวยซั้ว

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายณภัทร ผดุงเจริญโชติ นายชางโยธา ระดับอาวุโส

สํานักโครงการขนาดใหญ

สํานักงานกอสราง 9 (โครงการ

บางปะกง)

ไปตรวจสอบ (Performance Test ) ชุด

เฟองทดรอบและตรวจสอบ (Visual

Inspection)

สหราชอาณาจักรและ

ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายฉัตรชัย บุญลือวิศวกรชลประทานชํานาญการ

พิเศษ

สํานักบริหารโครงการ สวน

บริหารโครงการเงินกูและ

ชวยเหลือ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ(ฝกอบรม)ครั้ง

สุดทาย ตามโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพ

การชลประทานในแปลงสาธิตบริเวณพื้นที่

ลุมน้ําโขงตอนลาง (Improvement of

Irrigation Efficiency on Paddy Field in

the Lower Mekong Basin Project)

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

บัญชีรายชื่อขาราชการที่เดินทางไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ ประจําปงบประมาณ 2551

Page 94: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายธนา สุวัฑฒนวิศวกรโยธา ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

การประชุมสุดยอดวาดวยเรื่องน้ําในภูมิภาค

เอเซียและแปซิฟก ครั้งที่ 1ญี่ปุน

นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย ผูอํานวยการสํานักสํานักพัฒนาโครงสรางและ

ระบบบริหารงานบุคคล

การประชุมสุดยอดวาดวยเรื่องน้ําในภูมิภาค

เอเซียและแปซิฟก ครั้งที่ 1ญี่ปุน

นางภัทราภรณ เมฆพฤกษาวงศ นักวิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

ดูงานเกี่ยวกับการจัดการเขื่อนอาคารและ

เครื่องมือชลประทานญี่ปุน

นายธนา สุวัฑฒนวิศวกรโยธา ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

ดูงานเกี่ยวกับการจัดการเขื่อนอาคารและ

เครื่องมือชลประทานญี่ปุน

นายธนา สุวัฑฒนวิศวกรโยธา ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

ดูงานและหารือเกี่ยวกับการประยุกตใช

แบบจําลองทางคณิตศาสตรราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายพนมศักดิ์ ใชสมบุญ วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

ดูงานและหารือเกี่ยวกับการประยุกตใช

แบบจําลองทางคณิตศาสตรราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายวีระ วงศแสงนาค รองอธิบดี กรมชลประทาน

ดูงานโครงการระบายน้ํา Oyamatsu

Toyanogata โครงการที่มีสวนรวม

Kamedagou โครงการระบายน้ํา Shin

kawa (ระบายน้ํา) โครงการอุโมงคน้ํา

Shin-Shin Hisayama โครงการเขื่อนและ

ระบบ Otsugawa

ญี่ปุน

นายมานิตย ปลั่งสมบัติ นายชางเครื่องกล ระดับอาวุโสสํานักเครื่องจักรกล ศูนย

ปฏิบัติการเครื่องจักรกลที่ 2

ดูงานโครงการระบายน้ํา Oyamatsu

Toyanogata โครงการที่มีสวนรวม

Kamedagou โครงการระบายน้ํา Shin

kawa (ระบายน้ํา) โครงการอุโมงคน้ํา

Shin-Shin Hisayama โครงการเขื่อนและ

ระบบ Otsugawa

ญี่ปุน

Page 95: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายพิทักษ ปกษานนทผชช.ดานวิศวกรรมโยธา (ดาน

ควบคุมการกอสราง)

สํานักโครงการขนาดใหญ

สํานักงานกอสราง 3 (โครงการ

น้ําก่ํา)

