asat ejournal vol 1- no 1

106
วารสารคณะสัตว มห มหาว ปทีวศาสตรและเทคโนโลย หาวิทยาลัยศิลปากร คณะสัตวศาสตรและเทค วิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตส 1 ฉบับที1 เดือนมกราคม ยีการเกษตร คโนโลยีการเกษตร สารสนเทศเพชรบุรี มิถุนายน พ.ศ.2553 ISSN: 1906-7976

Upload: hunde-lieben

Post on 18-Nov-2014

126 views

Category:

Documents


5 download

TRANSCRIPT

Page 1: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากรปที่

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

มิถุนายน พ.ศ.2553

ISSN: 1906-7976

Page 2: ASAT eJournal Vol 1- No 1
Page 3: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Journal of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology,

Silpakorn University

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ.2553

Vol. 1 No.1 2010

ISSN 1906-7976

กําหนดการออกและการเผยแพร

ปละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – เดือนมิถุนายน

ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – เดือนธันวาคม

เผยแพรออนไลน http://www.asat.su.ac.th

Page 4: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

คณะกรรมการดําเนินการวารสารอิเล็กทรอนิกส คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

คณบดี คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ประธานที่ปรึกษา

รองคณบดี ฝายบริหารและวางแผน ที่ปรึกษา

รองคณบดี ฝายวิชาการ วิจัย ที่ปรึกษา

รองคณบดี ฝายกิจการนักศึกษา ที่ปรึกษา

ผูชวยคณบดี ฝายบริหารและวางแผน ที่ปรึกษา

ผูชวยคณบดี ฝายวิชาการ วิจัย ที่ปรึกษา

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล ประธานคณะกรรมการ

รองศาสตราจารย มานะ กาญจนมณีเสถียร กรรมการ

อาจารย ดร.อนันท เชาวเครือ กรรมการ

อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล กรรมการ

อาจารย อนวัช บุญญภักดี กรรมการ

อาจารย นวลเพ็ญ พวงพันสี กรรมการ

อาจารย พิสิษฐ สุวรรณแพทย กรรมการและเลขานุการ

นายจารุกิตติ์ สมโสภณ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 5: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

บรรณาธิการที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข

บรรณาธิการ

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

email address: [email protected]

ผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ

รองศาสตราจารย นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข รองศาสตราจารยมานะ กาญจนมณีเสถียร

ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม ผูชวยศาสตราจารยอุไรวรรณ ไอยสุวรรณ

ผูชวยศาสตราจารยภัทราพร ภุมรินทร อาจารย ดร.ศิวพร แพงคํา

อาจารย นายสัตวแพทย ดร.นรินทร ปริยวิชญภักดี อาจารย ดร.สุภาวดี มานะไตรนนท

อาจารย ดร.อนันท เชาวเครือ อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาจารย พิสิษฐ สุวรรณแพทย นายจารุกิตติ์ สมโสภณ

Page 6: ASAT eJournal Vol 1- No 1

บ[[[บทบรรณาธิการ

“วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร” ฉบับปฐมฤกษ เกิดขึ้นตามดําริของ

ทานคณบดี (รองศาสตราจารย นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข) เพื่อรวมการฉลองเนื่องในโอกาสที่คณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร กอตั้งครบรอบปที่ 9 ในป พ.ศ.2553 โดยมีวัตถุประสงคในการเผยแพรบทความทางวิชาการและ

งานวิจัยของคณาจารยและบุคลากรของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรสูสังคม และรับบทความจาก

นักวิชาการและผูสนใจ โดยจัดเผยแพรแบบออนไลน

การจัดทําวารสารฉบับปฐมฤกษนี้ ไดรับอนุเคราะหจากคณาจารยทั้งภายในและภายนอกคณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร สงบทความทางวิชาการและงานวิจัยมายังกองบรรณาธิการจํานวนหลายเรื่อง ถือไดวาเปนการตอบ

รับที่ดีมาก ถึงแมการจัดทําวารสารฉบับปฐมฤกษจะมีขอขัดของหลายประการ แตก็ไดรับความอนุเคราะหจากทุกฝายจน

สามารถดําเนินการลุลวงไดเปนอยางดี

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

บรรณาธิการ

Page 7: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

สารบัญเรื่อง หนา

การใชเทคนิค 16S rRNA ในการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในรูเมนศิวพร แพงคํา……………………………………………………………………………………. 1

บทบาทของเชื้อราในกระเพาะรูเมนตอการยอยสลายอาหารเยื่อใยศิวพร แพงคํา…………………………………………………………………………………….. 18

ผลของเฮ็ทเทอโรซิสตอลักษณะการสืบพันธุระหวางสุกรพันธุแลนดเรซและลารจไวท

ชิตนภา ตนโนนเชียง และสุภาวดี มานะไตรนนท……………………………………………… 36

โคแดงเมืองนาน

นิสิต ตั้งตระการพงษ…………………………………………………………………………….. 43

รูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน

ธวัชชัย เพ็งพินิจ…………………………………………………………………………………. 46

การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรตอรูปแบบ

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร

พิสิษฐ สุวรรณแพทย ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ รักษาศิริ ทรัพยศิริ คุมทองมาก นงนุช ลาวรรณา

และธันยพร วณิชฤทธา…………………………………………………………………………… 63

ผลของระดับโปรตีนและพลังงานที่กินไดตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในโคนมรุน

อนันท เชาวเครือ และกฤตพล สมมาตย………………………………………………………….. 78

Page 8: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

1 | P a g e

บทความปริทัศน

การใชเทคนิค 16S rRNA ในการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในรูเมน(The use of 16S rRNA probes Technique for identifying cellulolytic bacteria in the rumen)

ศิวพร แพงคําคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอจากการรวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในกระเพาะรูเมน พบวา ชนิดที่พบไดแก

Butyrivibrio, Fibrobacter และ Ruminococcus spp. โดยเฉพาะอยางยิ่ง Fibrobacter และ Ruminococcus spp. มีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการเขายึดเกาะผนังเซลลของอาหาร ในขณะที่ Butyrivibrio fibrisolvens นั้นมักจะพบในสวนของของเหลวในกระเพาะรูเมน แบคทีเรียเหลานี้มีบทบาทในการยอยสลายเยื่อใยและสังเคราะหเปนผลผลิตสุดทายที่สําคัญ และนําใชประโยชนโดยตัวสัตว จากความสําคัญเหลานี้ นักวิจัยจึงพยายามที่จะจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนวัตถุดิบอาหารสัตว เทคนิคหนึ่งที่ไดรับความนิยมในปจจุบันคือ การใช 16S rRNA probes โดยใชการเรียงตัวกันของลําดับเบสที่แตกตางกันอยางจําเพาะเจาะจงของแบคทีเรียแตละชนิดจาก 5’ ไปยัง 3’ เปนมาตราฐานในการจําแนก การใชเทคนิค 16S rRNA probes สามารถจําแนกชนิดของ Butyrivibrio fibrisolvens, Ruminococcus albus strains และ R. flavefaciens strains ไดมากขึ้น และนํามาสูการศึกษาวิจัยที่ละเอียดมากขึ้นโดยการ inoculated เชื้อ Ruminococcus เขาสูกระเพาะรูเมนของแกะโดยตรง พบวา สามารถพัฒนาระบบนิเวศนวิทยารูเมนของแกะไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเพิ่มขึ้นของ Fibrobacter และ Ruminococcus spp. ตลอดจนประชากรเชื้อรา และทําใหประชากรแบคทีเรียแกรมบวกลดต่ําลง อันจะนําไปสูการเพิ่มประสิทธิภาพการยอยสลายอาหารเยื่อใยภายในกระเพาะรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้องตอไป

คําสําคัญ: โพรบชนิด 16 เอส อารเอ็นเอ เชื้อบิวไทริวิบริโอ เชื้อฟโปรแบคเตอร เชื้อรูมิโนค็อกคัส

Page 9: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

2 | P a g e

AbstractBased on reviewed literature, it was found that fiber (lignocellulose) digestion is an anaerobic process

in ruminants and usually takes place in the rumen. Several genera of bacteria are involved in fiber degradation and it is primarily carried out by Butyrivibrio, Fibrobacter and Ruminococcus spp. Fibrobacter and Ruminococcus spp. are the most fibrolytic, possibly related to their adherent ability, while Butyrivibriofibrisolvens is a free-floating organism. The 16S rRNA oligonucleotide probe was specific of sequence from 5’ to 3’ for the species or genus level. 16S rRNA analysis has provided a framework for evaluating microbial communities and has provided significant insights into a variety. According to this technique, inoculation of Ruminococcus into rumen of lamb, it was found there were increases of Ruminococcus, Fibrobactersuccinogenes, rumen fungi and decrease of gram-positive bacteria in the rumen of lambs. In addition evidence of how the microbial community is affected by manipulation, especially with respect to the fibrolytic populations and should improve ruminants’ production in the future.

Key words: 16S rRNA probes, Butyrivibrio spp., Fibrobacter spp., Ruminococcus spp.

