หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th ›...

13
ผูเรียบเรียง นายพิชชธร ปะทะวัง ศศ.บ. (ภาษาไทย), ศศ.ม. (ภาษาไทย) นางสาวปทมา ดำประสิทธิศศ.บ. (ภาษาไทยเพ�อการส�อสาร), ศศ.ม. (ภาษาไทย) นางสาวนวพร คำเมือง ศศ.บ. (ภาษาไทย), กศ.ม. (ภาษาไทย) นายอาทิตย ดรุนัยธร ศศ.บ. (ภาษาไทย), อ.ม. (ภาษาไทย) นายชูชาติ คุมขำ ค.บ. (ภาษาไทย), ศศ.ม. (ภาษาไทย) ผูตรวจ นางรุงนภา ขาวเรือง ค.บ. (ภาษาไทย), ศศ.ม. (การสอนภาษาไทย) นายวีระชาติ ศิริไกรวัฒนาวงศ ศษ.บ. (ภาษาไทย), ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย) บรรณาธิการ ปที่พิมพ ๒๕๖๓ พิมพครั้งที่ ๑ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม ISBN: 978-616-07-2027-9 จัดพิมพโดย บริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์เปนของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด ฝายวิชาการ : ๘๗/๑๒๒ ถ.เทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๙๕๔-๔๘๑๘-๒๐, ๐-๒๙๕๓-๘๑๖๘-๙ โทรสาร ๐-๒๕๘๐-๒๙๒๓ ฝายการตลาด, ฝายผลิตและจัดสง, ฝายการเงินและบัญชี : ๖๙/๑๐๙ หมู ๑ ซ.พระแมการุณย ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทร. ๐-๒๕๘๔-๕๘๘๙, ๐-๒๕๘๔-๕๙๙๓, ๐-๒๙๖๑-๔๕๘๐-๒ โทรสาร ๐-๒๙๖๑-๕๕๗๓, ๐-๒๕๘๒-๒๓๑๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ารใชภา ไทย ภาษาไ ใชภาษาไ ลักภาษาและการใ หลักภาษาและการใ หลักภาษาและ กภาษ ษา ษา หลักภาษา ลักภาษาและ กภาษ หลักภาษาและการใชภาษาไทย าไทย หลักภาษาและการใชภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปทีกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม

Upload: others

Post on 03-Jul-2020

18 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

ผูเรียบเรียง

นายพิชชธร ปะทะวัง ศศ.บ. (ภาษาไทย), ศศ.ม. (ภาษาไทย)

นางสาวปทมา ดำประสิทธิ์ ศศ.บ. (ภาษาไทยเพ�อการส�อสาร), ศศ.ม. (ภาษาไทย)

นางสาวนวพร คำเมือง ศศ.บ. (ภาษาไทย), กศ.ม. (ภาษาไทย)

นายอาทิตย ดรุนัยธร ศศ.บ. (ภาษาไทย), อ.ม. (ภาษาไทย)

นายชูชาติ คุมขำ ค.บ. (ภาษาไทย), ศศ.ม. (ภาษาไทย)

ผูตรวจ

นางรุงนภา ขาวเรือง ค.บ. (ภาษาไทย), ศศ.ม. (การสอนภาษาไทย)

นายวีระชาติ ศิริไกรวัฒนาวงศ ศษ.บ. (ภาษาไทย), ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย)

บรรณาธิการ

ปที่พิมพ ๒๕๖๓ พิมพครั้งที่ ๑ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม ISBN: 978-616-07-2027-9

จัดพิมพโดย บริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์เปนของบริษัท สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด

ฝายวิชาการ :

๘๗/๑๒๒ ถ.เทศบาลสงเคราะห แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐

โทร. ๐-๒๙๕๔-๔๘๑๘-๒๐, ๐-๒๙๕๓-๘๑๖๘-๙ โทรสาร ๐-๒๕๘๐-๒๙๒๓

ฝายการตลาด, ฝายผลิตและจัดสง, ฝายการเงินและบัญชี :

๖๙/๑๐๙ หมู ๑ ซ.พระแมการุณย ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐

โทร. ๐-๒๕๘๔-๕๘๘๙, ๐-๒๕๘๔-๕๙๙๓, ๐-๒๙๖๑-๔๕๘๐-๒ โทรสาร ๐-๒๙๖๑-๕๕๗๓, ๐-๒๕๘๒-๒๓๑๓

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑

หลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทยหลักภาษาและการใชภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

๔ ๖

หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม

Page 2: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

ผลการเรียนรู

มีความรูความเขาใจและสรุปองคความรูพื้นฐานเกี่ยวกับหลักภาษาและการใชภาษาไทยได

สามารถประยุกต ใชความรู เพ�อคิด วิเคราะห ประเด็นที่เกี ่ยวของกับหลักภาษาและการใชภาษา

เพ�อการส�อสาร ตลอดจนนำไปปรับใช ในชีวิตประจำวันได

เห็นถึงความสำคัญและคุณคาของภาษาไทย ในฐานะเคร�องมือที่ใช ในการติดตอส�อสารและมรดกทาง

วัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ

คำอธิบายรายวิชา คำนำ

ศึกษาวิเคราะหหลักภาษา ประกอบดวย ธรรมชาติของภาษา เสียงในภาษาไทย ลักษณะของ

พยางคและคำ การสรางคำในภาษาไทย คำพอง ชนิดของคำในภาษาไทย ประโยค คำยืมภาษาตางประเทศ

ศัพททางวิชาการหรือวิชาชีพ คำราชาศัพท สำนวนไทย และการใชภาษาเพ�อการส�อสาร ประกอบดวย

กระบวนการส�อสาร มารยาทในการส�อสาร ความหมายของคำที่ใช ในการส�อสาร ระดับภาษา การอาน

สะกดคำ การอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง การวิเคราะหงานเขียน การอนุมาน การแสดงทรรศนะ

การโนมนาวใจ การโตแยง โวหารในการเขียน การเขียนเรียงความ การยอความ การเขียนจดหมาย

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานการประชุม การกรอกแบบสมัครงาน

การเขียนขอความในโอกาสตางๆ รวมถึงปญหาในการใชภาษาไทย

ทั้งนี้เพ�อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักภาษาและการใชภาษาไทย เปน

แนวทางและเสริมทักษะในการคิดวิเคราะหประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับหลักภาษาและการใชภาษาเพ�อ

การส�อสาร ตลอดจนสามารถนำไปประยุกตใช ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งจะทำใหเห็นถึงความสำคัญ

และคุณคาของภาษาไทยในฐานะเคร�องมือที่ใช ในการติดตอส�อสารและมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ

อันจะยังประโยชนใหเกิดแกสังคมไทยเปนอเนกประการ

หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม หลักภาษาและการใชภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖

เปนหนังสือเรียนท่ีเรียบเรียงข้ึนอยางสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โดยไดประมวลความรูเก่ียวกับหลักภาษาและการใชภาษาเพ�อการส�อสารท่ีสำคัญในระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔-๖

ในลักษณะของการสรุปเน้ือหาและนำเสนอดวย “เทคนิค” ตางๆ เชน แผนภาพความคิด ภาพประกอบเน้ือหา ฯลฯ

เพ�อใหงายสำหรับการทำความเขาใจของผูเรียน อันจะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนการสอนไดดีย่ิงข้ึน

เนื้อหาในหนังสือเรียนเลมนี้ แบงออกเปน ๒ สวน ไดแก สวนหลักภาษา ประกอบดวย

ธรรมชาติของภาษา เสียงในภาษาไทย ลักษณะของพยางคและคำ การสรางคำในภาษาไทย คำพอง

ชนิดของคำในภาษาไทย ประโยค คำยืมภาษาตางประเทศ ศัพททางวิชาการหรือวิชาชีพ คำราชาศัพท

สำนวนไทย และสวนการใชภาษาเพ�อการส�อสาร ประกอบดวย กระบวนการส�อสาร มารยาทในการส�อสาร

ความหมายของคำที่ใช ในการส�อสาร ระดับภาษา การอานสะกดคำ การอานออกเสียงรอยแกวและ

รอยกรอง การวิเคราะหงานเขียน การอนุมาน การแสดงทรรศนะ การโนมนาวใจ การโตแยง โวหารใน

การเขียน การเขียนเรียงความ การยอความ การเขียนจดหมาย การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียน

รายงานโครงงาน การเขียนรายงานการประชุม การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนขอความในโอกาสตางๆ

และปญหาในการใชภาษาไทย

หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม หลักภาษาและการใชภาษาไทย เลมนี้ นับเปนหนังสือ

ที่มีคุณคาทั้งในแงเนื้อหาและวิธีการถายทอดเนื้อหา ซึ่งไดรับการเรียบเรียงและพิจารณาความถูกตอง

เหมาะสมจากผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน จึงหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเรียนเลมนี้จะเปน

ประโยชนแกผูสอนที่จะนำไปประยุกตใชจัดการเรียนรู เพ�อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุ

ตามเปาหมายของหลักสูตรตอไป

๑.