ดูงานโครงการระบายน้ํา Oyamatsu

Toyanogata โครงการที่มีสวนรวม

Kamedagou โครงการระบายน้ํา Shin

kawa (ระบายน้ํา) โครงการอุโมงคน้ํา

Shin-Shin Hisayama โครงการเขื่อนและ

ระบบ Otsugawa

ญี่ปุน

นายธํารงศักดิ์ นคราวงศวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

กลุมงานปรับปรุงโครงการ

ชลประทาน สวนปรับปรุงรักษา

ดูงานโครงการระบายน้ํา Oyamatsu

Toyanogata โครงการที่มีสวนรวม

Kamedagou โครงการระบายน้ํา Shin

kawa (ระบายน้ํา) โครงการอุโมงคน้ํา

Shin-Shin Hisayama โครงการเขื่อนและ

ระบบ Otsugawa

ญี่ปุน

นายเชิดชัย มาลัย วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุมงาน

วางโครงการ 2 สวนวางโครงการ

ดูงานดานการเกษตรโดยเฉพาะเรื่องปุยเคมี

และเยี่ยมชมโรงงานเหมืองแรโปรแตสเซียม

สาธารณรัฐเยอรมนีและ

สหพันธรัฐสวิส

นายอรรถพร บุญศรี นายชางเครื่องกล ระดับอาวุโสสํานักเครื่องจักรกล ศูนย

ปฏิบัติการเครื่องจักรกลที่ 2

ประชุมเกี่ยวกับงานชลประทานซึ่งมีทั้งงาน

ดานการบํารุงรักษาและงานดานเครื่องจักร

ตาง ๆ

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายโฆสิต ลอศิริรัตน ผชช. ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยากลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี

กลุมดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

ประชุมและเปนวิทยากรเรื่อง Sabo

(Erosion Control Engineering) Sediment

Disaster Prevention , Land

Conservation and Safety of Nations

ญี่ปุน

นายชุมลาภ เตชะเสน วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุมงาน

วางโครงการ 1 สวนวางโครงการ

ฝกอบรม Education for Sustainable

Fevelopment in a River Basin Contextสาธารณรัฐประชาชนจีน

Page 96: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายทองเปลว กองจันทรนักอุทกวิทยา ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

สวนอุทกวิทยา

ฝกอบรมเรื่อง The Integrated Workshop

on Coping with Climate Change in the

Typhoon Committee Area

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายวิภพ ทีมสุวรรณวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

สวนบริหารจัดการน้ํา

ศึกษาตอปริญญาเอก สาขา Water

Resource Engineeringญี่ปุน

น.ส.วชิราภรณ กําเนิดเพ็ชรนักวิชาการสิ่งแวดลอม ระดับ

ชํานาญการ

สํานักบริหารโครงการ กลุม

สิ่งแวดลอมโครงการ

ศึกษาตอปริญญาเอก สาขาวิชาทรัพยากร

และสิ่งแวดลอมแคนาดา

นายสวาง จอมวุฒินักวิชาการแผนที่ภาพถาย

ระดับชํานาญการ

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและ

ธรณีวิทยา สวนสํารวจทําแผนที่

จากภาพถาย

ศึกษาตอปริญญาโท Master of Science

สาขาวิชา Aeronautical and

Astronautical and Technology (Space

Technology Application)

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายปญจศักดิ์ เทพอวยพร วิศวกรไฟฟา ระดับปฏิบัติการสํานักเครื่องจักรกล สวน

เครื่องจักรกลไฟฟา

ศึกษาตอปริญญาโท Measurement of

Electrical Informationสาธารณรัฐประชาชนจีน

นายวิภพ ทีมสุวรรณวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

สวนบริหารจัดการน้ํา

ศึกษาตอปริญญาโท สาขาวิศวกรรม

ทรัพยากรน้ําญี่ปุน

นายพรมงคล ชิดชอบวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักชลประทานที่ 4 สวน

วิศวกรรมบริหาร

อบรม Integrated Water Resources

Managementราชอาณาจักรสวีเดน

นายกรรณชิง ขาวสอาดวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการพิเศษ

สํานักชลประทานที่ 3 สวน

จัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

อบรมเรื่อง Agricultion Irrigation

Managementสาธารณรัฐประชาชนจีน

นายศรายุธ พันธุบุญวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักชลประทานที่ 11 สวน

จัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

อบรมเรื่อง Expert on Flood - Related

Disaster Mitigationญี่ปุน

นายพลชัย กลิ่นขจร นักอุทกวิทยาชํานาญการพิเศษ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

กลุมงานสารสนเทศและ

พยากรณน้ํา สวนอุทกวิทยา

อบรมเรื่อง Global Precipitation

Measurement (GPM) Asia Workshopญี่ปุน

Page 97: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายณัฐพล วุฒิจันทรวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการสํานักวิจัยและพัฒนา

อบรมเรื่อง Groundwater Exploration

and Management of Water Resourcesรัฐอิสราเอล

นายปกรณ สุตสุนทรวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการพิเศษสํานักวิจัยและพัฒนา

อบรมเรื่อง Groundwater Exploration

and Management of Water Resourcesรัฐอิสราเอล

นายรสุ สืบสหการวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการสํานักวิจัยและพัฒนา

อบรมเรื่อง Groundwater Exploration

and Management of Water Resourcesรัฐอิสราเอล

นายวิษณุ ทบดานนายชางชลประทาน ระดับ

ชํานาญงาน

สํานักชลประทานที่ 7 สวน

จัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

อบรมเรื่อง Integrated Watershed

Managementมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

นายเอวิสันต กูเกียรติศักดิ์วิศวกรชลประทาน ระดับ

ปฏิบัติการ

สํานักชลประทานที่ 11 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาเจาเจ็ด-

บางยี่หน

อบรมเรื่อง Integrated Watershed

Managementมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร

นายพัชรินทร พิมพสิงหวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

สวนปรับปรุงรักษา

อบรมเรื่อง International Course on

Irrigation System Managementมาเลเซีย

นายโอฬาร เวศอุไร วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

อบรมเรื่อง Small - Scale Hydropower

and Clean Energy Power Engineeringญี่ปุน

นายพงศธกรณ สุวรรณพิมลผชช ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยา

นักอุทกวิทยาเชี่ยวชาญ

กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดี

กลุมงานดานจัดสรรน้ําและ

บํารุงรักษา

อบรมเรื่อง The Seventh International

Planning workshop on Global

Precipitation Measurement (GPM)

ญี่ปุน

นายปกรณ ศักดิ์ศรีชัยสกุล นายชางโยธา (ระดับชํานาญงาน)สํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

อบรมการใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร

สําหรับ (Decision Support Framework)

ของ MRC ที่มีการพัฒนาเพิ่มเติม

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

Page 98: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายภัทวี ดวงจิตร ผูอํานวยการโครงการสํานักชลประทานที่ 1 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาแมแตง

อบรมเรื่อง Capacity Building Network

Development and Managementสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

นายจิรชัย พัฒนพงศาวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักชลประทานที่ 1 สวน

วิศวกรรมบริหารอบรมเรื่อง Water Resources Planning ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

นายปราโมทย พึ่งเพียร นายชางชลประทาน ระดับอาวุโสสํานักชลประทานที่ 6

โครงการชลประทานกาฬสินธุ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ(ฝกอบรม)ครั้ง

สุดทาย ตามโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพ

การชลประทานในแปลงสาธิตบริเวณพื้นที่

ลุมน้ําโขงตอนลาง (Improvement of

Irrigation Efficiency on Paddy Field in

the Lower Mekong Basin Project)

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายวีระพงษ ญาณกิตติกุลวิศวกรชลประทาน ระดับ

ชํานาญการ

สํานักชลประทานที่ 7 สวน

วิศวกรรมบริหาร

ทําการสํารวจความเสียหายในแปลงสาธิต

การเกษตรแบบผสมผสาน

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

Page 99: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

น.ส.ฉวี วงศประสิทธิพร วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการ

การฝกอบรมหลักสูตร Integrated Water

Resources Management ชวงที่ 2สาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายประสิทธิ์ สีโทผชช ดานวิศวกรรมโยธา (ออกแบบ

และคํานวณ) วิศวกรโยธา เชี่ยวชาญ

สํานักออกแบบวิศวกรรมและสภาปต

ยกรรม กลุมดานออกแบบและคํานวณ

ดูงาน สวนหนึ่งของหลักสุตรการบริหารงาน

ภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุนที่ 8สหราชอาณาจักรสเปน

นายพงศธกรณ สุวรรณพิมลผชช ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยา นัก

อุทกวิทยาเชี่ยวชาญ

กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดีกลุม

งานดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

ดูงาน สวนหนึ่งของหลักสุตรการบริหารงาน

ภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุนที่ 8สหราชอาณาจักรสเปน

นายสมเกียรติ ประจําวงษ ผูอํานวยการสํานัก สํานักบริหารโครงการดูงาน สวนหนึ่งของหลักสูตรการบริหารเศรษ

กิจสาธรณะสําหรับบริหารระดับสูง รุนที่ 7

ราชอาณาจักรสวีเดน,

สาธารณรัฐเยอรมัน, สา

ธารณฝรั่งเศส

นายสมเกียรติ ประจําวงษ ผูอํานวยการสํานัก สํานักบริหารโครงการ ฝกอบรม Change Management สหราชอาณาจักร