Page 10: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

3 | P a g e

บทนําแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในกระเพาะรูเมนมีบทบาทที่สําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากสัตวเคี้ยวเอื้องจะใช

อาหารหยาบเปนอาหารหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตรอนอาหารหลักสวนใหญจะเปนผลพลอยไดทางการเกษตร โดยคุณคาทางโภชนะยังมีอยูต่ํามาก ทําใหมีผลตอการพัฒนาการของระบบนิเวศวิทยาภายในกระเพาะรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้องดวย แบคทีเรียที่มีความสามารถในการยอยสลายเยื่อใยไดแก Butyrivibrio, Fibrobacter และ Ruminococcus spp. โดยเฉพาะอยางยิ่ง Fibrobacter และ Ruminococcus spp. มีบทบาทที่สําคัญอยางยิ่งในการเขายึดเกาะผนังเซลลของอาหารเพื่อทําการยอยสลาย เยื่อใยในสวนของเซลยูโลสเพื่อสังเคราะหเปนผลผลิตสุดทายใหสัตวไดนําไปใชในการใหผลผลิตตาง ๆ ตอไป ในขณะที่ Butyrivibrio fibrisolvens นั้นมักจะพบในสวนของของเหลวในกระเพาะรูเมน (rumen fluid) และมีบทบาทในการยอยสลายเยื่อใยที่มีขนาดเล็ก ๆ (Weimer, 1996) การทํางานของแบคทีเรียเหลานี้ขึ้นอยูกับนิเวศวิทยาในรูเมนที่เหมาะสมไดแก มี rumen pH อยูในชวง 6.5-7 อุณหภูมิ 39 องศาเซลเซียส รวมทั้งความเขมขนของแอมโมเนียไนโตรเจนอยูในชวง 17-20 mg% (Wanapat, 2000)

จากบทบาทของแบคทีเรียที่มีผลตอกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้องนั้น จึงไดมีนักวิจัยไดใหความสนใจและทําการศึกษาเพิ่มมากขึ้นเพื่อจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่มีหนาที่ในการยอยสลายเยื่อใยโดยตรง โดยการศึกษาในเบื้องตนนั้นไดใชเทคนิคในการเพาะเลี้ยงเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อ จากการศึกษาของ Sijpelsteijn (1951) สามารถแยกแบคทีเรีย Ruminococcus flavafaciens มีลักษณะของโคโลนีเปนสีเหลืองเมื่อเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มี cellulose เปนแหลงพลังงาน ลักษณะของเซลลเปน cocci ตอกันเปนสายยาว สวนใหญเปนแกรมลบ และตอมา Hungate (1957) ไดทําการคัดแยกแบคทีเรีย R. albus พบวาลักษณะเซลลเปนdiplococci สวนใหญเปนแกรมลบเชนเดียวกันแบคทีเรียทั้งสองชนิดนี้จะมีบทบาทสําคัญในกระบวนการหมักอาหารคารโบไฮเดรท โดยเฉพาะอยางยิ่งคารโบไฮเดรทที่เปนโครงสราง และจะสังเคราะหเปนผลผลิตสุดทายที่สําคัญ เชน กรดไขมันที่ระเหยได (volatile fatty acid, VFAs) จากการใชเทคนิคการเพาะเลี้ยงเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อจะใชระยะเวลาในการทดลองที่ยาวนานมาก และคาใชจายในการศึกษาคอนขางสูง ตอมาก็มีนักวิจัยหลายทานไดทําการศึกษาเพิ่มเติมในรายละเอียดถึงเทคนิคที่จะใชในการจําแนกชนิดของแบคทีเรียเหลานี้ โดยทําการวิเคราะหลักษณะทาง phenotypic รวมกับ phylogenetic ของ Fibrobacter โดยอาศัยลักษณะของ 16S rRNA ที่จําเพาะเจาะจงเปนมาตรฐานในการจําแนก (Lin and Stahl, 1995; Forster et al., 1997)

การนําเทคนิค 16S rRNA probes จึงเริ่มเปนที่สนใจมากยิ่งขึ้น เนื่องจากการประเมินประชากรจุลินทรียในกระเพาะรูเมนคอนขางทําไดยาก เพราะประชาการจุลินทรียมีการเปลี่ยนแปลงมากภายใน 1 วัน

Page 11: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

4 | P a g e

(Hungate, 1966; Leedle et a., 1982) เทคนิค 16S rRNA probes เปนการศึกษาคัดแยกชนิดของจุลินทรียโดยไมอาศัยการเพาะเลี้ยงเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อ (Amann et al., 1995) การใชเทคนิคนี้สามารถแยกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในรูเมนไดอยางชัดเจน และแมนยํามากยิ่งขึ้น แตขอเสียของเทคนิคนี้คือ สามารถใชแยกชนิดของแบคทีเรียที่ม ี probes สําเร็จรูปอยูแลวเทานั้น (Pace, 1997) สําหรับ Fibrobacter และRuminococcus spp. ไดมีการพัฒนาเปน 16S rRNA probes เปนที่เรียบรอยแลวและมีการยอมรับและใชกันทั่วไป แตอยางไรก็ตามก็ไดมีการพยายามที่จะพัฒนา oligonucleotide probes สําหรับแยกชนิดของ Ruminococciชนิดอื่น ๆ และมีแนวโนมที่จะแยกจีนัส ตลอดจนสปชีสของแบคทีเรียกลุมนี้ไดมากขึ้น (Odenyo et al.,1994a,b)

ดังนั้นการใช 16S rRNA probes จึงนาจะเปนอีกเทคนิคหนึ่งที่สามารถใชในการศึกษาบทบาทของแบคทีเรียในสภาวะของนิเวศนวิทยาของรูเมนที่แตกตางกันอันจะนําไปสูการพัฒนาระบบการวิจัยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนผลทางออมในการที่จะพัฒนาระบบการผลิตสัตวเคี้ยวเอื้องตอไปในอนาคต

16S rRNA คืออะไรrRNA (ribosomal ribonucleic acid) หมายถึง RNA ที่เปนสวนประกอบของไรโบโซมมีปริมาณคิดเปน

รอยละ 65 ของน้ําหนักไรโบโซม และเปนไรโบโซมที่มีปริมาณมากที่สุด คือ ประมาณรอยละ 80 ของ RNA ทั้งหมดภายในเซลล นอกจากนี้ rRNA ของพืชและสัตวชั้นสูงมี 4 ขนาด คือ ขนาด 28S, 18S, 5.8S และ 5S สวนของแบคทีเรียมี 3 ขนาด ไดแก 23S, 16S และ 5S (ภาพที่ 1) ผลจากการศึกษาโดยวิธีไฮบริไดเซชั่น แสดงใหเห็นวาในบางสวนของ DNA จะมีลําดับเบสที่เปนองคประกอบกับลําดับเบสใน rRNA ดังนั้นจึงเปนหลักฐานอยางหนึ่งที่บอกใหทราบวา ในการสังเคราะห rRNA นั้นจะตองมี DNA ในสวนดังกลาวเปนแมแบบแนนอน หลังจากสังเคราะหแลว rRNA จะออกไปในสวนของไซโต พลาสซึมทําหนาที่เปนแหลงสังเคราะหโปรตีนตอไป (Champe and Harvey, 1994)

ขั้นตอนของเทคนิค 16S rRNA probes สําหรับเทคนิค 16S rRNA probes ที่ใชในการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในรูเมนนั้น มี

รายละเอียดที่ตองมีการคํานึงถึงมากพอสมควร สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดจาก การศึกษาของ Odenyo et al. (1994 a,b) และ Krause et al. (1999, 2000) โดยมีขั้นตอนในการศึกษาที่สําคัญดังตอไปนี้ดังตอไปนี้

Page 12: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

5 | P a g e

1. ในกรณีที่ตองการเพาะเลี้ยงเชื้อ รวมกับการตรวจนับจํานวนประชากรของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในรูเมน จะตองมีการเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อสําหรับแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในรูเมน (basal medium) ในอาหารเลี้ยงเชื้อนี้ มีแหลงพลังงาน ไนโตรเจน แรธาตุ ตลอดจนกรดไขมันที่ระเหยไดในสัดสวนที่แตกตางกันไป โดยในการเพาะเลี้ยงเชื้อจะอยูในสภาพไมมีออกซิเจน และมีการควบคุมอุณหภูมิเทากับ 39 C

2. การสกัด 16S rRNA จากตัวอยางที่ทําการสุมเก็บจากกระเพาะรูเมน ในขั้นตอนนี้จะเปนการสกัดเอาสวนของ 16S rRNA ทั้งหมดจากตัวอยางที่สุมเก็บมาจากรูเมน เพื่อที่จะนํามาตรวจสอบกับ probes ของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยแตละชนิด

3. นํามาเปรียบเทียบกับ 16S rRNA probes มาตรฐานเพื่อทําการคัดแยกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยชนิดตาง ๆ โดยใชเทคนิค PCR (polymerase chain reaction)

Page 13: ASAT eJournal Vol 1- No 1

6 | P a g e

ภาพที่ 1 สวนประกอบของไรโบโซมA = 70S (Prokaryotic ribosome) B = 80S (Eukaryotic ribosome)

ที่มา : Lehninger et al. (1993)

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม

สวนประกอบของไรโบโซม A = 70S (Prokaryotic ribosome) B = 80S (Eukaryotic ribosome)

: Lehninger et al. (1993)

A. Prokaryotic ribosome

B. Eukaryotic ribosome

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

Page 14: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

7 | P a g e

ชนิดของ 16S rRNA probesที่ใชในการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเซลลูโลส (cellulolytic bacteria) Alm et al. (1996) และ Krause et al. (2000) ไดทําการรวบรวมชนิดของ 16S rRNA probes ที่มีการใช

กันอยางแพรหลายในปจจุบันเพื่อทําการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยในกระเพาะรูเมน และเปนที่ยอมรับกันทั่วโลกนั้น จะมีการเรียงตัวกันของลําดับเบสที่แตกตางกันจาก 5’ ไปยัง 3’ (ตารางที่ 1) นอกจากนี้แลว Froster et al. (1997) และ Krause et al. (1999) รายงานวา การใช เทคนิค 16S rRNA probes สามารถจําแนกชนิดของ Butyrivibrio fibrisolvens strains, Ruminococcus albus strains และ R. flavefaciens strains ไดละเอียดเพิ่มมากขึ้น และยังพบวาในสัตวเคี้ยวเอื้องแตละชนิดก็จะพบชนิดของแบคทีเรียเหลานี้แตกตางกันไป(ตารางที่ 2)

Page 15: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

8 | P a g e

ตารางที่ 1 ตัวอยางของ oligonucleotide probe ที่ใชในการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใย

Oligonucleotide probe name

Probe sequence from5’ to 3’

Target group References

S-G-Fibr-0153-a-S-16 CCGTGCCAACGCGCGG Genus Fibrobacter Alm et al. (1996)