๒.

๓.

ฝายวิชาการ บริษัท สำนักพิมพเอมพันธ จำกัด

รายวิชาเพิ่มเติม หลักภาษาและการใชภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

จำนวน ๐.๕ หน�วยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง

ผลการเรียนรู

มีความรูความเขาใจและสรุปองคความรูพื้นฐานเกี่ยวกับหลักภาษาและการใชภาษาไทยได

สามารถประยุกต ใชความรู เพ�อคิด วิเคราะห ประเด็นที่เกี ่ยวของกับหลักภาษาและการใชภาษา

เพ�อการส�อสาร ตลอดจนนำไปปรับใช ในชีวิตประจำวันได

เห็นถึงความสำคัญและคุณคาของภาษาไทย ในฐานะเคร�องมือที่ใช ในการติดตอส�อสารและมรดกทาง

วัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ

คำอธิบายรายวิชา คำนำ

ศึกษาวิเคราะหหลักภาษา ประกอบดวย ธรรมชาติของภาษา เสียงในภาษาไทย ลักษณะของ

พยางคและคำ การสรางคำในภาษาไทย คำพอง ชนิดของคำในภาษาไทย ประโยค คำยืมภาษาตางประเทศ

ศัพททางวิชาการหรือวิชาชีพ คำราชาศัพท สำนวนไทย และการใชภาษาเพ�อการส�อสาร ประกอบดวย

กระบวนการส�อสาร มารยาทในการส�อสาร ความหมายของคำที่ใช ในการส�อสาร ระดับภาษา การอาน

สะกดคำ การอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง การวิเคราะหงานเขียน การอนุมาน การแสดงทรรศนะ

การโนมนาวใจ การโตแยง โวหารในการเขียน การเขียนเรียงความ การยอความ การเขียนจดหมาย

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานการประชุม การกรอกแบบสมัครงาน

การเขียนขอความในโอกาสตางๆ รวมถึงปญหาในการใชภาษาไทย

ทั้งนี้เพ�อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักภาษาและการใชภาษาไทย เปน

แนวทางและเสริมทักษะในการคิดวิเคราะหประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับหลักภาษาและการใชภาษาเพ�อ

การส�อสาร ตลอดจนสามารถนำไปประยุกตใช ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งจะทำใหเห็นถึงความสำคัญ

และคุณคาของภาษาไทยในฐานะเคร�องมือที่ใช ในการติดตอส�อสารและมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ

อันจะยังประโยชนใหเกิดแกสังคมไทยเปนอเนกประการ

หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม หลักภาษาและการใชภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖

เปนหนังสือเรียนท่ีเรียบเรียงข้ึนอยางสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โดยไดประมวลความรูเก่ียวกับหลักภาษาและการใชภาษาเพ�อการส�อสารท่ีสำคัญในระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔-๖

ในลักษณะของการสรุปเน้ือหาและนำเสนอดวย “เทคนิค” ตางๆ เชน แผนภาพความคิด ภาพประกอบเน้ือหา ฯลฯ

เพ�อใหงายสำหรับการทำความเขาใจของผูเรียน อันจะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนการสอนไดดีย่ิงข้ึน

เนื้อหาในหนังสือเรียนเลมนี้ แบงออกเปน ๒ สวน ไดแก สวนหลักภาษา ประกอบดวย

ธรรมชาติของภาษา เสียงในภาษาไทย ลักษณะของพยางคและคำ การสรางคำในภาษาไทย คำพอง

ชนิดของคำในภาษาไทย ประโยค คำยืมภาษาตางประเทศ ศัพททางวิชาการหรือวิชาชีพ คำราชาศัพท

สำนวนไทย และสวนการใชภาษาเพ�อการส�อสาร ประกอบดวย กระบวนการส�อสาร มารยาทในการส�อสาร

ความหมายของคำที่ใช ในการส�อสาร ระดับภาษา การอานสะกดคำ การอานออกเสียงรอยแกวและ

รอยกรอง การวิเคราะหงานเขียน การอนุมาน การแสดงทรรศนะ การโนมนาวใจ การโตแยง โวหารใน

การเขียน การเขียนเรียงความ การยอความ การเขียนจดหมาย การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียน

รายงานโครงงาน การเขียนรายงานการประชุม การกรอกแบบสมัครงาน การเขียนขอความในโอกาสตางๆ

และปญหาในการใชภาษาไทย

หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม หลักภาษาและการใชภาษาไทย เลมนี้ นับเปนหนังสือ

ที่มีคุณคาทั้งในแงเนื้อหาและวิธีการถายทอดเนื้อหา ซึ่งไดรับการเรียบเรียงและพิจารณาความถูกตอง

เหมาะสมจากผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน จึงหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเรียนเลมนี้จะเปน

ประโยชนแกผูสอนที่จะนำไปประยุกตใชจัดการเรียนรู เพ�อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุ

ตามเปาหมายของหลักสูตรตอไป

๑.

๒.

๓.

ฝายวิชาการ บริษัท สำนักพิมพเอมพันธ จำกัด

รายวิชาเพิ่มเติม หลักภาษาและการใชภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

จำนวน ๐.๕ หน�วยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง

Page 3: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

การใชภาษาเพ�อการส�อสาร

หลัก

ภาษาและการใชภาษ

าไทย

หลักภาษา

การใชภาษาเพ�อการส�อสารการใชภาษาเพ�อการส�อสารการใชภาษาเพ�อการส�อสารการใชภาษาเพ�อการส�อสาร