นายสัญญา แสงพุมพงษ ผูอํานวยการโครงการสํานักชลประทานที่ 9 โครงการ

ชลประทานปราจีนบุรี

ฝกอบรม การพัฒนาสมรรถนะดานการบริหาร

และความเปนผูนําญี่ปุน

นายยงยส เนียมทรัพย วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 4 สวนวิศวกรรม

บริหาร

ฝกอบรม การอบรมหลักสูตร Small

Hydropwer Develpomentสาธารณรัฐอินเดีย

นายโยคิน รวยพงษ นักวิชาการแผนที่ภาพถาย

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรนี

วิทยา ฝายผลิตแผนที่ สวนสํารวจทํา

แผนที่จากภาพถาย

ฝกอบรม หลักสูตร Training Pourse on Daa

Pocessing and Applovations of Remote

Scensing Satellite

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายดรรชณี เฉยเพ็ชร นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ

สํานักบริหารโครงการ กลุมงาน

สิ่งแวดลอม 2 กลุมสิ่งแวดลอม

โครงการ

ฝกอบรม หลักสูตร Integrated Watershed

Managementมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

นายสมจิต อํานาจศาล วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 2 สวนจัดสรรน้ํา

และบํารุงรักษาฝกอบรมหลักสูตร Flood Hazard Mapping ญี่ปุน

บัญชีรายชื่อขาราชการที่เดินทางไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ ประจําปงบประมาณ 2552

Page 100: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายชุมลาภ เตชะเสน วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุมงาน

วางโครงการ 1 สวนวางโครงการ

อบรมเรื่อง Education for Sustainable in a

River Basin Contextสาธารณรัฐประชาชนจีน

นายนิรันดร นาคทับทิมวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักชลประทานที่ 7 สวนจัดสรรน้ํา

และบํารุงรักษา

ฝกอบรม Non-conventional Water

Resources and Enviormnental

Management in Water Scarce Countries

ภายใต Japan-Dingapore Partnership

Programme for the 21 th(jspp21)

สาธารณรัฐสิงคโปร

นายไกรสิทธิ์ ทองหนุน นายชางชลประทาน ระดับชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 7 สวนจัดสรรน้ํา

และบํารุงรักษาดูงาน ดานการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ สหพันธสาธารณรัฐเยอรมันนี

Page 101: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

วาที่ ร.ต.สิทธิการ ธิติทรัพยอุดม วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 13 สวน

วิศวกรรมบริหาร

โครงการฝกอบรมนักวิชาการรุนเยาวจากประเทศ

ภาคีสมาชิก (Junior Riparian Professon

Project:JRP) รุนที่ 4

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายกรรณชิง ขาวสอาดวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักชลประทานที่ 3 สวนจัดสรรน้ํา

และบํารุงรักษา

การเสนอผลงานวิจัยและดูงานโครงการ The

Impact of Climate Change on Irrigation

System and Adaptation Measures

(Plaichumpol Irrigation Project Case Study)

ญี่ปุน

นายพงศธกรณ สุวรรณพิมลผชช ดานที่ปรึกษาอุทกวิทยา นัก

อุทกวิทยาเชี่ยวชาญ

กลุมงานที่รายงานตรงตออธิบดีกลุม

งานดานจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา

การประชุมปฏิบัติการ Workshop on

Intra-African Training and Dissemination of

Technical Know-how for Sustainable

Agriculture and Rural Development ภายใต

กิจกรรม South-South Cooperation

Programme การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง

Tradition Practice and Current Situation on

Small Scale Irrigation and Water

Management in Thailand

เบนิน และสหพันธ

รัฐสาธารณรัฐ

แทนซาเนีย

นายพงศธร ศิริออน วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการพิเศษ

สํานักออกแบบวิศวกรรมและ

สถาปตยกรรม กลุมออกแบบระบบ

ชลประทาน

การฝกอบรม Agricultural Infrastructure

Improvement in the Fields for Rural

Development

ญี่ปุน

นางบุญเรือน ศรีสอาด นักวิเทศสัมพันธ ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ สวนความ

รวมมือกับตางประเทศ

การฝกอบรม ภาษาอังกฤษสําหรับการใชในการ

ปฏิบัติงาน (ILC) ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553

รุนที่ 2

สถาบันการ

ตางประเทศ

บัญชีรายชื่อขาราชการที่เดินทางไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ ประจําปงบประมาณ 2553

Page 102: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายโอฬาร เวศอุไร วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ สวน