S-Ss-F.s.suc-0628-a-A-22 GATCCAGTTCGGACTGCAGAGC

Subspecies Fibrobacter succinogenes subsp. Succinogenes

S-Ss-F.suc(2)-0628-a-A-22 AACCCAGTTCGGACTGCAGGTC

Subspecies F. succinogenes group 2

S-Ss-Ralb SY3-0174-a-S-20 GATAAGCCGCATGACCTATC

R. albus SY3 Krause et al. (2000)

S-F-Fungi-0715-a-A-25 GTACACACAATGAAGTGCATAAAGG

Anaerobic rumen fungi

S-S-Fsucc-0649-a-A-20 TGCCCCTGAACTATCCAAGA

F. succinogenes

S-G-Rum-IV-0132-a-A-17 RTTATGRGGTATTAMCA

R. albus + R. flavefaciensin cluster IV of clostridia

Page 16: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

9 | P a g e

ตารางที่ 2 แหลงของ Ruminococcus strains ที่พบในสัตวเคี้ยวเอื้องแตละชนิด

StrainSource/host

Butyrivibrio fibrisolvens1

49 Bovine

H10bBovine

H17cBovine

UC12254 BovineRuminococcus albus strains2

B199Cow

AR67 Sheep Ra8 Cow SY 3 SheepR. flavefaciens strains2

FD-1 Tablet containing ruminal organisms LP-9155 Cattle R13e2 Reindeer RF1Ba Sheep AR 72 Sheep AR 71 Sheep Y1 Sheep AR69 Sheep AR46 Sheep AR47 Sheep B146 Cow R1-addax Addax C14-addax Addaxที่มา : 1 = Froster et al. (1997) 2 = Krause et al. (1999)

Page 17: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

10 | P a g e

การใชเทคนิค 16S rRNA probes ในการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเซลยูโลส (cellulolytic bacteria)Froster et al. (1997) ไดทําการศึกษาการจําแนกชนิดของ cellulolytic bacteria ในกระเพาะรูเมนของโค

นมโฮลสไตนฟรีเชี่ยน แกะ และกวาง โดยใช probes ชนิด 49, 156, 189, D1 และ D1-b จากการศึกษาพบวาแบคทีเรียที่พบในกระเพาะรูเมนของสัตวเหลานี้ไดแก Ruminococcus albus SY3, R. flavefaciens และFibrobacter succinogenes S85 สอดคลองกับการศึกษาของ Krause et al. (1999) ไดทําการศึกษาเพื่อจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยลลายเยื่อใยในแกะที่โตเต็มที่ โดยมีการจัดใหแกะไดรับอาหารแบบอัตโนมัติตามความตองการของแกะแตละตัว จากการศึกษาพบวา ชนิดของแบคทีเรียที่พบไดแก R. flavefaciens, R. albus , B. fibrisolvens และ F. succinongenes โดยในการศึกษาครั้งนี้ไดทําการวัดสัดสวนระหวางแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยตอประชากรแบคทีเรียทั้งหมดที่อยูในรูเมนทั้งหมดดวย (ตารางที่ 3)

ตารางที่ 3 สัดสวนของ cellulolytic bacteria ตอจํานวนประชากรแบคทีเรียทั้งหมดในรูเมน

Item Microscopic and culturable counts(x109/g digesta)

Proportion CEL(%)

DCTCC CEL CEL/DC CEL/TCC

Mean 16.3 9.6 0.5 3.1 5.2SD 3.9 1.4 0.2 1.5 2.6

16S rRNA oligonucleotide probes (%)Ruminococcus IV F. succinogenes Ruminococcus IV+F. succinogenesMean 2.2 1.8 4.0SD 0.7 0.7 1.0DC = direct counts, TCC = total culturable counts, CEL = total cellulolytic bacteriaที่มา : Krause et al. (1999)

จากผลการศึกษาในเบื้องตน โดย Froster et al. (1997) และ Krause et al. (1999) นั้น ไดนํามาสูการศึกษาถึงรายละเอียดเพิ่มเติมโดย Krause et al. (2000) ไดทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ cellulolytic

Page 18: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

11 | P a g e

bacteria โดยการ inoculated เชื้อแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยที่สําคัญและมีบทบาทสูงสุดในกระเพาะรูเมนของลูกแกะแรกคลอดจนถึงหลังหยานม โดยแบงกลุมทดลองออกเปน 3 กลุมไดแก กลุมที่ 1 ไมมีการ inoculated Ruminococcus และลูกแกะยังไดรับนมจากแม กลุมที่ 2 มีการ inoculated Ruminococcus และลูกแกะไมไดรับนมจากแมแตมีการใหนมผงเปนการทดแทนเมื่ออายุได 4 สัปดาห กลุมที่ 3 มีการ inoculated Ruminococcus และลูกแกะยังไดรับนมจากแม ในการ inoculated Ruminococcus เขาไปภายในกระเพาะของลูกแกะโดยคํานวณความเขมขนของประชากรอยูระหวาง 3.4 x 108-0.8 c 109 cells/ml และทําการ inoculated 2 ครั้งตอสัปดาห นับตั้งแตแกะอาจะได 23 วันจนถึง 63 วัน จากการศึกษาพบวา หลังจากที่มีการ inoculated มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของประชากร R. albus SY3 โดยมีการเพิ่มขึ้นของประชากร R. albus และ F. succinogenes เมื่อเทียบเปนสัดสวนของจํานวนประชากรแบคทีเรียทั้งหมดที่มีอยูในกระเพาะรูเมน (ตารางที่ 4 และ ภาพที่ 2) และยังพบวามีผลตอการเพิ่มขึ้นของประชากรเชื้อราในกระเพาะรูเมนของแกะดวยเชนกัน (ภาพที่ 3) ในขณะที่ประชากรแบคทีเรียแกรมบวกมีแนวโนมที่ลดลงหลังจากแกะมีการพัฒนาการเพื่อเขาระยะโตเต็มที่ (ภาพที่ 4)

จากการศึกษาขอมูลในเบื้องตนของประเทศไทยโดย Wora-anu et al. (2007) พบวา ในโคเนื้อที่ไดรับฟางหมักยูเรีย มันเฮย มันสําปะหลังสด และมันสําปะหลังสดรวมกับฟางหมักยูเรียเปนอาหารหยาบหลักในชวงฤดูแลงนั้นมีแบคทีเรียชนิดที่ยอยสลายเยื่อใย 3 ชนิดไดแก Fobrobacter succinogenes, Ruminococcus albusและ R. flavefaciens

Page 19: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

12 | P a g e

ตารางที่ 4 จํานวนประชากร Ruminococcus albus SY3 ในแกะแตละชวงอายุ

Daya Lamb number:Dosed

Control Remained with ewe Received milk replacerA1 A2 A3 A4 A1 A2 A3 A4 A5 A1 A2 A3 A4 A5 A6

63 105 - - - 109 108 109 108 107 108 107 109 107 109 107

70 - - - - 107 108 107 107 108 107 106 107 109 106 106

77 - - 105 105 107 106 105 105 105 106 107 107 106 107 106

91 - 105 - - 105 - 106 - - 105 105 105 105 - -113 - - - - - - - 105 105 - - - - -135 - - - - - - - - - - - - - 105 -a Age of the lamb. Lamb were dosed from day 23 to 63 of age.Approximate numbers of R. albus SY3 in the rumen in individual lambs (10x cells/ml)ที่มา : Krause et al. (2000)

Page 20: ASAT eJournal Vol 1- No 1

13 | P a g e

ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของประชากรA = Ruminococcus

ที่มา : Krause et al. (2000)

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม

การเปลี่ยนแปลงของประชากร เซลยูโลไลติกแบคทีเรียในกระเพาะรูเมนของแกะRuminococcus B = Fibrobacter succinogenes

. (2000)

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

เซลยูโลไลติกแบคทีเรียในกระเพาะรูเมนของแกะ

Page 21: ASAT eJournal Vol 1- No 1

14 | P a g e

ภาพที่ 3 แสดงการเพิ่มขึ้นของ

ที่มา : Krause et al. (2000)

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม

แสดงการเพิ่มขึ้นของ Eukayotes (A) และ Fingi (B) ในกระเพาะรูเมนของแกะ

et al. (2000)

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

ในกระเพาะรูเมนของแกะ

Page 22: ASAT eJournal Vol 1- No 1

15 | P a g e

ภาพที่ 4 แสดงประชากรของแบคทีเรียแกรมบวกภายในกระเพาะรูเมนของแกะที่มา : Krause et al. (2000)

สรุปและวิจารณการจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยภายในกระเพาะรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้อง

ความจําเพาะของลักษณะทาง phylogenetic ละเอียด และรวดเร็วมากขึ้น ไมวาจะเปนประโยชนตอการปลับเปลี่ยนนิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมนของสัตวเองดวย แตอยางไรก็ตามบทบาทของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยเหลานี้ยังไมเปนที่เดนชัดมากนักละชนิดนั้น จะไดรับอาหารที่แตกตางกันกระบวนการยอยสลายเกิดขึ้นพรอมกันโดยอาศัยการทํางานรวมกันระหวาง

ดังนั้นจึงนาจะมีการศึกษาเพิ่มเติมในรายละเอียดเกี่ยวกับแบคทีเรียเหลานี้rRNA probes รวมดวยบนพื้นฐานการใชประโยชนไดจากอาหารเยื่อผลพลอยไดทางการเกษตรที่มีอยูอยางมากมายในบานเราเพิ่มมากขึ้น

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม

แสดงประชากรของแบคทีเรียแกรมบวกภายในกระเพาะรูเมนของแกะet al. (2000)

การจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยภายในกระเพาะรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้องphylogenetic หรือที่เรียกวา 16S rRNA นั้น สามารถจําแนกแบคทีเรียเหลานี้ได

ไมวาจะเปน Butyrivibrio, Fibrobacter และ Ruminococcusประโยชนตอการปลับเปลี่ยนนิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมนของสัตวเอง รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพในกา

แตอยางไรก็ตามบทบาทของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยเหลานี้ยังไมเปนที่เดนชัดมากนักจะไดรับอาหารที่แตกตางกัน สงผลถึงรูปแบบของกระบวนการหมักที่แตกตางกันดวย