แผนภาพแสดงสาระการเรียนรู

ธรรมชาติของภาษา๑

เสียงในภาษาไทย๒

ลักษณะของพยางคและคำ๓

การสรางคำในภาษาไทย๔

คำพอง๕ ชนิดของคำในภาษาไทย๖ ประโยค๗

คำยืมภาษาตางประเทศ ๘

ศัพททางวิชาการ/วิชาชีพ๙

คำราชาศัพท๑๐

สำนวนไทย๑๑

กระบวนการส�อสาร๑มารยาทในการส�อสาร๒

ความหมายของคำที่ใชในการส�อสาร๓

การอานสะกดคำ๕

การอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง๖

การแสดงทรรศนะ๙ การโนมนาวใจ๑๐ โวหารในการเขียน๑๒ การเขียนเรียงความ๑๓

การยอความ ๑๔

การเขียนจดหมาย ๑๕

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ๑๖

การเขียนรายงานโครงงาน ๑๗

การเขียนรายงานการประชุม๑๘

การกรอกแบบสมัครงาน๑๙

ปญหาในการใชภาษาไทย๒๑

การเขียนขอความในโอกาสตางๆ๒๐

การโตแยง ๑๑

การวิเคราะหงานเขียน๗

การอนุมาน๘

ระดับภาษา๔

หลักภาษา

สารบัญ

ธรรมชาติของภาษา

เสียงในภาษาไทย

ลักษณะของพยางคและคำ

การสรางคำในภาษาไทย

คำพอง

ชนิดของคำในภาษาไทย

๑๐

๑๒

ประโยค

คำยืมภาษาตางประเทศ

ศัพททางวิชาการ/วิชาชีพ

คำราชาศัพท

สำนวนไทย

๑๘

๒๒

๓๐

๓๒

๓๖

การใชภาษาเพ�อการส�อสาร

บรรณานุกรม

กระบวนการส�อสาร

มารยาทในการส�อสาร

ความหมายของคำที่ใช ในการส�อสาร

ระดับภาษา

การอานสะกดคำ

การอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง

การวิเคราะหงานเขียน

การอนุมาน

การแสดงทรรศนะ

การโนมนาวใจ

การโตแยง

โวหารในการเขียน

๔๒

๔๔

๔๖

๔๘

๕๒

๖๖

๖๘

๗๐

๗๒

๗๔

๗๖

๗๘

การเขียนเรียงความ

การยอความ

การเขียนจดหมาย

การเขียนรายงานเชิงวิชาการ

การเขียนรายงานโครงงาน

การเขียนรายงานการประชุม

การกรอกแบบสมัครงาน

การเขียนขอความในโอกาสตางๆ

ปญหาในการใชภาษาไทย

๘๐

๘๒

๘๔

๘๖

๘๘

๙๐

๙๒

๙๔

๙๖

Page 4: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

´Ô¹ÊÍ

¹Õè¤×Í ´Ô¹ÊÍ

=àÃÒÃÙŒÊÖ¡§‹Ç§¨Ñ§àÅÂ

ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð

ÊÇÑÊ´Õ¤ÃѺ

ธรรมชาติของภาษา

ภาษาประกอบดวยเสียงและความหมาย

ที่มีแบบแผนการใชอยางเปนระบบ

ภาษาเกิดจากการตกลงใชสัญลักษณ

แทนความหมายรวมกัน

ภาษาใชส�อความหมาย

ไดอยางไมมีที่สิ้นสุด

ภาษามีภาษาพูดใชติดตอส�อสาร

โดยไรขอจำกัดเกี่ยวกับผูสงสาร

ภาษามีภาษาพูดใชติดตอส�อสาร

โดยไรขอจำกัดเร�องเวลาและสถานที่

ภาษาเปนเคร�องมือในการถายทอด

วัฒนธรรมและองคความรู

๑ ธรรมชาติของภาษา

ธรรมชาติของภาษา คือ ลักษณะหรือคุณสมบัติที่มีอยูตามธรรมดาของภาษา

ซ่ึงมีข้ึนหรือเปนไปเอง ท้ังน้ีสามารถจำแนกไดเปน ๖ ลักษณะ (คุณสมบัติ) ตามลักษณะรวม

(คุณสมบัติรวม) ของภาษาสวนใหญ ดังแผนภาพ

หลักภาษา

3

´Ô¹ÊÍ

¹Õè¤×Í ´Ô¹ÊÍ

=àÃÒÃÙŒÊÖ¡§‹Ç§¨Ñ§àÅÂ

ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð

ÊÇÑÊ´Õ¤ÃѺ

ธรรมชาติของภาษา

ภาษาประกอบดวยเสียงและความหมาย

ที่มีแบบแผนการใชอยางเปนระบบ

ภาษาเกิดจากการตกลงใชสัญลักษณ

แทนความหมายรวมกัน

ภาษาใชส�อความหมาย

ไดอยางไมมีที่สิ้นสุด

ภาษามีภาษาพูดใชติดตอส�อสาร

โดยไรขอจำกัดเกี่ยวกับผูสงสาร

ภาษามีภาษาพูดใชติดตอส�อสาร

โดยไรขอจำกัดเร�องเวลาและสถานที่

ภาษาเปนเคร�องมือในการถายทอด

วัฒนธรรมและองคความรู

๑ ธรรมชาติของภาษา

ธรรมชาติของภาษา คือ ลักษณะหรือคุณสมบัติที่มีอยูตามธรรมดาของภาษา

ซ่ึงมีข้ึนหรือเปนไปเอง ท้ังน้ีสามารถจำแนกไดเปน ๖ ลักษณะ (คุณสมบัติ) ตามลักษณะรวม

(คุณสมบัติรวม) ของภาษาสวนใหญ ดังแผนภาพ

หลักภาษา

2

Page 5: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

เสียงพยัญชนะ๑.

พยัญชนะตน

พยัญชนะทาย

สระประสม เพิ่มเติม๔.

สมัยหลังมีการออกเสียงพยัญชนะตนควบ

เพิ่มขึ้น

เสียงวรรณยุกต๓.

วรรณยุกตระดับ

วรรณยุกตเปลี่ยนระดับ

เสียงสระ๒.

สระเดี่ยว

สมัยหลังมีการออกเสียงพยัญชนะทาย

เพิ่มขึ้น

เฟซบุก เทนนิส

ลิฟต

บอล

- เสียงสั้น มี ๙ เสียง

อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ เอาะ เออะ โอะ

- เสียงยาว มี ๙ เสียง

อา อี อื อู เอ แอ ออ เออ โอ

มีเสียง ๙ : /ก/ /ต/ /ป/ /อ/ /ง/ /น/ /ม/ /ย/ /ว/

มีรูป ๓๓+ : เชน

- /ก/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดในแมกก

นก นัข นาค

- /ต/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดในแมกด

อด พุธ รัฐ

จร จรวจ จรวดจรี

ซร สฤก สรเสริญ

ทร นิทรา ทฤษฎี ทรัมเปต

ดร ไฮโดรเจน

บร เบรก

บล บล็อก

ฟร ฟรี

ฟล ฟลูออรีน

- /ป/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดใน

แมกบ พับ บาป ภพ

- /อ/ ไมมีรูปพยัญชนะ ปรากฏในพยางคที่

ประสมดวยสระเสียงสั้น จะจะ ติ ลุ

- /ง/ ใชรูปพยัญชนะ ง ชาง ธง

- /น/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดในแมกน

+ ปรากฏในรูป รร นอน กูล เณร สรร

- /ม/ ใชพยัญชนะ ม + ปรากฏในรูปสระ อำ

นม น้ำ

- /ย/ ใชรูปพยัญชนะ ย + ปรากฏในรูปสระ ไอ ใอ

ชวย ชัย ใช ไซ

- /ว/ ใชรูปพยัญชนะ ว + ปรากฏในรูปสระ เอา

ปลิว วาว เฝา

๒เสียง คือ สิ่งที่เปลงหรือพูดออกมา ผานอวัยวะในการออกเสียง

เสียงในภาษาไทย แบงไดเปน ๓ ประเภท ไดแก เสียงพยัญชนะ

เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต

เสียงในภาษาไทย

5

เสียงพยัญชนะ๑.

พยัญชนะตน

พยัญชนะทาย

สระประสม เพิ่มเติม๔.

สมัยหลังมีการออกเสียงพยัญชนะตนควบ

เพิ่มขึ้น

เสียงวรรณยุกต๓.

วรรณยุกตระดับ

วรรณยุกตเปลี่ยนระดับ

เสียงสระ๒.