วางโครงการการฝกอบรมการใชโปรแกรม HEC-ResSim

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายประเสริฐ เฮงสุวรรณ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ สํานักชลประทานที่ 3 สวนปฏิบัติการ

การฝกอบรมหลักสูตร 24/7 Water Supply and

Distribution Management ภายใต Singapore

Cooperation Programme Training Award

(SCPTA)

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายพงศศักดิ์ อรุณวิจิตรสกุลวิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ

พิเศษ

สํานักชลประทานที่ 11 สวนจัดสรร

น้ําและบํารุงรักษา

การฝกอบรมหลักสูตร Non-Conventional Water

Resources and Environmental

Management in Water Scarce Countries

ภายใต Japan-Singapore Partnership

Programme for the 21th Century (JSPP21)

สาธารณรัฐสิงคโปร

นายสมบัติ สนธิศรี วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการ สํานักชลประทานที่ 12การฝกอบรมหลักสูตร Tropical Wetlands

Managementมหาวิทยาลัยมหิดล

นายธนิต บุญพันธ วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักโครงการขนาดใหญ สํานักงาน

กอสราง 4 (โครงการปาสัก)

การฝกอบรมหลักสูตร Watershed and River

Basin Management

ราชอาณาจักร

เนเธอรแลนด

นายศุภชัย พินิจสุวรรณ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 2 สวนวิศวกรรม

บริหาร

การฝกอบอรมหลักสูตร Counterparts Training

Course on Facility Maintence and Water

Management on Irrigation and Drainage

ญี่ปุน

Page 103: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นางสาวฉวี วงศประสิทธิพร วิศวกรโยธา ระดับชํานาญการสํานักบริหารโครงการ กลุมงาน

วางโครงการ 2 สวนวางโครงการ

ฝกอบรมหลักสูตร Integrated Water Resourses

Management

ราชอาณาจักร

สวีเดนและ

สาธารณรัฐ

ประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

นายพลชัย กลิ่นขจร นักอุทกวิทยาชํานาญการพิเศษ

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กลุม

งานสารสนเทศและพยากรณน้ํา สวน

อุทกวิทยา

ฝกอบรมหลักสูตร Science and Technology

Research Partnership for Sustainable

Development

ญี่ปุน

นายพรมงคล ชิดชอบ วิศวกรชลประทาน ระดับชํานาญการสํานักชลประทานที่ 4 สวนวิศวกรรม

บริหาร

การประชุมเชิงปฏิบัติการ IWRM Alumi Follow -

Up Workshop

สหสาธารณรัฐ

แทนซาเนีย

Page 104: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายชลิต ดํารงศักดิ์ อธิบดีกรมชลประทาน กรมชลประทานการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

นางสาวทิพาภรณ วชิราภากร ผูอํานวยการกองการเงินและบัญชี กองการเงินและบัญชีการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

นายเชวงศักดิ์ ขัตติยะสุวงศ ผูอํานวยการกองกฎหมายและที่ดิน กองกฎหมายและที่ดินการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

นายชัชวาล ปญญาวาทีนันทผูอํานวยการสํานักสํารวจดาน

วิศวกรรมและธรณีวิทยา

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและ

ธรณีวิทยา

การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

นายสัญชัย เกตุวรชัย รองอธิบดีฝายบริหาร กรมชลประทานการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

นายสุเทพ นอยไพโรจนผูอํานวยการสํานักอุทกวิทยาและ

บริหารน้ําสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

นายอัตถพงษ ฉันทานุมัติ ผูอํานวยการกลุมพัฒนาระบบริหาร กลุมพัฒนาระบบริหารการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

ม.ล.อนุมาศ ทองแถม ผูอํานวยการสํานักชลประทานที่ ๘ สํานักชลประทานที่ 8การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เนเธอรแลนด-สหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี

นางวัลภา ไวทยาภรณ ผูอํานวยการกองพัสดุ กองพัสดุการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลยผูอํานวยการสํานักพัฒนาโครงสราง

และระบบบริหารงานบุคคล

สํานักพัฒนาโครงสรางและ

ระบบบริหารงานบุคคล

การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายชูชาติ ฉุยกลมวิศวกรใหญที่ปรึกษาดานวิศวกรรม

โยธา (ดานวางแผนและโครงการ)กรมชลประทาน

การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

บัญชีรายชื่อขาราชการที่เดินทางไปศึกษา ฝกอบรม และดูงานตางประเทศ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