กระบวนการยอยสลายเกิดขึ้นพรอมกันโดยอาศัยการทํางานรวมกันระหวาง แบคทีเรียดังนั้นจึงนาจะมีการศึกษาเพิ่มเติมในรายละเอียดเกี่ยวกับแบคทีเรียเหลานี้ โดยการนําใชเทคนิค

รวมดวยบนพื้นฐานการใชประโยชนไดจากอาหารเยื่อใยที่มีอยูภายในทองถิ่นโดยเฉพาะอยางยิ่งผลพลอยไดทางการเกษตรที่มีอยูอยางมากมายในบานเราเพิ่มมากขึ้น และที่สําคัญนาจะเปนอีกแนวทางหนึ่งใน

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

แสดงประชากรของแบคทีเรียแกรมบวกภายในกระเพาะรูเมนของแกะ

การจําแนกชนิดของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยภายในกระเพาะรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้อง โดยอาศัยสามารถจําแนกแบคทีเรียเหลานี้ไดRuminococcus spp. ก็ตาม นาจะเปน

รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตแตอยางไรก็ตามบทบาทของแบคทีเรียที่ยอยสลายเยื่อใยเหลานี้ยังไมเปนที่เดนชัดมากนัก เนื่องจากสัตวแต

สงผลถึงรูปแบบของกระบวนการหมักที่แตกตางกันดวย รวมทั้งโปรโตซัว และเชื้อรา

โดยการนําใชเทคนิค 16S ใยที่มีอยูภายในทองถิ่นโดยเฉพาะอยางยิ่ง

และที่สําคัญนาจะเปนอีกแนวทางหนึ่งใน

Page 23: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

16 | P a g e

การทําวิจัยเพิ่มเติมในสวนของกระบือ เนื่องจากยังไมปรากฏผลงานวิจัยทางดานนี้เลย เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานอันจะนําไปสูการพัฒนาการผลิตกระบือตอไปในอนาคตดวย

เอกสารอางอิงAlm, E.W., D.B. Oerther, N. Larsen, D.A. Stahl and L. Raskin. 1996. The Oligonucleotide Probe database.

Appl.Environ. Microbiol. 62:3557-3559.Amann, R.I., W. Ludwig, K.H. Schleifer. 1995. Phylogenetic identification and in situ detection of individual

microbial cells without cultivation. Microbiol. Rev. 59:143-169.Champe, P.C. and R.A. Harvey. 1994. Lippincott’s IIIustrated Reviews:Biochemistry 2nd edition. J.B.

Lippincott company, Philadelphia.Forster, R.J., J. Gong and R.M. Teather. 1997. Group-specific 16S rRNA hybridization probes for

determinative and community structure studies of Butyrivibrio fibrisolvens in the rumen. Appl. Environ. Microbiol. 63:1256-1260.

Hungate, R.E. 1957. The microorganisms in the rumen of cattle fed a constant ration. Can. J. Microbiol. 3:289-311.

Hungate, R.E. 1966. The rumen and its microbes, (Eds. By R.E. Hungate). New York : Academic Press. pp. 1-533.

Krause, D.O., B.P. Dalrymple, W.J.M. Smith, R.I. Mackie and C.S. McSweeney. 1999. 16S rRNA sequencing Ruminococcus albus and Ruminococcus flavefaciens:design of a signature probe and its application in adult sheep. Microbiology. 145:1797-1807.

Krause, D.O., W.J.M. Smith, F.M.E. Ryan, R.I. Mackie and C.S. McSweeney. 2000. Use of 16S-rRNA based techniques to investigate the ecological succession of microbial populations in the immature lamb rumen:traccking of a specific strain of inoculated Ruminoncoccus and interactions with other microbial populations in vivo. Microb Ecol. 38:365-376.

Leedle, J.A.Z., M.P. Bryant and R.B. Hespell. 1982. Diurnal variations in bacterial numbers and fluid parameters in ruminal contents of animals fed low-or high-forage diets. Appl. Environ. Microbiol. 44:402-412.

Page 24: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

17 | P a g e

Lehninger, A.L. D.L. Nelson and M.M. Cox. 1993. Principles of Biochemistry, 2nd ed. Irving Place, New York:Worth Publishers. 324-357.

Lin, C. and D.A. Stahl. 1995. Taxon-specific probes for cellulolytic Fibrobacter reveal abundant and novel ezuine associated populations. Appl. Environ Microbiol. 61:1348-1351.

Odenyo, A. A., R.I. Mackie, D.A. Stahl and B.A. White. 1994a. The use of 16S rRNA-targeted oligonucleotide probes to study competition between ruminal fibrolytic bacteria:development of probes for Ruminococcus species and evidence for bacteriocin production. Appl. Environ. Microbiol. 60:3688-3696.

Odenyo, A. A., R.I. Mackie, D.A. Stahl and B.A. White. 1994b. The use of 16S rRNA-targeted oligonucleotide probes to study competition between ruminal fibrolytic bacteria:pure-culture studies with cellulose and alkaline peroxide-treated wheat straw. Appl. Environ Microbiol. 60:3697-3703.

Sijpelsteijn, A.K. 1951. On Ruminococcus flavefaciens a cellulose decomposing bacterium from the rumen of sheep and cattle. J. Gen. Microbiol. 5:869-879.

Wanapat, M. 2000. Rumen manipulation to increase the efficient use of local feed resources and productivity of ruminants in the Tropics. In:Proc. of The 9th Congress of the Asian-Australasian Association of Animal Production Societies and 23rd Biennial Conference of the Australian Society of Animal Production, July 3-7, 2000. University of New South Wales, Sydney, Australia.

Weimer, P.J. 1996. Why don’t ruminal bacteria digest cellulose faster. J. Dairy Sci. 79:1496-1502.Wora-anu, S., M. Wanapat, C. Wachirapakorn and N. Nontaso. 2007. Effect of Roughage Sources

on Cellulolytic Bacteria and Rumen Ecology of Beef Cattle. Asian-Aust. J. Anim. Sci. 20(11) : 1705.

Page 25: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

18 | P a g e

บทความปริทัศน

บทบาทของเชื้อราในกระเพาะรูเมนตอการยอยสลายอาหารเยื่อใย(Role of rumen fungi on fiber digestion)

ศิวพร แพงคําคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอจากการรวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับเชื้อราในกระเพาะรูเมน พบวา เปนเชื้อราชนิดที่ไมใชออกซิเจน มี

ความสามารถในการยอยสลายอาหารเยื่อใย โดยชนิดที่พบไดแก Neocallimastix sp., Piromyces sp., Ceacomyces sp., Orpinomyces sp. และ Anaeromyces sp. เชื้อราเหลานี้มียีนสที่สามารถสังเคราะหเอนไซมกลุมที่สามารถยอยสลายอาหารเยื่อใย ไดแก endo-glucanase (CMCase) ยอยในสวนของเซลยูโลส และ exo-glucanase (cellobiohydrolase) ยอยเซลยูโลสในสวนของ cystalline และนอกจากนี้ยังสังเคราะหเอนไซมxylannase (hemicellulase) ที่สามารถยอยเซลลพืชในสวนของเฮมไมเซลยูโลสได ซูโอสปอรของเชื้อราที่อยูในของเหลวรูเมนจะเขาเกาะผิวของอาหารประมาณ 6 ชั่วโมงจะเริ่มมีการสรางโคโลนีบนเซลลพืชบริเวณsclerenchyma และ vascular และเริ่มมีการสรางไรซอยดเพิ่มมากขึ้นเมื่อเวลาผานไปประมาณ 20-24 ชั่วโมง ในระยะนี้จะเกิดกระบวนการยอยสลายสวนของเซลลพืชที่ยอยไดงาย เชน mesophyll, parenchyma และ pholem ควบคูไปดวย ผลผลิตสุดทายจากกระบวนการหมักโดยเชื้อราจะได ฟอรเมท อะซีเตท แลคเตทคารบอนไดออกไซด และไฮโดรเจน เชื้อราแตละชนิดจะผลิตไดในสัดสวนที่แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความหนาแนนของประชากรเชื้อราและชนิดของอาหารที่สัตวไดรับที่เอื้อตอประสิทธิภาพการยอยสลาย อันจะนําไปสูการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสัตวเคี้ยวเอื้องภายใตสภาวะที่สัตวไดรับอาหารหยาบคุณภาพต่ําตอไป

คําสําคัญ: เชื้อราในกระเพาะรูเมน, การยอยสลายเยื่อใย, เอนไซม, ผลผลิตสุดทายจากกระบวนการหมัก

Page 26: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

19 | P a g e

AbstractBased on reviewed literature it was found that anaerobic fungi are now well recognized as one of

the major components of rumen microorganisms. It is certain that they have roles in ruminal fiber digestion. Five genera have been established so far namely; Neocallimastix, Piromyces, Caecomyces, Orpinomyces and Anaeromyces. Rumen fungi produce cellulase that consists of a complex of enzymes capable of sulubilising both the amorphous and cystalline cellulose present in plant tissue. Large amount of endo-glucanase (CMCase) and exo-glucanase (cellubiohydrolases), which can degrade crystalline cellulose is also produced but in lesser amount the endoglucanase; however it was found that rumen fungi produce xylanase (hemicellulase) also. In colonising plant tissues anaerobic rumen fungi showed that by 6 hr lignified tissue such as sclerenchyma and vascular tissue are extensively colonized. After attachment and encystment the zoospore geminates with a single germ-tube which penetrates the plant tissue. The germ-tube elongates and branches very rapidly forming a network of rhizoid after 20-24 hr of incubation. Most of the colonised thin-walled tissue such as the mesophyll, parenchyma and phloem are degraded. The end-products were able to ferment cellulose producing formate, acetate, lactate, ethanol, carbondioxide and hydrogen. However, the fermentation end-products are dependable on rumen fungi population and type of feeds in order to increase ruminant production efficiency.

Key words: rumen fungi, fiber digestion, enzymes, fermentation end-products.