สระเดี่ยว

สมัยหลังมีการออกเสียงพยัญชนะทาย

เพิ่มขึ้น

เฟซบุก เทนนิส

ลิฟต

บอล

- เสียงสั้น มี ๙ เสียง

อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ เอาะ เออะ โอะ

- เสียงยาว มี ๙ เสียง

อา อี อื อู เอ แอ ออ เออ โอ

มีเสียง ๙ : /ก/ /ต/ /ป/ /อ/ /ง/ /น/ /ม/ /ย/ /ว/

มีรูป ๓๓+ : เชน

- /ก/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดในแมกก

นก นัข นาค

- /ต/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดในแมกด

อด พุธ รัฐ

จร จรวจ จรวดจรี

ซร สฤก สรเสริญ

ทร นิทรา ทฤษฎี ทรัมเปต

ดร ไฮโดรเจน

บร เบรก

บล บล็อก

ฟร ฟรี

ฟล ฟลูออรีน

- /ป/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดใน

แมกบ พับ บาป ภพ

- /อ/ ไมมีรูปพยัญชนะ ปรากฏในพยางคที่

ประสมดวยสระเสียงสั้น จะจะ ติ ลุ

- /ง/ ใชรูปพยัญชนะ ง ชาง ธง

- /น/ ใชรูปพยัญชนะเชนเดียวกับตัวสะกดในแมกน

+ ปรากฏในรูป รร นอน กูล เณร สรร

- /ม/ ใชพยัญชนะ ม + ปรากฏในรูปสระ อำ

นม น้ำ

- /ย/ ใชรูปพยัญชนะ ย + ปรากฏในรูปสระ ไอ ใอ

ชวย ชัย ใช ไซ

- /ว/ ใชรูปพยัญชนะ ว + ปรากฏในรูปสระ เอา

ปลิว วาว เฝา

๒เสียง คือ สิ่งที่เปลงหรือพูดออกมา ผานอวัยวะในการออกเสียง

เสียงในภาษาไทย แบงไดเปน ๓ ประเภท ไดแก เสียงพยัญชนะ

เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต

เสียงในภาษาไทย

4

Page 6: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

ความหมายของ

พยางคและคำ

๑.

คำเปน-ตายคำเปน-ตาย

๓.

คำ

พยางค

ตารางเสริมความจำ

คำตาย

คำเปน

พยางคหนัก

พยางคเบา

ขอมูลเสริม

พยางคหนัก-เบา = คำครุ-ลหุ

พยางคที่ประสมดวยสระเสียงสั้น เดิมมีเสียงพยัญชนะทาย /อ/

เเตเวลาออกเสียงจริงไมลงน้ำหนัก ทำใหพยางคนั้นไมมีเสียง /อ/

และมีเสียงวรรณยุกตสามัญ

พยางคที่ประสมดวยสระเสียงยาว สระประสม

หรือ สระเสียงสั้น + มีเสียงพยัญชนะทาย

พยางคที่ประสมดวยสระเสียงยาว

หรือสระประสม

พยางคเดียวหรือมากกวา

๑ พยางคที่มีความหมาย

กลุมเสียงที่เปลงออกมาครั้งหนึ่งๆ

จะมีความหมายหรือไมก็ได

พยางคที่มีตัวสะกดแม

“กบด” (กก กบ กด)

พยางคที่มีตัวสะกดแม “นมยวง”

(กน กม เกย เกอว กง)

พยางคที่

ประสมดวย

รูปสระ อำ

ไอ ใอ เอา

พยางคที่มีสระเสียงยาว

(กรณีไมมีตัวสะกดแม “นมยวง”)

พยางคที่มีสระเสียงสั้น (กรณีไมมี

ตัวสะกดแม “กบด”)

“สติ” ออกเสียงลงน้ำหนักตามรูปคำไดวา

สะ(-ติ) [/ซ/ + /ะ/ + /อ/ = เสียงวรรณยุกตเอก]

แตออกเสียงตามจริง ไมลงน้ำหนักไดวา

สะ(-ติ) [/ซ/ + /ะ/ = เสียงวรรณยุกตสามัญ]

เชน

มาก เคล�อน

กับ ผุ

เชน

คอ เพลีย

เสือ วัว

เชน

ตี กบ

กระโดด

เชน

นุ วิ ตี เปนเชน

เกย เณร กลม

หาว โคง

เชน

ทำ ให

ได เตา

เชน

แปร ตา

เท โค

เชน

เมฆ ภาพ กัดเชน

ติ ผุ

แกะ

เชน

คำเปน

๑. ตัวสะกด น ม ย ว ง

ยาว สั้น

-

ก บ ด

๒. เสียงสระ (กรณีไมมีตัวสะกดตามขอ ๑)

๓. มีรูปสระ อำ ไอ ใอ เอา

คำตาย

พยางคหนัก-เบา

๒.

๓ในการศึกษาเร�อง “ลักษณะของพยางคและคำ” จำเปนตองเขาใจเร�องความหมายของ

“พยางค” และ “คำ” ซึ่งเปนคำที่มีความหมายทับซอนกัน รวมทั้งเร�อง “พยางคหนัก-เบา”

และ “คำเปน-ตาย”

ลักษณะของพยางคและคำ

7

ความหมายของ

พยางคและคำ

๑.

คำเปน-ตาย

๓.

คำ

พยางค

ตารางเสริมความจำ

คำตาย

คำเปน

พยางคหนัก

พยางคเบา

ขอมูลเสริม

พยางคหนัก-เบา = คำครุ-ลหุ

พยางคที่ประสมดวยสระเสียงสั้น เดิมมีเสียงพยัญชนะทาย /อ/

เเตเวลาออกเสียงจริงไมลงน้ำหนัก ทำใหพยางคนั้นไมมีเสียง /อ/

และมีเสียงวรรณยุกตสามัญ

พยางคที่ประสมดวยสระเสียงยาว สระประสม

หรือ สระเสียงสั้น + มีเสียงพยัญชนะทาย

พยางคที่ประสมดวยสระเสียงยาว

หรือสระประสม

พยางคเดียวหรือมากกวา

๑ พยางคที่มีความหมาย

กลุมเสียงที่เปลงออกมาครั้งหนึ่งๆ

จะมีความหมายหรือไมก็ได

พยางคที่มีตัวสะกดแม

“กบด” (กก กบ กด)

พยางคที่มีตัวสะกดแม “นมยวง”

(กน กม เกย เกอว กง)

พยางคที่

ประสมดวย

รูปสระ อำ

ไอ ใอ เอา

พยางคที่มีสระเสียงยาว

(กรณีไมมีตัวสะกดแม “นมยวง”)

พยางคที่มีสระเสียงสั้น (กรณีไมมี

ตัวสะกดแม “กบด”)

“สติ” ออกเสียงลงน้ำหนักตามรูปคำไดวา

สะ(-ติ) [/ซ/ + /ะ/ + /อ/ = เสียงวรรณยุกตเอก]

แตออกเสียงตามจริง ไมลงน้ำหนักไดวา

สะ(-ติ) [/ซ/ + /ะ/ = เสียงวรรณยุกตสามัญ]

เชน

มาก เคล�อน

กับ ผุ

เชน

คอ เพลีย

เสือ วัว

เชน

ตี กบ

กระโดด

เชน

นุ วิ ตี เปนเชน

เกย เณร กลม

หาว โคง

เชน

ทำ ให

ได เตา

เชน

แปร ตา

เท โค

เชน

เมฆ ภาพ กัดเชน

ติ ผุ

แกะ

เชน

คำเปน

๑. ตัวสะกด น ม ย ว ง

ยาว สั้น

-

ก บ ด

๒. เสียงสระ (กรณีไมมีตัวสะกดตามขอ ๑)

๓. มีรูปสระ อำ ไอ ใอ เอา

คำตาย

พยางคหนัก-เบา

๒.