Page 105: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล ผูอํานวยการกองแผนงาน กองแผนงานการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายประสงค เสี่ยงโชคอยู รองอธิบดีฝายวิชาการ กรมชลประทานการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายมนตรี ตันตระกูลวิศวกรใหญที่ปรึกษาดานวิศวกรรม

โยธา (ดานควบคุมการกอสราง)กรมชลประทาน

การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายมนัส กําเนิดมณีผูอํานวยการสํานักสงเสริมการมีสวน

รวมของประชาชน

สํานักสงเสริมการมีสวนรวม

ของประชาชน

การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายวีระ วงศแสงนาค รองอธิบดีฝายบํารุงรักษา กรมชลประทานการศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายสุพัตร วัฒยุ ผูอํานวยการสํานักชลประทานที่ ๖ สํานักชลประทานที่ 6การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายประพนธ เครือปานผูอํานวยการโครงการชลประทาน

แมฮองสอน

สํานักชลประทานที่ 1 โครงการ

ชลประทานแมฮองสอน

การศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ

บริหารเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

เบลเยี่ยม-เนเธอรแลนด-

สหพันธสาธารณรัฐ

เยอรมนี

นายชัยณรงค ฟองออนนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

Page 106: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายสุพัฒน ฤทธิชู

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายภานุเมศ วัฒนานนท วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ สํานักชลประทานที่ 9

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายนริศ วงษเวชนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 1สํานักชลประทานที่ 6

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นางอารีย แตงตั้ง นักจัดการงานทั่วไปชํานาญการสํานักชลประทานที่ 4 ฝาย

บริหารทั่วไป

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายสมคิด สวางรัตนนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 3สํานักชลประทานที่ 17

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายสมชาย หนูพันธนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 14

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

Page 107: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายประศาสน สุขอินทรนายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 13

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายบุญเลิศ หอมจันทร ชางฝมือสนาม ช 1 สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายภาคภูมิ อูสุวรรณ พนักงานชลประทาน บ 2 สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายศุภกฤษ พัฒนศิริ

ผูอํานวยการเฉพาะดาน(วิศวกรรม

ชลประทาน)โครงการสงน้ําและ

บํารุงรักษากระเสียว

สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายสุรศักดิ์ สถิตยที่นายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 1สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายสงบ อรุณทองผูอํานวยการสวนจัดสรรน้ําและ

บํารุงรักษาสํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

Page 108: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายเลอบุญ อุดมทรัพยวิศวกรชลประทานชํานาญการ

หัวหนาฝายบริหารและจัดการน้ําสํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายพงศกร อุตตนางกูร

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายธรรมนูญ สงวนสัจวาจา วิศวกรชลประทานชํานาญการสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

สวนบริหารจัดการน้ํา

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายสมบัติ สาลีพัฒนา วิศวกรชลประทานชํานาญการสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา

สวนบริหารจัดการน้ํา

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นายพีระชาติ อุดาการผูอํานวยการสวนอํานวยการและ

ติดตามประเมินผลสํานักโครงการขนาดใหญ

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นางเกศริน รอดเชื้อเจาพนักงานการเงินและบัญชีชํานาญ

งาน

กองการเงินและบัญชี ฝาย

การเงิน

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

Page 109: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นางอุไร บุญลือ นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการกองการเงินและบัญชี ฝาย

ควบคุมงบประมาณ

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

น.ส.จุฑารัตน เงาแกวนักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญ

การกลุมพัฒนาระบบบริหาร

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นางสมศรี วัฒนวุฒิพงศนักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญ

การกลุมพัฒนาระบบบริหาร

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นางมลทิรา เพชรศรี นักจัดการงานทั่วไปชํานาญการกองกฎหมายและที่ดิน ฝาย

ผลประโยชนและเงินกองทุน

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

ไตหวัน

นางนิตยา ปานขํานักจัดการงานทั่วไปชํานาญการ ฝาย

ผลประโยชนและเงินกองทุนกองการเงินและบัญชี

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายฆฤณธร สุวรรณโมกขนักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ

ฝายผลประโยชนและเงินกองทุนกองการเงินและบัญชี

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 110: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายอุทัยวุฒิ ชํานาญแกว วิศวกรชลประทานชํานาญการ กองแผนงาน

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายธเนศ อักษร วิศวกรชลประทานชํานาญการ สํานักวิจัยและพัฒนา