Page 27: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

20 | P a g e

บทนํา

กระเพาะรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้องจะมีลักษณะพิเศษและมีบทบาทสําคัญมากตอกระบวนการหมักโดยเฉพาะอยางยิ่งการยอยสลายอาหารเยื่อใยที่มีคุณภาพต่ําโดยอาศัยการทํางานของจุลินทรีย ไดแก แบคทีเรียโปรโตซัว และเชื้อรา เพื่อใหไดผลผลิตสุดทายที่เปนประโยชนสําหรับตัวสัตว ซึ่งการทํางานของจุลินทรียเหลานี้จะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้นขึ้นอยูกับสภาวะรูเมนที่เหมาะสม ไดแก คาความเปนกรด-ดาง (pH) ที่เหมาะสมตองอยูในชวง 6.5-7.0 ตลอดจนจะตองมีแหลงอาหารที่เหมาะสมไดแก อาหารหยาบ จะตองมีคุณสมบัติเปน effective fiber ดวย อาหารพลังงาน จะเอื้อตอการสังเคราะหผลผลิตสุดทายที่สําคัญ คือ กรดไขมันระเหยได (volatile fatty acid, VFA) ที่สําคัญไดแก กรดอะซีติก (acetic acid, C2) กรดโพรพิออนิก(propionic acid, C3) และ กรดบิวทีริก (butyric acid, C4) เปนแหลงพลังงานหลักสําหรับสัตวเคี้ยวเอื้อง และยังเปนสารตั้งตนในกระบวนการสังเคราะหกรดไขมันในน้ํานม ตลอดจนการสังเคราะหกลูโคสดวย นอกจากนี้อาหารโปรตีน และแหลงของไนโตรเจนที่ไมใชโปรตีนแท (non-protein nitrogen, NPN) ก็มีความสําคัญตอระดับของแอมโมเนีย-ไนโตรเจนที่เหมาะสมในกระเพาะรูเมน ที่มีผลตอการเพิ่มจํานวนประชากรจุลินทรียเชนเดียวกัน (Wanapat, 2000)

เชื้อราในรูเมนเปนหนึ่งในอีกหลายๆ ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพรูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้อง ในชวงแรกๆ ที่เริ่มมีการศึกษาเกี่ยวกับเชื้อราในรูเมนนั้น พบวา เปนเชื้อราชนิดที่ไมใชออกซิเจน และมีแฟลกเจลลาเปนจํานวนมาก (polyflagellate) และตอมา Orpin (1976) อางถึงใน Ho and Barr (1995) ไดทําการคนควาวิจัยพบวา มีเชื้อราชนิด Piromonas communis ในกระเพาะรูเมนของโค และในปจจุบันก็ไดเริ่มมีการศึกษาถึงบทบาทของเชื้อราในรูเมนตอการยอยสลายอาหารเยื่อใยในสัตวเคี้ยวเอื้องเพิ่มมากขึ้น โดยเชื้อราในรูเมนนี้จะมีความหนาแนนของประชากรนอยมากเมื่อเทียบกับแบคทีเรียและโปรโตซัว คือประมาณ 103-104 เซลล/มล. ของของเหลวรูเมน (Rumen fluid) (Jouany and Ushida, 1999) เชื้อรานี้จะมีความสามารถในการยอยสลายอาหารประเภทเยื่อใย โดยอาศัยการทํางานของเอนไซมที่สําคัญ ไดแก endo-1,4--D-glucanase (CMCase) (Mountfort and Asher, 1985), exo-1-4--D-glucanase (cellobiohydrolases) สามารถยอยสวนประกอบของเซลลูโลสที่เรียกวา cystalline นอกจากนี้ยังพบวาเชื้อราสามารถผลิตเอนไซมในการยอย hemicellulose ไดดวยจัดอยูในกลุมของ xylanases (hemicellulase) ไดแก -xylanase, -xylosidase และ xylobiase (William and Orpin, 1987) นอกจากนี้ Xue et al. (1992a, b) พบวามียีนสที่ควบคุมการสังเคราะหเอนไซมในกลุม cellulase และ xylanase ในเชื้อราดวย จึงทําใหมั่นใจไดวา เชื้อรามีความสามารถในการยอยสลายอาหารเยื่อใยได และนอกจากนี้เชื้อราในกลุม Neocallimastix และ Orpinomyces สามารถยอยสลายเพคตินไดโดยอาศัยการทํางาน

Page 28: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

21 | P a g e

ของเอนไซม endo-pectinylase จากการศึกษาวิจัยขอมูลเบื้องตนในประเทศไทยโดย Wanapat et al. (2000) พบวาในกระบือปลักที่เกษตรกรเลี้ยงในสภาพแบบปลอยแทะเล็มตามธรรมชาตินั้น มีเชื้อราชนิด Anaeromyces sp. และมีประชากรของซูโอสปอรเทากับ 7.30 x 106 cells/ml

จะเห็นไดวาบทบาทของเชื้อราในรูเมนเริ่มมีความเดนชัดมากขึ้น ภายในระบบนิเวศวิทยารูเมนของสัตวเคี้ยวเอื้องเอง แตอยางไรก็ตามการศึกษาขอมูลพื้นฐานยังมีอยูนอยมากโดยเฉพาะบทบาทตอการยอยสลายอาหารหยาบที่เปนผลพลอยไดทางการเกษตรที่สําคัญ เชน ฟางขาว ซึ่งเปนอาหารหยาบหลักของสัตวเคี้ยวเอื้องในชวงฤดูแลงที่มีระยะเวลานานถึง 6 เดือน อันจะเปนประโยชนเพื่อนําไปสูการปรับเปลี่ยนนิเวศวิทยารูเมนใหเกิดความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ชนิดของเชื้อราในกระเพาะรูเมนในการศึกษาจําแนกชนิดของเชื้อราในรูเมนอาศัยลักษณะของ ซูโอสปอร และการเจริญของ thallus โดย

thallus ของเชื้อราจะมีลักษณะ 2 แบบ คือ monocentric และ polycentric โดยกลุมที่เปน monocentric จะสรางสปอรแรงเกียม เพียงอันเดียวเทานั้น สวนกลุม polycentric จะสราง สปอรแรงเกียม ไดหลายอัน สามารถแบงออกไดทั้งหมด 5 จีนัส (Ho and Barr, 1995)1. Neocallimastix การเจริญของ tallus เปนแบบ monocentric มีลักษณะของสปอรแรงเกียมยาวเรียว

(elongate-ovoid) ซูโอสปอรมีแฟลกเจลลาประมาณ 2-25 แฟลกเจลลา (polyflagellate)2. Piromyces การเจริญของ tallus เปนแบบ monocentric ซูโอสปอรมีแฟลกเจลลาประมาณ 2-4 แฟลกเจลลา

(uniflagellate)3. Caecomyces การเจริญของ tallus เปนแบบ monocentric หรือ polycentric ซูโอสปอรมีแฟลกเจลลานอยกวา

2-4 แฟลกเจลลา4. Anaeromyces การเจริญของ tallus เปนแบบ polycentric มีลักษณะของสปอรแรงเกียมยาวเรียวรูปไข วงรีมี

สวนยอดแหลม (acuminate apex)5. Orpinomyces ซูโอสปอรมีแฟลกเจลลาประมาณ 4-25 แฟลกเจลลา (polyflagellate) การเจริญของ tallus เปน

แบบ polycentric

Page 29: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

22 | P a g e

นอกจากนี้ Ushida et al. (1997) ไดทําการรวบรวมงานวิจัยที่ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับชนิดของเชื้อรารูเมนที่พบในสัตวเคี้ยวเอื้องแตละชนิด พบวา มีเชื้อราหลายชนิดที่เจริญไดในสภาพที่ไมมีออกซิเจน สอดคลองกับรายงานของ Ho and Barr (1995) ดังรายละเอียดใน Table 1

Table 1. Classification of anaerobic fungi in the rumen.

Genera and characteristics Species Source

Neocallimastic Monocentric, polyflagellate zoospore, extensive, Filamentous rhizomycelium

FrontalisPatriciarum

sheepsheep

Hurleyensis sheepVariabilis sheep

Piromyces Monocentric, monoflagellate zoospore, Filamentous rhizomycelium

CommunisMae

sheephorse

Dumbonicus elephantRizinflatus assMinutus deerSpiralis goatCitronii horse

Opinomyces Polycentric, polyflagellate zoospore Filamentous rhizomycelium

JoyoniiIntercalaris

sheepcattle

Caecomyces Polycentric or monocentric, monoflagellate zoospore , spherical hold fasts

CommunisEqui

sheephorse

Anaeromyces Polycentric, monoflagellate zoospore, Filamentous rhizomycelium

MucronatusElegans

cowsheep

Source: Ho and Barr (1995); Ushida et al. (1997)

Page 30: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

23 | P a g e

บทบาทของเชื้อราตอการยอยสลายอาหารเยื่อใยโดยปกติแลวภายในของเหลวรูเมนจะมีซูโอสปอรเคลื่อนที่อยางอิสระอยูจํานวนมาก ซูโอสปอรเหลานี้

จะมีรีเซฟเตอร (receptor) ที่สามารถนําแหลงพลังงานจาก glucose, sucrose, mannose เขาสูภายในเซลลเพื่อนําไปใชประโยชนได (Orpin and Boutiff, 1978) จากการศึกษาของ Wubah and Kim (1996) พบวาNeocallimastic frontalis, Piromyces communis, Orpinomyces joyonii และ Anaeromyces sp. มีความสามารถใชประโยชนจากสารประกอบพวก phenolic acid ไดสูง เชน-coumaric acid, ferulic acid และ syringic acid สารประกอบเหลานี้จะพบในองคประกอบของเซลลพืชในสวนของลิกนิน (lignin) ซึ่งเปนสวนที่ยอยสลายไดยาก สอดคลองกับการศึกษาของ Matsui et al. (1997) พบวาถามีความเขมขนของสารประกอบเหลานี้ในระดับสูงจะกระตุนการเจริญเติบโตของซูโอสปอรใหมีจํานวนเพิ่มขึ้น