๓ ในการศึกษาเร�อง “ลักษณะของพยางคและคำ” จำเปนตองเขาใจเร�องความหมายของ

“พยางค” และ “คำ” ซึ่งเปนคำที่มีความหมายทับซอนกัน รวมทั้งเร�อง “พยางคหนัก-เบา”

และ “คำเปน-ตาย”

ลักษณะของพยางคและคำ

6

Page 7: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

เกิดจากการนำคำที่สามารถปรากฏตามลำพังได

ตั้งเเต ๒ คำขึ้นไปมารวมกัน แลวเกิดความหมาย

ใหม

เกิดจากการนำคำที่มีความหมายเหมือนกัน

ใกลเคียงกัน หรือตรงขามกันมารวมกัน

คำซอนที่เกิดจากการรวมกันของคำที่มี

ความหมายเหมือนกันหรือใกลเคียงกัน

คำที่ขึ้นตนดวย

“การ” “ความ” “ภาวะ” “นัก” “ชาว” “ผู” “ชาง”

“เคร�อง” “ที่” ปจจุบันไมถือวาเปนคำประสม เพราะ

ไมไดเกิดจากการรวมตัวกันของคำที่สามารถปรากฏ

ตามลำพังได

คำที่ขึ้นตนดวย

“สุ” “ทุ” “อภิ” “อธิ” “อติ” “อนุ” “นิร” ฯลฯ

ปจจุบันไมถือวาเปนคำสมาสเพราะคำเหลานี้

เปนคำอุปสรรค

หมอ ฟน หมอฟน

คำประสม คำซอน

+ =

เชน น้ำจืด กุงเค็ม ขนมหวาน เทียนไข

น้ำมัน โทรศัพทมือถือ

เชน ชุมฉ่ำ ทุบตี ถวยโถโอชาม

หมูเห็ดเปดไก

คำซอนที่เกิดจากการรวมกันของคำที่มี

ความหมายตรงขามกัน

เชน ผิดชอบชั่วดี ชั่วดีถี่หาง

เกิดจากการกลาวซ้ำคำเดิม

คำซ้ำที่ไมเปลี่ยนเสียง

เกิดจากการนำคำในภาษาบาลีหรือสันสกฤตมา

รวมกัน คำที่นำมารวมกันตองไมใชคำอุปสรรค

คำสมาสที่มีการสนธิ

คำซ้ำ คำสมาส

เชน ไปๆ มาๆ ซ้ำๆ

คำซ้ำที่เปลี่ยนเสียง

เชน ด๊ำดำ ฮอมหอม

ศาสตร + อาจารย = ศาสตราจารย,

เทว + อินทร = เทวินทร

คำสมาสที่ไมมีการสนธิ

ทัศน + ศึกษา = ทัศนศึกษา,

พันธ + กิจ = พันธกิจ

การสรางคำ เปนกระบวนการทางภาษาที่ทำใหเกิดคำใหมขึ้นใช ในภาษาหนึ่งๆ

ในภาษาไทยมีคำที่เกิดจากการสรางคำ ๔ ลักษณะ ไดแก คำประสม คำซอน คำซ้ำ

และคำสมาส

การสรางคำในภาษาไทย๔9

เกิดจากการนำคำที่สามารถปรากฏตามลำพังได

ตั้งเเต ๒ คำขึ้นไปมารวมกัน แลวเกิดความหมาย

ใหม

เกิดจากการนำคำที่มีความหมายเหมือนกัน

ใกลเคียงกัน หรือตรงขามกันมารวมกัน

คำซอนที่เกิดจากการรวมกันของคำที่มี

ความหมายเหมือนกันหรือใกลเคียงกัน

คำที่ขึ้นตนดวย

“การ” “ความ” “ภาวะ” “นัก” “ชาว” “ผู” “ชาง”

“เคร�อง” “ที่” ปจจุบันไมถือวาเปนคำประสม เพราะ

ไมไดเกิดจากการรวมตัวกันของคำที่สามารถปรากฏ

ตามลำพังได

คำที่ขึ้นตนดวย

“สุ” “ทุ” “อภิ” “อธิ” “อติ” “อนุ” “นิร” ฯลฯ

ปจจุบันไมถือวาเปนคำสมาสเพราะคำเหลานี้

เปนคำอุปสรรค

หมอ ฟน หมอฟน

คำประสม คำซอน

+ =

เชน น้ำจืด กุงเค็ม ขนมหวาน เทียนไข

น้ำมัน โทรศัพทมือถือ

เชน ชุมฉ่ำ ทุบตี ถวยโถโอชาม

หมูเห็ดเปดไก

คำซอนที่เกิดจากการรวมกันของคำที่มี

ความหมายตรงขามกัน

เชน ผิดชอบชั่วดี ชั่วดีถี่หาง

เกิดจากการกลาวซ้ำคำเดิม

คำซ้ำที่ไมเปลี่ยนเสียง

เกิดจากการนำคำในภาษาบาลีหรือสันสกฤตมา

รวมกัน คำที่นำมารวมกันตองไมใชคำอุปสรรค

คำสมาสที่มีการสนธิ

คำซ้ำ คำสมาส

เชน ไปๆ มาๆ ซ้ำๆ

คำซ้ำที่เปลี่ยนเสียง

เชน ด๊ำดำ ฮอมหอม

ศาสตร + อาจารย = ศาสตราจารย,

เทว + อินทร = เทวินทร

คำสมาสที่ไมมีการสนธิ

ทัศน + ศึกษา = ทัศนศึกษา,

พันธ + กิจ = พันธกิจ

การสรางคำ เปนกระบวนการทางภาษาที่ทำใหเกิดคำใหมขึ้นใช ในภาษาหนึ่งๆ

ในภาษาไทยมีคำที่เกิดจากการสรางคำ ๔ ลักษณะ ไดแก คำประสม คำซอน คำซ้ำ

และคำสมาส

การสรางคำในภาษาไทย๔8

Page 8: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

คำพองรูป

คำพองเสียง

คำพองทั้งรูป

และเสียง

คำพอง

ความหมาย

ตารางสรุป

เร�องคำพอง

คำที่เขียนเหมือนกันเเตอานออกเสียงตางกัน

และมีความหมายตางกันคำที่เขียนและออกเสียงเหมือนกัน

แตมีความหมายตางกัน

เชน

คำพอง

คำพองรูป เหมือน

เหมือน

เหมือน เหมือน

เหมือน

ตาง ตาง

ตาง ตาง

ตาง

ตางตาง/

เหมือน

คำพองเสียง

คำพองทั้ง

รูปและเสียง

คำพอง

ความหมาย

รูป เสียง ความหมาย

คำที่ออกเสียงเหมือนกันเเตเขียนตางกันและมี

ความหมายตางกัน

เชน ใส-ไส-ไสย

การ-กาล-กาฬ-กาญจน-การณ

คำพอง รูป เสียง ความหมาย

คำพองรูป

คำพองเสียง

คำพองทั้ง

รูปและเสียง

คำพอง

ความหมาย

เชน เสลา (อาน เส-ลา/ สะ-เหฺลา)

เพลา (อาน เพ-ลา/ เพฺลา)

เส-ลา สะ-เหฺลา

แกวใส ไสวาสิบถิ่มกัน ไสยศาสตร

เพ-ลา เพฺลา

การงาน กาล กาฬ

ทองกาญจน เหตุการณ

ดำ

ขันน้ำ ไกขัน ขบขัน

สระน้ำ สระผม

คำที่เขียนตางกันแตมีความหมายเหมือนกัน

หรือใกลเคียงกันมาก (คำไวพจน)

เชน ผูหญิง สตรี นารี กัลยา อนงค

๕ คำพอง คือ คำที่มีลักษณะบางประการเหมือนกันและมีลักษณะบางประการที่

แตกตางกัน ในภาษาไทยปรากฏคำพอง ๔ ประเภท ไดแก คำพองรูป คำพองเสียง

คำพองทั้งรูปและเสียง และคำพองความหมาย

คำพอง

11

คำพองรูป

คำพองเสียง

คำพองทั้งรูป

และเสียง

คำพอง

ความหมาย

ตารางสรุป

เร�องคำพอง

คำที่เขียนเหมือนกันเเตอานออกเสียงตางกัน

และมีความหมายตางกันคำที่เขียนและออกเสียงเหมือนกัน

แตมีความหมายตางกัน

เชน

คำพอง

คำพองรูป เหมือน

เหมือน

เหมือน เหมือน

เหมือน

ตาง ตาง

ตาง ตาง

ตาง

ตางตาง/

เหมือน

คำพองเสียง

คำพองทั้ง

รูปและเสียง

คำพอง

ความหมาย

รูป เสียง ความหมาย

คำที่ออกเสียงเหมือนกันเเตเขียนตางกันและมี

ความหมายตางกัน

เชน ใส-ไส-ไสย

การ-กาล-กาฬ-กาญจน-การณ

เชน เสลา (อาน เส-ลา/ สะ-เหฺลา)