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายกระแสร ฤกษดําเนินกิจ นายชางชลประทานอาวุโสสํานักชลประทานที่ 1 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาแมแตง

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายชาทิตต มธุรวาทิน นายชางชลประทานอาวุโสสํานักชลประทานที่ 1 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาแมกวง

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสกล หาญพิทักษกุลผูอํานวยการเฉพาะดาน(วิศวกรรม

ชลประทาน)

สํานักชลประทานที่ 1 โครงการ

ชลประทานลําพูน

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายเกื้อกูล มานะสัมพันธสกุลนายชางชลประทานอาวุโส โครงการ

ชลประทานเชียงใหมสํานักชลประทานที่ 1

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 111: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายชริศ เมืองมีทรัพย นายชางชลประทานชํานาญงาน

สํานักชลประทานที่ 10

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา

โคกกะเทียม

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายประสิทธิ์ ไตทัน นายชางชลประทานชํานาญงาน

สํานักชลประทานที่ 10

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา

ปาสักใต

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายปรีชา โตนอยนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 10

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสมพงษ กะตะจิตตนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 10

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสุรชัย สบายเมือง นายชางชลประทานอาวุโสสํานักชลประทานที่ 10

โครงการชลประทานเพชรบูรณ

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสุจินต โนนพยอมนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 1สํานักชลประทานที่ 10

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 112: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายเอกรินทร อินทรคงรอด

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 10

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายมนตรี มณีวงษนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายเอนก จงไพบูลย

นายชางชลประทานชํานาญงาน

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษารังสิต

เหนือ

สํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายวรวัฒน ผสมทรัพย

นายชางชลประทานชํานาญงาน

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาพระองค

ไชยานุชิต

สํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสักรินทร ทัศนมณเฑียรนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสุชาติ อินทรปรุงนายชางชลประทานอาวุโส โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษารังสิตเหนือสํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 113: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายสุพจน สุวรรณจิตรนายชางชลประทานอาวุโส โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาชลหารพิจิตรสํานักชลประทานที่ 11

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายจรัญ เอี่ยมทานายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายทนงศักดิ์ มูลใจตานายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 3สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายบุญฤทธิ์ จําปาเงิน

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายวุฒิวิชฌน อุบลภักดีพันธ

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายรมยรวินท กลิ่นศรีสุข

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 114: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายเสรี ปมณีนายชางชลประทานชํานาญงาน

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษานครปฐมสํานักชลประทานที่ 13

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายประยูร เย็นใจวิศวกรชลประทานชํานาญการ

หัวหนาฝายบริหารและจัดการน้ําสํานักชลประทานที่ 13

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายศีลวัตร สิงหมณี

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 13

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายอุรัค สุบรรณเสนียนายชางชลประทานอาวุโส โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาปราณบุรีสํานักชลประทานที่ 14

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายพงศพันธ พงศชยุตม

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 15

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสยาม อิ่มเจริญ

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 15

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 115: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายภาสกร สิริวัฒน นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 15

โครงการชลประทานภูเก็ต

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายวันชัย รอดเนียมนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 16

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายวิทย หมวดทองออนนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 16

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายเฉลิมชัย ตรีนรินทร

ผูอํานวยการเฉพาะดาน(วิศวกรรม

ชลประทาน) โครงการสงน้ําและ

บํารุงรักษาลุมน้ําโก-ลก

สํานักชลประทานที่ 17

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายวีรยุทธ เขื่อนแกว นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 2 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาแมวัง

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายวีรพล จิตรากรนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 3

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 116: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายนฤพนธ คลายมณีนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 3สํานักชลประทานที่ 4

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายเมธี วุฒิเจริญ นายชางชลประทานชํานาญงาน

สํานักชลประทานที่ 4

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา

แมยม

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายปรีชญา บุญชู นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 5 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาหวยหลวง

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายมงคล คูณหอมนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 5

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายจเร เอกดํารงค

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 5

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายทศพล บัวผันนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 5สํานักชลประทานที่ 6

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 117: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายสมบัติ ศุขสุวรรณนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 6

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสิทธิศักดิ์ ชายโกมินทร

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 6

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายกิตติพงษ กาญจนารักษนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 7

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายศิริพงษ ณ สงขลา

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 7

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายอรุชา เจียรอุดมเดช นายชางชลประทานชํานาญงาน