การเขาเกาะยึดผนังเซลลพืชของเชื้อราเพื่อทําการยอยสลายสารอาหารนั้น จะเปนไปอยางจําเพาะเจาะจงคือ จะจับบริเวณ stomata หลังจากนั้นก็จะทําการยอยจนทะลุไปถึงชั้นในของเซลลพืช (Bauchop, 1981; Akin et al., 1983; Ho et al., 1988a,b, 1991) การเขาเกาะยึดผนังเซลลพืชจะเปนไปอยางรวดเร็วโดยทั่วไปจะประมาณ 15-30 นาที (ภาพที่ 1A) (Ho et al., 1988b) หลังจากนั้น ซูโอสปอร จะเริ่มสรางทอที่เรียกวา single germ tube เพื่อเจาะผานลงไปในเซลลพืช ซึ่งทอนี้จะยาวและแผสาขาอยางรวดเร็ว เรียกวา ไรซอยด (ภาพที่ 1B) (Ho et al., 1996) ขั้นตอนนี้จะเกิดอยางรวดเร็ว บางครั้งอาจมองไมเห็นโดยการสังเกตดวยกลองจุลทรรศน และขณะเดียวกันจะมีการสรางโคโลนีอยางรวดเร็วดวยเชนกัน ในขั้นตอนนี้เชื้อราจะมีการหลั่งน้ํายอยเพื่อทําการยอยเซลลพืชโดยอาศัยการทํางานของเอนไซมเซลยูเลส (cellulase) ยอยสวนของเซลยูโลส (cellulolse) จนกระทั่งไดกลูโคส หลังจากนั้นกลูโคสก็จะถูกนําเขาสูเซลลของเชื้อราและเกิดกระบวนการเมทธาโบลิซึมตอไปจนกระทั่งไดผลผลิตสุดทายที่เปนประโยชนสําหรับตัวสัตวตอไป (Ho et al., 1991) นอกจากนี้ Wanapat et al. (2000) ไดศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเชื้อราในรูเมนของโคเนื้อและกระบือปลักที่เกษตรกรปลอยเลี้ยงตามธรรมชาติ โดยสัตวจะมีการแทะเล็มหญา ตลอดจนตอซังขาว และฟางขาวภายในนา ทําการเก็บตัวอยางในชวงเดือน กันยายน-เมษายน โดยสุมเก็บตัวอยางของเหลวรูเมนและอาหารภายในกระเพาะรูเมน (digesta) จากกระเพาะรูเมนของสัตวหลังการฆาที่โรงฆาสัตวทันที พบวา บนชิ้นสวนอาหารจะมีการสรางไรซอยด ตลอดจนโคโลนีของเชื้อราเกาะอยูเปนจํานวนมาก (ภาพที่ 2) และยังพบวาประชากรซูโอสปอรเชื้อราในกระเพาะรูเมนของกระบือปลักมีมากกวาในโคเนื้อ เทากับ 7.30 x 106 และ 3.78 x 106 cells/ml ตามลําดับ

จากการศึกษาโดยใชหญาสดใสในถุงไนลอน และนําไปจุมหมักในกระเพาะรูเมนของโคและกระบือปลัก พบวา หลังการจุมหมักเพียง 6 ชั่วโมง พบวามีการสรางโคโลนีบนเซลลพืชบริเวณ sclerenchyma และ

Page 31: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

24 | P a g e

vascular tissue (Ho et al., 1988b) สอดคลองกับ Akin et al. (1983) พบวามีการสรางโคโลนีและไรซอยด บนหญาหมัก Digitaria pentzii หลังการจุมหมักในกระเพาะรูเมนเพียง 6 ชั่วโมงเชนเดียวกัน โดยทั่วไปแลวการสรางโคโลนีของเชื้อราบนสวนของพืชที่สามารถยอยสลายไดงายเชน บริเวณ mesophyll, parenchyma และphloem จะเปนไปอยางรวดเร็ว ภายในเวลา 24 ชั่วโมง (ภาพที่ 3) และเกิดขบวนการยอยสลายควบคูไปดวย ในการยอยจะอาศัยการทํางานของน้ํายอยในกลุม extra cellular enzyme (Akin et al., 1990) และ Akin (1994) ไดทําการศึกษาผลของเชื้อรารูเมนตอประสิทธิภาพการยอยไดในสวนตาง ๆ ของพืชในหองปฏิบัติการ (Table 2) และ Akin et al. (1990) ไดศึกษาผลของชนิดเชื้อราตอประสิทธิภาพการยอยไดของหญาเบอมูดา พบวา เชื้อราแตละชนิดมีผลตอประสิทธิภาพการยอยไดของหญาเบอมูดาที่แตกตางกัน (Table 3)

Page 32: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

25 | P a g e

Table 2. Dry weight loss of intact forages by rumen fungi.

Plant Incubated with mixed rumen fungi1/

Plant part % Dry Weight loss2/

Warm-season grasses

Blade 37.6

Cynodon dactylon (Bermuda grass) Sheath 38.5Stem 31.4

Sorghum bicolor (sorghum) Blade 36.5Sheath 36.3Stem 25.7

Cool-season grassesPhalaris arundinacea (reed canary-grass) Blade 28.6

Sheath 40.0Stem 45.2

Festuca arundinacea (tall fescue) Blade 44.5

Sheath48.2

1/incubated 72 hours with rumen fluid plus streptomycin and penicillin.2/values are corrected for acid-pepsin-soluble materials and for loss in unenoculated controls.Source : Akin (1994)

Page 33: ASAT eJournal Vol 1- No 1

26 | P a g e

ภาพที่ 1 แสดงการเขาเกาะยึดผนังเซลลพืชของเชื้อรารูเมนstoma พบในกระเพาะรูเมนของกระบือปลักหลังจุมหมักหญากินนีนาน

m) (Ho et al., 1988b)B = การเขาเกาะยึดเซลลพืชบริเวณพืชหลังบมนาน 6 (Ho et al., 1996)

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม

แสดงการเขาเกาะยึดผนังเซลลพืชของเชื้อรารูเมน A = การเขาเกาะยึดเซลลพืชบริเวณพบในกระเพาะรูเมนของกระบือปลักหลังจุมหมักหญากินนีนาน

m) (Ho et al., 1988b)การเขาเกาะยึดเซลลพืชบริเวณ parenchyma และมีการสรางไรซอยดแทรกลงไปในเซลล

6 ชั่วโมง พบในกระเพาะรูเมนของแกะ (Bar = 2

A B

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

การเขาเกาะยึดเซลลพืชบริเวณ พบในกระเพาะรูเมนของกระบือปลักหลังจุมหมักหญากินนีนาน 30 นาที (Bar = 5

และมีการสรางไรซอยดแทรกลงไปในเซลลm)

Page 34: ASAT eJournal Vol 1- No 1

27 | P a g e

ภาพที่ 2 แสดงลักษณะของเชื้อราในรูเมนของกระบือปลัก เชื้อราชนิด Anaeromyces

ที่อยูในรูเมน (Bar = 16 Source : Wanapat et al. (2000)

ภาพที่ 3 แสดงการเขาเกาะยึดผนังเซลลพืชพืชในสวนของกานใบชั่วโมง (Bar = 25 B = ลักษณะของโคโลนีบนชิ้นฟางขาวหลังจุมหมักในรูเมนนานเมนของแกะ (Bar = 25

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม

แสดงลักษณะของเชื้อราในรูเมนของกระบือปลัก A = ลักษณะของโคโลนีของAnaeromyces sp., B = ลักษณะของไรซอยดที่แทรกลงไปภายในเซลลพืช

(Bar = 16 m): Wanapat et al. (2000)

แสดงการเขาเกาะยึดผนังเซลลพืช A = ลักษณะของการสรางโคโลนีเชื้อราบนเซลลพืชในสวนของกานใบ พบในกระเพาะรูเมนของกระบือปลักหลังจุมหมักหญากินนี

(Bar = 25 m) (Ho et al., 1988b)ลักษณะของโคโลนีบนชิ้นฟางขาวหลังจุมหมักในรูเมนนาน 24

(Bar = 25 m) (Ho et al., 1996)

BA

A B

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

ลักษณะของโคโลนีของลักษณะของไรซอยดที่แทรกลงไปภายในเซลลพืช

ลักษณะของการสรางโคโลนีเชื้อราบนเซลลพบในกระเพาะรูเมนของกระบือปลักหลังจุมหมักหญากินนี นาน 24

24 ชั่วโมง พบในกระเพาะรู

Page 35: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

28 | P a g e

Table 3. Effect of rumen fungi on dry weight loss of Bermuda grass.

Fungi Bermuda grass incubated with pure rumen fungal culture1/

Plant part % Dry Weight loss

MonocentricPiromyces MC-1 Blade 29.5

Stem 15.7Neocallimastix MC-2 Blade 67.8

Stem 20.6

PolycentricPC-1 (probably Anaeromyces) Blade 42.5

Stem 16.2Orpinomyces PC-2 Blade 56.0

Stem 23.8Orpinomyces PC-3 Blade 57.2

Stem 33.61/incubated 72 hours in basal medium.Source : Akin et al. (1990)

ความสัมพันธของเชื้อรากับแบคทีเรียตอการยอยสลายฟางขาวนอกจากนี้ Ha et al. (2001) ไดทําการศึกษาในหองปฏิบัติการเปรียบเทียบการยอยสลายฟางขาวโดยเชื้อ

ราในรูเมน เซลยูโลไลติกแบคทีเรีย และการทํางานรวมกันระหวางเชื้อราและแบคทีเรีย พบวา เชื้อราชนิดPiromyces rhizinflata B157 สามารถยอยฟางขาวโดยคิดเปนน้ําหนักวัตถุแหง (dry matter digestibility, DMD) สูงถึง 50.54% มีคาใกลเคียงกับแบคทีเรียชนิด Ruminococcus flavefaciens FD1 ที่สามารถยอยฟางขาวไดเทากับ47.78 % และเมื่อทําการศึกษาการทํางานรวมกับระหวางเชื้อรากับแบคทีเรียรูเมนชนิด P. rhizinflata + R.