เพลา (อาน เพ-ลา/ เพฺลา)

เส-ลา สะ-เหฺลา

แกวใส ไสวาสิบถิ่มกัน ไสยศาสตร

เพ-ลา เพฺลา

การงาน กาล กาฬ

ทองกาญจน เหตุการณ

ดำ

ขันน้ำ ไกขัน ขบขัน

สระน้ำ สระผม

คำที่เขียนตางกันแตมีความหมายเหมือนกัน

หรือใกลเคียงกันมาก (คำไวพจน)

เชน ผูหญิง สตรี นารี กัลยา อนงค

๕ คำพอง คือ คำที่มีลักษณะบางประการเหมือนกันและมีลักษณะบางประการที่

แตกตางกัน ในภาษาไทยปรากฏคำพอง ๔ ประเภท ไดแก คำพองรูป คำพองเสียง

คำพองทั้งรูปและเสียง และคำพองความหมาย

คำพอง

10

Page 9: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

ของเดิมแบงเปน ๗ ชนิด

ของใหมแบงเปน ๑๒ ชนิด

คำนาม

คำสรรพนาม

คำกริยา

คำวิเศษณ

คำบุพบท

คำสันธาน

คำอุทาน

คำนามสามัญ

คือคำเรียกสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต

ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม

สุนัข บางแกว หลังอาน

คือคำนามที่ไมใชช�อตั้งขึ้นเฉพาะ

สำหรับเรียกสิ่งนั้นๆ

คำนามวิสามัญไอดาง เจาแตม

คือคำนามที่เปนช�อตั้งขึ้นเฉพาะ

สำหรับเรียกสิ่งนั้นๆ

คำลักษณนาม

นกตัวนั้น

ชางหลายโขลง

หอม ๒ ฟอด

คือคำที่ใชบอกลักษณะ

ของคำนามหรือคำกริยา

คำอาการนามการคิด

ความดี

คือคำที่เกิดจากการเติมคำวา

“การ” หรือ “ความ” หนากริยา

คำสรรพนามถาม

“ใคร” เชน ใครกำลังมา

“อะไร” เชน เธอทำอะไร

“ไหน” เชน แมวของฉันหายไปไหน

ใชแทนนามและ

แสดงการถาม

ความหมาย

เชน นิยามของคำลักษณนาม,

การรวมคำสมุหนามเปน

คำลักษณนาม

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิมคำนาม

คำบุรุษสรรพนาม

คือคำที่ใชแทนคำนาม

ใชแทนคน สัตว สิ่งของ

หรือความคิด

ความหมาย

เชน ไมจัดคำประเภท

“ประพันธสรรพนาม” ไว ในกลุม

คำสรรพนามแตจัดไว ในกลุมคำเช�อม

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิมคำสรรพนาม

ฉัน ขา ขาพเจา กู

สรรพนามบุรุษที่ ๑ แทนผูสงสาร

เธอ แก เอ็ง มึง

สรรพนามบุรุษที่ ๒ แทนผูรับสาร

เขา มัน ทาน

สรรพนามบุรุษที่ ๓ แทนผูที่กลาวถึงสรรพนามบุรุษที่ ๓

๖ คำ ในภาษาไทย เดิมจำแนกเปน ๗ ชนิด แตปจจุบันจำแนกเปน ๑๒ ชนิด

โดยใชเกณฑหนาที่ ตำแหน�งที่คำปรากฏและสัมพันธกับคำอ�น และเกณฑ

ความหมายประกอบกัน

ชนิดของคำในภาษาไทย

13

ของเดิมแบงเปน ๗ ชนิด

ของใหมแบงเปน ๑๒ ชนิด

คำนาม

คำสรรพนาม

คำกริยา

คำวิเศษณ

คำบุพบท

คำสันธาน

คำอุทาน

คำนามสามัญ

คือคำเรียกสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต

ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม

สุนัข บางแกว หลังอาน

คือคำนามที่ไมใชช�อตั้งขึ้นเฉพาะ

สำหรับเรียกสิ่งนั้นๆ

คำนามวิสามัญไอดาง เจาแตม

คือคำนามที่เปนช�อตั้งขึ้นเฉพาะ

สำหรับเรียกสิ่งนั้นๆ

คำลักษณนาม

นกตัวนั้น

ชางหลายโขลง

หอม ๒ ฟอด

คือคำที่ใชบอกลักษณะ

ของคำนามหรือคำกริยา

คำอาการนามการคิด

ความดี

คือคำที่เกิดจากการเติมคำวา

“การ” หรือ “ความ” หนากริยา

คำสรรพนามถาม

“ใคร” เชน ใครกำลังมา

“อะไร” เชน เธอทำอะไร

“ไหน” เชน แมวของฉันหายไปไหน

ใชแทนนามและ

แสดงการถาม

ความหมาย

เชน นิยามของคำลักษณนาม,

การรวมคำสมุหนามเปน

คำลักษณนาม

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิมคำนาม

คำบุรุษสรรพนาม

คือคำที่ใชแทนคำนาม

ใชแทนคน สัตว สิ่งของ

หรือความคิด

ความหมาย

เชน ไมจัดคำประเภท

“ประพันธสรรพนาม” ไว ในกลุม

คำสรรพนามแตจัดไว ในกลุมคำเช�อม

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิมคำสรรพนาม

ฉัน ขา ขาพเจา กู

สรรพนามบุรุษที่ ๑ แทนผูสงสาร

เธอ แก เอ็ง มึง

สรรพนามบุรุษที่ ๒ แทนผูรับสาร

เขา มัน ทาน

สรรพนามบุรุษที่ ๓ แทนผูที่กลาวถึง

๖ คำ ในภาษาไทย เดิมจำแนกเปน ๗ ชนิด แตปจจุบันจำแนกเปน ๑๒ ชนิด

โดยใชเกณฑหนาที่ ตำแหน�งที่คำปรากฏและสัมพันธกับคำอ�น และเกณฑ

ความหมายประกอบกัน

ชนิดของคำในภาษาไทย

12

Page 10: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

ของใหมแบงเปน ๑๒ ชนิด (ตอ)

คำสรรพนามชี้เฉพาะ

“นี”่ “นั่น” “โน�น” “นูน”

เชน โน�นคือบานของฉัน

“นี”้ “นั้น” “โนน” “นูน”

เชน บนนั้นมีนกทำรัง

ใชแทนนามและบอกระยะใกลไกล

“ใคร” เชน ใครจะไปก็เชิญเลย

“อะไร” เชน วันนี้ฉันกินอะไรก็ได

“ไหน” เชน ค่ำไหนนอนนั่น

ใชแทนนามที่ไมไดระบุแน�นอน

วาหมายถึงผู ใด อะไร หรือสถานที่ใด

คำสรรพนาม

(ตอ)

คำสรรพนามไมชี้เฉพาะ

บาง เชน นักทองเที่ยวกลุมนั้น

บางก็กินสมตำ บางก็กินตมยำ

ตาง เชน นักเรียนตางเรงจัด

ปายนิทรรศการ

กัน เชน นักเรียนคุยกันเสียงดัง

ใชแทนนามหรือสรรพนามที่อยูขางหนา

เพ�อแสดงวามีหลายสวนหลายฝาย

ซึ่งทำกิริยาตางกันหรืออยางเดียวกัน

คำสรรพนามแยกฝาย

คือคำที่แสดงการกระทำหรือสภาพ

ความหมาย

เชน ขยายขอบเขตของคำกริยา

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิม

คำกริยา

เชน กิน เดิน วิ่ง สามัคคี ดี สูง

คือคำขยายกริยา สวนใหญปรากฏ

ตามหลังคำกริยา

ความหมาย

คำวิเศษณ

เชน วาวลอยอยูสูง, ฉันอิ่มแลว,

เหลืองออย, เขากันเปนปเปนขลุย,

ทำไมเธอไมมา

คือคำขยายนาม และปรากฏ

ตามหลังนามเสมอ

ความหมายคำบอก

กำหนด

เชน นกตัวนั้นอยูบนหลังคา,

คนอ�นไมเกี่ยว

คือคำที่ชวยแสดงการกระทำหรือ

สภาพ ปรากฏหนาคำกริยาเสมอ

ความหมายคำชวย

กริยา

เชน คง จะ ยัง ตอง

คำกริยาบางคำอาจทำหนาที่

เปนคำวิเศษณได ขึ้นอยูกับ

บริบทในแตละประโยค

คำบอกกำหนดบางสวน ของเดิม

จัดใหอยูในคำวิเศษณ

ของเดิม จัดใหเปนสวนหนึ่ง

ของคำกริยา

15

ของใหมแบงเปน ๑๒ ชนิด (ตอ)