สํานักชลประทานที่ 7 โครงการ

สงน้ําฯ พัฒนาลุมน้ําชีตอนลาง

และเซบายตอนลาง

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายณภัทร โชตะมังสะ

วิศวกรชลประทานชํานาญการ

หัวหนาฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุง

ระบบชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 118: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายวิชัย อัตถะมาลานายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายณรงค มัดทองหลาง นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 8

โครงการชลประทานบุรีรัมย

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสุรพันธ อินทรา นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 8 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาลําตะคอง

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสัมพันธ พิรกุลวานิชนายชางชลประทานชํานาญงาน

โครงการชลประทานนครนายกสํานักชลประทานที่ 9

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายธนิต จักรวานนทนายชางชลประทานชํานาญงาน

โครงการชลประทานระยองสํานักชลประทานที่ 9

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายภูษิต พรหมเมศร นายชางชลประทานอาวุโส

สํานักชลประทานที่ 9

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา

เขื่อนบางปะกง

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

Page 119: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายยศพล สยามไชย นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 9

โครงการชลประทานตราด

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายสมชาย ไพรลิน นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 9 โครงการ

ชลประทานชลบุรี

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายเชิดพงษ โกมารกุล ณ นคร นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 6

โครงการชลประทานกาฬสินธุ

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายประภาส สุวรรณโครธ นายชางชลประทานชํานาญงานสํานักชลประทานที่ 6 โครงการ

สงน้ําและบํารุงรักษาหนองหวาย

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐเกาหลี

นายครองศักดิ์ สุวรรณมณีนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 7

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายโอฬาร ทองศรีนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 3สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

Page 120: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายธีทัต สุขเกษม

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายสมพร พวงอินทรนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 4สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายอรชุน ไทยทรงธรรมนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 1สํานักชลประทานที่ 8

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายชนะชัย สุนทรศารทูล

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 6

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายสมคิด ภักดีนวล

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 6

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายสมหมาย ดอกบัว

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 6

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

Page 121: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายเริงชัย รักอยู

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 5

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายชัยวัฒน ชวลิตเมธารัตนนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 1สํานักชลประทานที่ 5

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายวรวิทย สุภาอวน

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 5

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายไพโรจน แอบยิ้ม เจาพนักงานการเกษตรชํานาญงาน สํานักชลประทานที่ 2

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายอุดม สมมาตรนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2สํานักชลประทานที่ 16

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายทวีวัฒน สืบสุขมั่นสกุลนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 3สํานักชลประทานที่ 16

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

Page 122: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายพิมาน จันทมณีโชตินายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 4สํานักชลประทานที่ 16

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายโกศล เทียนทองนุกูล วิศวกรชลประทานชํานาญการพิเศษ สํานักชลประทานที่ 16

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายวิชิต ผลพานิชนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 4สํานักชลประทานที่ 15

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายณัฐพล ทับทองนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 5สํานักชลประทานที่ 14

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายพิมล สกุลดิษฐ

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 14

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายธนะพัฒน วิสิทธิ์จิรโชค

นายชางชลประทานอาวุโส หัวหนา

ฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบ

ชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 13

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

Page 123: โครงการวิจัย - RIDkmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... · โครงการวิจัย. การประเมินประสิทธิผลความคุ

ชื่อ-สกุล ตําแหนง สังกัด หลักสูตร ประเทศ

นายนพดล คําชมภูนายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 1สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายนวพล สิริโยธิน

นายชางชลประทานชํานาญงาน

หัวหนาฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุง

ระบบชลประทาน

สํานักชลประทานที่ 12

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายศักตยา วรรณฤมล นายชางชลประทานชํานาญงาน สํานักชลประทานที่ 1

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นายณัฐพล วุฒิจันทร วิศวกรชลประทานชํานาญการ สํานักวิจัยและพัฒนา

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นางสาววันทนา อินทรแจงนักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ

ฝายผลประโยชนและเงินกองทุนกองการเงินและบัญชี

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน

นางหมายปอง เหลือโกศลนักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ

ฝายผลประโยชนและเงินกองทุนกองการเงินและบัญชี

อบรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการ

จัดการน้ําของโครงการจากยุทธศาสตรสูการ

ปฎิบัติ ภายใตเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการ

ชลประทาน

สาธารณรัฐประชาชนจีน