Page 36: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

29 | P a g e

flavefaciens และ Orpinomyces joyonii + R. flavefaciens พบวาสามารถยอยฟางขาวไดใกลเคียงกันคือ 44.05 และ 41.73 % ตามลําดับ หลังจากบมในหลอดทดลองนาน 6 วัน (Table 4)

Table 4. Rice straw degradation by rumen fungi and rumen cellulolytic bacteria in mono- or in co- culture (%)

Culture Incubation time (days)1 2 4 6

Orpinomyces joyonii SG4 26.50+0.95 26.99+2.48 22.70+0.66d 31.19+0.60cd

Piromyces rhizinflata B157 24.75+0.60 27.68+1.00 41.23+0.41a 50.54+3.44a

Fibrobacter succinogenes S85 21.47+1.51 26.93+1.90 24.70+0.86cd 33.56+0.51bc

Ruminococcus albus B199 21.01+0.78 26.08+0.79 28.58+1.76c 30.03+1.03d

Ruminococcus flavefaciens FD1 22.95+0.39 24.49+0.29 45.96+1.66a 47.78+0.65a

P. rhizinflata + F. succinogenes 21.72+0.25 24.79+0.43 29.09+0.74bc 31.65+1.55cd

P. rhizinflata + R. albus 22.85+0.73 25.15+0.28 26.41+1.35cd 29.54+1.14d

P. rhizinflata + R. flavefaciens 22.71+1.07 24.57+0.92 33.82+0.94b 44.05+2.32ab

O. joyonii + F. succinogenes 22.49+1.13 24.53+0.97 28.25+0.74c 31.76+0.83cd

O. joyonii + R. albus 23.47+0.76 27.77+0.80 27.34+0.66cd 31.33+1.36cd

O. joyonii + R. flavefaciens 26.47+4.16 24.62+0.80 44.35+2.53a 41.73+5.83abc

Dry matter digestibility 0 hr is 15.67+0.54%, Means in the same column with different superscripts are significant different (p<0.01)Source : Ha et al. (2001)

Page 37: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

30 | P a g e

เอนไซมที่พบในเชื้อราแตละชนิดในกระเพาะรูเมนการยอยอาหารเยื่อใยโดยเชื้อรานี้อาศัยการทํางานของน้ํายอยที่สําคัญที่สามารถยอยสลายสวนของเซลล

พืชได พบวา N. frontalis สามารถสราง endo-1,4--D-glucanase (CMCase) ได (Mountfort and Asher, 1985) นอกจากนี้ยังพบอีกหลายชนิดที่สามารถสังเคราะหน้ํายอยดังกลาวได เชน N. patriciarum, P. communis(William and Orpin, 1987) P. spirals, P. minutus (Ho et al., 1996) และ Anaeromyces elehans (Ho et al., 1990) และนอกจากนี้ยังมีเอนไซมที่สําคัญอีก คือ exo-1-4--D-glucanase (cellobiohydrolases) สามารถยอยสวนประกอบของเซลยูโลสที่เรียกวา cystalline แตนอยกวาการทํางานของ endoglucanase (Mountford et al., 1982)

เชื้อรายังสามารถผลิตเอนไซมในการยอย hemicellulose ไดดวยโดยจัดอยูในกลุมของ xylanases (hemicellulase) ไดแก -xylanase, -xylosidase และ xylobiase ซึ่งอาจจะมีระดับลดต่ําลงไดถาอาหารมีsoluble sugar ในระดับสูง (William and Orpin, 1987) Xue et al. (1992a,b) พบวามียีนสที่ควบคุมการสังเคราะหเอนไซมในกลุม cellulase และ xylanase ในเชื้อราดวย ทําใหมั่นใจไดวา เชื้อรามีความสามารถในการยอยสลายอาหารเยื่อใยได และนอกจากนี้ Ushida et al. (1997) ไดทําการรวบรวมชนิดของเชื้อราที่มีความสามารถในการสังเคราะหเอนไซมชนิด polysaccharidases ของเชื้อราแตละชนิด พบวา เชื้อราแตละชนิดจะมีเซลลในการสังเคราะหเอนไซมที่แตกตางกันไป ดังแสดงใน Table 5

ผลผลิตสุดทายที่เกิดจากกระบวนการยอยสลายโดยเชื้อรา ผลผลิตสุดทายที่เกิดจากกระบวนการยอยสลายอาหารเยื่อใยโดยเชื้อราสวนใหญไดแก acetate, formate,

lactate, ethanol, CO2 และ H2 ไมวาจะเปนเชื้อราชนิด Neocallimastix frontalis, N. hurleyensis, Caecomycessp., Piromyces sp. (Bauchop and Mountfort, 1981) นอกจากนี้พบวา N. patriciarum จะสังเคราะหไดเฉพาะacetate, lactate, H2 และ CO2 เทานั้น ในขณะที่พบวาเชื้อราที่อยูในกลุม Piromyces ไดแก P. spiralis และ P. minutus จะสังเคราะหไดเฉพาะ acetate และ formate เทานั้น (Ho and Abdullah, 1999) ผลผลิตสุดทายเหลานี้จะถูกใชประโยชนโดยสัตวเคี้ยวเอื้องโดยเฉพาะอยางยิ่ง acetate นอกจากจะเปนแหลงพลังงานแลว ยังเปนสารตั้งตนในการสังเคราะหกรดไขมันในน้ํานม สวน lactate จะถูกสังเคราะหเปน propionate ได นั่นหมายถึงสามารถถูกสังเคราะหไปเปนกลูโคสไดนั่นเอง (เมธา, 2533)

Page 38: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

31 | P a g e

Table 5. List of sequence data on fungal polysaccharidases.

Organism Enzyme GeneNeocallimastix patriciarum Endoglucanase celBN. patriciarum Xylanase xynAN. frontalis Endoglucanase celAN. frontalis Endoglucanase xynlN. frontalis Endoglucanase xyn2N. patriciarum Xylanase xynB

N. patriciarum Cellobiohydrolase celAPiromyces sp. Mannanase manAPiromyces sp. Endomannanase manBPiromyces sp. Endomannanase manCPiromyces sp. Xylanase xynAOrpinomyces sp. Xylanase xynAOrpinomyces sp. Endoglucanase celBOrpinomyces Cellobiohydrolase celAOrpinomyces Cellobiohydrolase celCSource : Ushida et al. (1997)

Page 39: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

32 | P a g e

สรุปและวิจารณเชื้อราในกระเพาะรูเมนมีบทบาทในการยอยสลายอาหารประเภทเยื่อใย โดยเฉพาะในสวนของพืชที่ยอย

สลายไดยาก โดยอาศัยการทํางานของเอนไซมที่ถูกสังเคราะหจากเชื้อราเหลานี้ โดยพบวาเชื้อราชนิดNeocallimastix sp., Piromyces sp. Orpinomyces sp. มีความสามารถในการสังเคราะหเอนไซม endo-glucanase (CMCase) นอกจากนี้ยังพบวาเชื้อราชนิด Neocallimastix sp. และ Orpinomyces sp. มีความสามารถในการสังเคราะหเอนไซม exo-glucanase สามารถยอยเซลยูโลสในสวน cystalline ได นอกจากนี้เชื้อราเหลานี้ยังสามารถสังเคราะหเอนไซม hemicellulase ไดเชนเดียวกัน จึงเปนผลทําใหเพิ่มประสิทธิภาพการยอยสลายเยื่อใยภายในกระเพาะรูเมนไดในสัตวเคี้ยวเอื้อง ทําใหไดผลผลิตสุดทายจากกระบวนการหมักที่สําคัญเชน อะซีเตทฟอรเมท และแลคเตท และที่สําคัญจะไดไฮโดรเจนเสมอในกระบวนการยอยสลาย ถาหากในสภาวะรูเมนวิทยาในขณะนั้นมีแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติในการใชประโยชนจากไฮโดรเจนและนํามาสังเคราะหเปนกรดไขมันที่ระเหยไดที่สําคัญ (H-sink) ก็จะทําใหกระบวนการหมักเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จะเห็นไดวาการทํางานรวมกันอยางเหมาะสมของจุลินทรียในกระเพาะรูเมนจะกอใหเกิดประโยชนอยางสูงสุดในระบบการผลิตสัตวเคี้ยวเอื้อง

ขอเสนอแนะการศึกษาเกี่ยวกับเชื้อราในกระเพาะรูเมนยังมีอยูนอยมาก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากขอจํากัดในเรื่อง

งบประมาณที่ใชคอนขางสูง และใชเวลาในการศึกษาวิจัยนาน ทําใหขอมูลสวนใหญมาจากตางประเทศ แตอยางไรก็ตามบทบาทของเชื้อราตอการยอยสลายอาหารเยื่อใยยังไมเปนที่เดนชัดมากนัก เนื่องจากการทํางานจะเกิดขึ้นรวมกันระหวางแบคทีเรีย และโปรโตซัวดวย ดังนั้นจึงนาจะมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงปจจัยตาง ๆ ที่เปนขอจํากัดอันจะกอใหเกิดประสิทธิภาพตอการใชประโยชนไดจากอาหารเยื่อใยที่มีอยูภายในทองถิ่นโดยเฉพาะอยางยิ่งผลพลอยไดทางการเกษตรที่มีอยูภายในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น

Page 40: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

33 | P a g e

เอกสารอางอิงเมธา วรรณพัฒน. 2533. โภชนศาสตรสัตวเคี้ยวเอื้อง. กรุงเทพฯ:ฟนนี่พลับบลิชชิ่ง จํากัด. Akin, D.E. 1994. Ultrastructure of plant cell-walls degraded by an aerobic fungi:In Anaerobic Fungi.