คำสรรพนามชี้เฉพาะ

“นี”่ “นั่น” “โน�น” “นูน”

เชน โน�นคือบานของฉัน

“นี”้ “นั้น” “โนน” “นูน”

เชน บนนั้นมีนกทำรัง

ใชแทนนามและบอกระยะใกลไกล

“ใคร” เชน ใครจะไปก็เชิญเลย

“อะไร” เชน วันนี้ฉันกินอะไรก็ได

“ไหน” เชน ค่ำไหนนอนนั่น

ใชแทนนามที่ไมไดระบุแน�นอน

วาหมายถึงผู ใด อะไร หรือสถานที่ใด

คำสรรพนาม

(ตอ)

คำสรรพนามไมชี้เฉพาะ

บาง เชน นักทองเที่ยวกลุมนั้น

บางก็กินสมตำ บางก็กินตมยำ

ตาง เชน นักเรียนตางเรงจัด

ปายนิทรรศการ

กัน เชน นักเรียนคุยกันเสียงดัง

ใชแทนนามหรือสรรพนามที่อยูขางหนา

เพ�อแสดงวามีหลายสวนหลายฝาย

ซึ่งทำกิริยาตางกันหรืออยางเดียวกัน

คำสรรพนามแยกฝาย

คือคำที่แสดงการกระทำหรือสภาพ

ความหมาย

เชน ขยายขอบเขตของคำกริยา

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิม

คำกริยา

เชน กิน เดิน วิ่ง สามัคคี ดี สูง

คือคำขยายกริยา สวนใหญปรากฏ

ตามหลังคำกริยา

ความหมาย

คำวิเศษณ

เชน วาวลอยอยูสูง, ฉันอิ่มแลว,

เหลืองออย, เขากันเปนปเปนขลุย,

ทำไมเธอไมมา

คือคำขยายนาม และปรากฏ

ตามหลังนามเสมอ

ความหมายคำบอก

กำหนด

เชน นกตัวนั้นอยูบนหลังคา,

คนอ�นไมเกี่ยว

คือคำที่ชวยแสดงการกระทำหรือ

สภาพ ปรากฏหนาคำกริยาเสมอ

ความหมายคำชวย

กริยา

เชน คง จะ ยัง ตอง

คำกริยาบางคำอาจทำหนาที่

เปนคำวิเศษณได ขึ้นอยูกับ

บริบทในแตละประโยค

คำบอกกำหนดบางสวน ของเดิม

จัดใหอยูในคำวิเศษณ

ของเดิม จัดใหเปนสวนหนึ่ง

ของคำกริยา

14

Page 11: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

ของใหมแบงเปน ๑๒ ชนิด (ตอ)

คือคำที่บอกความสัมพันธระหวาง

นามกับนาม (สรรพนาม) หรือนาม

กับกริยาในประโยคเดียวกัน

ความหมาย

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิม

คำบุพบท

เชน แมวของฉัน เธอนั่งบนเตียง

คือคำที่ใชเช�อมคำ วลี หรือประโยค

ความหมาย

คำเช�อมตางจากคำสันธาน

เพราะคำสันธานใชเช�อมประโยค

เทานั้น

คำเช�อม

เชน ผักและผลไม,

ฉันชอบอาหารที่แมทำ,

ตาปลูกผักและเลี้ยงไก

คือคำที่เปลงออกมาเพ�อแสดง

อารมณความรูสึกตางๆ เวลาเขียน

ใชเคร�องหมาย ! (อัศเจรีย) กำกับ

ความหมาย

!

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิมคำอุทาน

เชน เอะ ! ไชโย ! โธ !

เชน ไมมีคำอุทานเสริมบท

คือคำที่แสดงการไมยอมรับ

หรือบอกปด

ความหมาย

คำปฏิเสธ ของเดิมจัดใหอยูใน

คำวิเศษณ

คำปฏิเสธ

เชน ไม มิ หาไม

คือคำที่ลงทายประโยคแสดงเจตนา

ความรูสึก หรือมารยาท

ความหมาย

คำลงทายบางสวน ของเดิม

จัดใหอยูในคำวิเศษณ

คำลงทาย

เชน ซิ เถอะ นะ ครับ คะ

คำที่เกี่ยวกับจำนวนบางสวน

ของเดิมจัดใหอยูในคำวิเศษณ

คำที่เกี่ยวกับ

จำนวน

เชน หนึ่ง สอง ทุก หลาย

สุดทาย อีก กวาๆ

¢Íº¤Ø³¤ÃѺ

17

ของใหมแบงเปน ๑๒ ชนิด (ตอ)

คือคำที่บอกความสัมพันธระหวาง

นามกับนาม (สรรพนาม) หรือนาม

กับกริยาในประโยคเดียวกัน

ความหมาย

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิม

คำบุพบท

เชน แมวของฉัน เธอนั่งบนเตียง

คือคำที่ใชเช�อมคำ วลี หรือประโยค

ความหมาย

คำเช�อมตางจากคำสันธาน

เพราะคำสันธานใชเช�อมประโยค

เทานั้น

คำเช�อม

เชน ผักและผลไม,

ฉันชอบอาหารที่แมทำ,

ตาปลูกผักและเลี้ยงไก

คือคำที่เปลงออกมาเพ�อแสดง

อารมณความรูสึกตางๆ เวลาเขียน

ใชเคร�องหมาย ! (อัศเจรีย) กำกับ

ความหมาย

!

รายละเอียดบางอยาง

ตางจากของเดิมคำอุทาน

เชน เอะ ! ไชโย ! โธ !

เชน ไมมีคำอุทานเสริมบท

คือคำที่แสดงการไมยอมรับ

หรือบอกปด

ความหมาย

คำปฏิเสธ ของเดิมจัดใหอยูใน

คำวิเศษณ

คำปฏิเสธ

เชน ไม มิ หาไม

คือคำที่ลงทายประโยคแสดงเจตนา

ความรูสึก หรือมารยาท

ความหมาย

คำลงทายบางสวน ของเดิม

จัดใหอยูในคำวิเศษณ

คำลงทาย

เชน ซิ เถอะ นะ ครับ คะ

คำที่เกี่ยวกับจำนวนบางสวน

ของเดิมจัดใหอยูในคำวิเศษณ

คำที่เกี่ยวกับ

จำนวน

เชน หนึ่ง สอง ทุก หลาย

สุดทาย อีก กวาๆ

¢Íº¤Ø³¤ÃѺ

16

Page 12: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

สวนประกอบของประโยค

คือคำนามหรือคำนามกับสวนขยาย

ทำหนาที่เปนผูกระทำ ผูแสดงสภาพ หรือเจาของคุณสมบัติ

“ประธาน” ในประโยคไมมีก็ ได (ละไว)

คือคำกริยาหรือคำกริยากับสวนขยาย ทำหนาที่แสดงการกระทำ

สภาพ หรือคุณสมบัติของเจาของ

“ภาคแสดง” ในประโยคไมมี ไม ได ถาไมมี ไม ใชประโยค

ประธาน

ภาคแสดง

ตัวอยางประโยค

หิว

ฉันหิวขาวมาก

ฉันและนองหิวขาวมาก ฉันและนอง หิวขาวมาก

-

ฉัน

หิว

หิวขาวมาก

ประธาน ภาคแสดง

ประโยค คือ ขอความท่ีส�อความหมายไดวาเกิดอะไรข้ึนหรือมีสภาพอยางไร ประโยคมี

สวนประกอบหลัก ๒ สวน ไดแก สวนประธาน และสวนภาคแสดง ท้ังน้ีประโยคสามารถ

แบงไดหลายชนิดตามเกณฑท่ีใชแบง เชน แบงตามเจตนา แบงตามโครงสราง ฯลฯ อน่ึง

การแบงประโยคตามโครงสราง ถาแบงตามแบบเดิม จะจำแนกเปน ประโยคความเดียว

ประโยคความรวม และประโยคความซอน แตถาแบงตามแบบใหม จะจำแนกเปน

ประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอน

ประโยค๗19

สวนประกอบของประโยค

คือคำนามหรือคำนามกับสวนขยาย

ทำหนาที่เปนผูกระทำ ผูแสดงสภาพ หรือเจาของคุณสมบัติ

“ประธาน” ในประโยคไมมีก็ ได (ละไว)

คือคำกริยาหรือคำกริยากับสวนขยาย ทำหนาที่แสดงการกระทำ

สภาพ หรือคุณสมบัติของเจาของ

“ภาคแสดง” ในประโยคไมมี ไม ได ถาไมมี ไม ใชประโยค

ประธาน

ภาคแสดง

ตัวอยางประโยค

หิว

ฉันหิวขาวมาก

ฉันและนองหิวขาวมาก ฉันและนอง หิวขาวมาก

-

ฉัน

หิว

หิวขาวมาก

ประธาน ภาคแสดง

ประโยค คือ ขอความท่ีส�อความหมายไดวาเกิดอะไรข้ึนหรือมีสภาพอยางไร ประโยคมี

สวนประกอบหลัก ๒ สวน ไดแก สวนประธาน และสวนภาคแสดง ท้ังน้ีประโยคสามารถ

แบงไดหลายชนิดตามเกณฑท่ีใชแบง เชน แบงตามเจตนา แบงตามโครงสราง ฯลฯ อน่ึง

การแบงประโยคตามโครงสราง ถาแบงตามแบบเดิม จะจำแนกเปน ประโยคความเดียว

ประโยคความรวม และประโยคความซอน แตถาแบงตามแบบใหม จะจำแนกเปน

ประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอน

ประโยค๗18

Page 13: หลักภาษาและการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th › textbook › web › images › book › 1579765123_example.pdfศึกษาวิเคราะห

และ แต

หรือ

ตัวอยางประโยครวม ประโยคยอย ประโยคยอย คำเช�อม

ฉันไมชอบและไมเขาใจสิ่งที่เธอทำ ฉันไมชอบ (สามัญ) ไมเขาใจสิ่งที่เธอทำ

(ซอน)

เธอจะไปดูหนังหรือจะเดินซื้อของ เธอจะไปดูหนัง (สามัญ) จะเดินซื้อของ

(สามัญ)

หรือ

และ

ประโยครวม

- เกิดจากการนำประโยคยอยซึ่งเปนประโยคสามัญ

หรือประโยคซอน ตั้งแต ๒ ประโยคมารวมกัน

- มีคำ “และ” “แต” “หรือ” หรือคำที่มีความหมาย

ในทำนองนี้ เช�อมประโยคเขาดวยกัน

ชนิดของประโยค

แบบเดิม

แจงใหทราบ เชน แมกำลังทำงานอยูในบาน, พอไมไดไปตลาดเม�อเชานี้

ถามใหตอบ เชน แมกำลังทำอะไร, เม�อเชานี้พอไปที่ไหนมา

บอกใหทำ เชน ปดหนาตางเดี๋ยวนี้, เธอชวยซื้อของมาใหฉันหน�อยนะ, โปรดรักษาความสะอาด

แบงตามเจตนา

แบงตามโครงสราง

ประโยคความเดียว ประโยคสามัญ=/

ประโยคความรวม ประโยครวม=/

ประโยคความซอน ประโยคซอน=/

แบบใหม ประโยคสามัญ

- มีกริยาตัวเดียว

- มีกริยาหลายตัวเรียงกัน โดยไมมีคำเช�อม

ตัวอยางประโยคสามัญ

นองไปหัวหิน

นองไปเที่ยวพักผอนที่หัวหิน

ไป

ไป, เที่ยว, พักผอน

กริยา

ตัวอยางประโยคซอน ประโยคหลัก อนุประโยค คำเช�อม

ดอกกุหลาบที่ถืออยูเปนของเพ�อน

ฉันรอเธอจนหิวขาว

ดอกกุหลาบเปนของเพ�อน

ฉันรอเธอ

ที่ถืออยู

จนหิวขาว

ที่

จน

ประโยคซอน

- เกิดจากการรวมกันของประโยคหลักกับอนุประโยค

- อนุประโยค มีคำกริยาเชนเดียวกับประโยคทั่วไป

- อนุประโยค จะขึ้นตนดวยคำเช�อมที่ไมใช “และ” “แต”

“หรือ” (หรือคำที่มีความหมายในทำนองนี้) เชน

ที่ ซึ่ง อัน วา จน เม�อ ถา ฯลฯ

ที่ ซึ่ง

อัน จน

เม�อ ถา

21

และ แต

หรือ

ตัวอยางประโยครวม ประโยคยอย ประโยคยอย คำเช�อม

ฉันไมชอบและไมเขาใจสิ่งที่เธอทำ ฉันไมชอบ (สามัญ) ไมเขาใจสิ่งที่เธอทำ

(ซอน)

เธอจะไปดูหนังหรือจะเดินซื้อของ เธอจะไปดูหนัง (สามัญ) จะเดินซื้อของ

(สามัญ)

หรือ

และ

ประโยครวม

- เกิดจากการนำประโยคยอยซึ่งเปนประโยคสามัญ

หรือประโยคซอน ตั้งแต ๒ ประโยคมารวมกัน

- มีคำ “และ” “แต” “หรือ” หรือคำที่มีความหมาย

ในทำนองนี้ เช�อมประโยคเขาดวยกัน

ชนิดของประโยค

แบบเดิม

แจงใหทราบ เชน แมกำลังทำงานอยูในบาน, พอไมไดไปตลาดเม�อเชานี้

ถามใหตอบ เชน แมกำลังทำอะไร, เม�อเชานี้พอไปที่ไหนมา

บอกใหทำ เชน ปดหนาตางเดี๋ยวนี้, เธอชวยซื้อของมาใหฉันหน�อยนะ, โปรดรักษาความสะอาด

แบงตามเจตนา

แบงตามโครงสราง

ประโยคความเดียว ประโยคสามัญ=/

ประโยคความรวม ประโยครวม=/

ประโยคความซอน ประโยคซอน=/

แบบใหม ประโยคสามัญ

- มีกริยาตัวเดียว

- มีกริยาหลายตัวเรียงกัน โดยไมมีคำเช�อม

ตัวอยางประโยคสามัญ

นองไปหัวหิน

นองไปเที่ยวพักผอนที่หัวหิน

ไป

ไป, เที่ยว, พักผอน

กริยา

ตัวอยางประโยคซอน ประโยคหลัก อนุประโยค คำเช�อม

ดอกกุหลาบที่ถืออยูเปนของเพ�อน

ฉันรอเธอจนหิวขาว

ดอกกุหลาบเปนของเพ�อน

ฉันรอเธอ

ที่ถืออยู

จนหิวขาว

ที่

จน

ประโยคซอน

- เกิดจากการรวมกันของประโยคหลักกับอนุประโยค

- อนุประโยค มีคำกริยาเชนเดียวกับประโยคทั่วไป

- อนุประโยค จะขึ้นตนดวยคำเช�อมที่ไมใช “และ” “แต”

“หรือ” (หรือคำที่มีความหมายในทำนองนี้) เชน

ที่ ซึ่ง อัน วา จน เม�อ ถา ฯลฯ

ที่ ซึ่ง

อัน จน

เม�อ ถา

20