Biology, Ecology, Function. Eds. D.O. Mountfort and C.G. Orpin. Macel Dekker, New York.Akin, D.E., G.I.R. Gordon, and J.P. Hogan. 1983. Rumen bacterial and fungal degradation of Digiaria

pentzii grow with or without sulphur. Appl. Environ. Microbiol. 46:738-748.Akin, D.E., L.L. Rigsby, C.E. Lyon, and W.R. Widham. 1990. Relationship of tissue digestion to textural

strength in bermuda grass and alfulfa stems. Crop. Sci. 30:990-993.Bauchop, T. 1981. The anaerobic fungi in rumen fibre digestion. Agric. Environ. 6:339-348.Bauchop, T., and D.O. Mountfort. 1981. Cellulose fermentation by a rumen anaerobic fungus in both the

absence and presence of rumen methanobens. Appl. Environ. Microbiol. 42:1103-1110.Ha, J.K., S.S. Lee, S. W. Kim, In K. Han, K. Ushida, and K.J. Cheng. 2001. Degradation of rice straw by

rumen fungi and cellulolytic bacteria through mono-, co- or sequential- cultures. Asian-Aus. J. Anim. Sci. 14:797-802.

Ho, Y.W., and N. Abdullah. 1999. The role of rumen fungi in fibre digestion, review. Asian-Aus. J. Anim. Sci. 12:104-112.

Ho., Y.W., and D.J.S. Barr. 1995. Classification of anaerobic gut fungi from herbivores with emphasis on rumen fungi from Malaysia. Mycologia. 87:655-677.

Ho, Y.W., N. Abdullah, and S. Jalaludin. 1988a. Penetrating structures of anaerobic rumen fungi in cattle and swamp buffaloes. J. Gen. Microbiol. 134:177-181.

Ho, Y.W., N. Abdullah, and S. Jalaludin. 1988b. Colonization of guinea grass by anaerobic rumen fungi in swamp buffaloes and cattle. Anim. Feed Sci. Technol. 22:161-171.

Ho, Y.W., N. Abdullah, and S. Jalaludin. 1991. Fungal colonization of rice straw and palm press fiber in the rumen of cattle and buffaloes. Anim. Feed Sci. Technol. 34:311-321.

Ho, Y.W., N. Abdullah, and S. Jalaludin. 1996. Microbial colonisation and degradation of some fibrous crop residues in the rumen of goats. Asian-Aus. J. Anim. Sci. 9:519-524.

Ho, Y.W., T. Bauchop, N. Abdullah, and S. Jalaludin. 1990. Ruminomyces elegans gen. et sp. nov. ,

Page 41: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

34 | P a g e

a polycentric fungus from cattle. Mycotoxon. 38:397-405.Jouany, J.P., and K. Ushida. 1999. The role of protozoa in feed digestion review. Asian-Aus. J.

Anim. Sci. 12:113-128.Matsui, H., K. Ushida, and Y. Kujima. 1997. Effect of dietary concentrate on fungal zoosporogellesis

in sheep rumen. Asian-Aus. J. Anim. Sci. 10:599-602.Mountfort, D.O., and R.A. Asher. 1985. Production and regulation of cellulase by two strains of the

rumen of the rumen anaerobic fungus Neocallimastix frontalis. Appl. Environ. Microbiol. 49:1314-1322.

Mountfort, D.O., R.A. Asher, and T. Bauchop. 1982. Fermentation of cellulose to methan and carbon dioxide by a rumen anaerobic fungus in a triculture with Methanobrevibacter sp. Strain RA1 and Methanosarcina barderi. Appl. Environ. Microbiol. 44:128-134.

Orpin, C.G., and L. Bountiff. 1978. Zoospore chemotaxis in the rumen phycomycete Neocallimastix frontalis. J. Gen. Microbiol. 104:113-122.

Ushida, K., H. Matsui, Y. Fujino, and J.K. Ha. 1997. Role and potential of ruminal in fiber digestion. Asian-Aus. J. Anim. Sci. 10:541-550.

Wanapat, M. 2000. Rumen manipulation to increase the efficient use of local feed resources and productivity of ruminants in the Tropics. In:Proc. of The 9th Congress of the Asian-Australasian Association of Animal Production Societies and 23rd Biennial Conference of the Australian Society of Animal Production, July 3-7, 2000. University of New South Wales, Sydney, Australia.

Wanapat, M., A. Ngarmsang, S. Korkhuntot, N. Nontaso, C. Wachirapakorn, G. Beakes, and P. Rowlinson. 2000. A comparative study on the rumen microbial population of cattle an swamp buffalo raised under traditional village conditions in the northeast of Thailand. Asian-Aus. J. Anim. Sci. 13:918-921.

Williams, A.G., and C.G. Orpin. 1987. Polysaccharide-degrading enzymes formed by three spicies of anaerobic rumen fungi grown on a range of carbohydrate substrates. Can. J. Microbiol. 33:418-426.

Wubah, D.A., and S.H. Kim. 1996. Chemoattraction of anaerobic ruminal fungi zoospores to selected phenolic acids. Microbiol. Res. 151:257-262.

Page 42: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

35 | P a g e

Xue, G.P., K.S. Gobius, and C.G. Orpin. 1992a. A novel polysaccharide hydrolase cDNA (cel D) from Neocallimastix partricicum encoding three-multi-functional catalytic domains with high endoglucanase, cellobio-hydrolase and xylanase activities. J. Gen. Microbiol. 138:2397-2403.

Xue, G.P., C.G. Orpin, K.S. Gobius, J.H. Aylward, and G.D. Simpson. 1992b. Cloning and expression of multiple cellulase cDNAs from the anaerobic rumen fungi Neocallimastix partriciarum in Esherichia cili. J. Gen. Microbiol. 138:1413-1420.

Page 43: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

36 | P a g e

บทความปริทัศน

ผลของเฮ็ทเทอโรซิสตอลักษณะการสืบพันธุระหวางสุกรพันธุแลนดเรซและลารจไวท

(Heterosis effects on reproductive traits between Landrace and Largewhite)

ชิตนภา ตนโนนเชียง และ สุภาวดี มานะไตรนนท

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอ

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาวาสุกรพันธุแลนดเรซหรือพันธุลารจไวทสายพันธุใด

เหมาะที่จะเปนพอพันธุหรือแมพันธุในการผลิตสุกรลูกผสมที่มีประสิทธิภาพ โดยศึกษาจากลักษณะการสืบพันธุ

ทั้งหมด 7 ลักษณะในแมสุกรลูกผสม พบวา อายุที่สามารถสืบพันธุ น้ําหนักที่สามารถสืบพันธุ น้ําหนักสุกรตั้ง

ทองที่อายุ 110 วัน น้ําหนักแมสุกรเมื่อหยานม และน้ําหนักสุกรหลังจากสูญเสียการใหน้ํานมในแมสุกรลูกผสม

ระหวางแมแลนดเรซกับพอลารจไวทจะดีกวาใชพอแลนดเรซกับแมลารจไวท และยังดีกวาแลนดเรซพันธุแท

หรือ ลารจไวทพันธุแทดวย ขณะที่จํานวนเตานมและระยะเวลาตั้งทองมีคาใกลเคียงกันทั้งในแมสุกรพันธุแท

หรือแมสุกรลูกผสม

คําสําคัญ: เฮ็ทเทอโรซิส แลนดเรซ ลารจไวท ผสมขาม และลักษณะการสืบพันธุ

Page 44: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

37 | P a g e

Abstract

The objective of this study was to evaluate the crossbred between Landrace and Largewhite that

which breeds should be the effective sire or dam. The seven traits of reproductive traits of dam were observed.

The results showed that age at puberty, weight at puberty, gestation length, weight at 110 days, weight at

weaning and lactation weight loss of crossbred between Landrace (dam) and Largewhite (sire) were better that

crossbred between Landrace (sire) and Largewhite (dam) and better than purebred Landrace or purebred

Largewhite. While the number of nipple and gestation lengths were similar among any types of breeds or

crossbreds.

Key words: Heterosis, Landrace, Largewhite, Crossbred and Reproductive traits

Page 45: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

38 | P a g e

บทนํา

ปจจุบันนี้เกษตรกรไทยไมนิยมเลี้ยงสุกรพันธุพื้นเมือง เนื่องจากโตชา ใชเวลาเลี้ยงนาน คุณภาพเนื้อ

ไมดี และใหลูกตอครอกนอย ไมตรงตามความตองการทางการตลาดจึงไดมีการนําพันธุสุกรเขามาปรับปรุงแลว

เขามาเลี้ยงหลายพันธุ (ธํารงศักดิ์, 2543) และปรากฏวาสุกรพันธุ แลนดเรซและสุกรพันธุลารจไวทเปนที่นิยม

เลี้ยงในหมูเกษตรกร เพราะวาเปนพันธุที่เจริญเติบโตไดดี เมื่อนําสุกรพันธุลารจไวทผสมขามกับสุกรพันธุ

แลนดเรซจะไดสุกรสองสายที่รวมคุณสมบัติของแตละพันธุไวดวยกัน มีลักษณะที่ดีคือ ใหลูกดก เลี้ยงลูกเกง ขา

แข็งแรง ลําตัวยาว และสุขภาพแข็งแรง (วิรัลพัชร, 2548) ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาวา

สุกรพันธุแลนดเรซหรือพันธุลารจไวทสายพันธุไหนเหมาะสมที่จะเปนพอพันธุหรือแมพันธุในการปรับปรุง

พันธุใหไดสุกรลูกผสมที่มีคุณภาพ โดยการศึกษาจากลักษณะทางการสืบพันธุ

ผลและวิจารณผลการศึกษา

จากการศึกษาลักษณะในแมสุกรพันธุแลนดเรซ, แมสุกรพันธุลารจไวท, แมสุกรพันธุผสมระหวางพอ

ลารจไวทกับแมแลนดเรซ และแมสุกรพันธุผสมระหวางพอแลนดเรซกับแมลารจไวท ของ Cassady et al.

(2009) ไดทําการศึกษาทั้งสิ้น 7 ลักษณะ ไดแก จํานวนเตานม, อายุที่สามารถสืบพันธุ, น้ําหนักที่สามารถ

สืบพันธุ, ระยะเวลาตั้งทอง, น้ําหนักสุกรตั้งทองที่อายุ 110 วัน, น้ําหนักแมสุกรเมื่อหยานม และน้ําหนักแม

สุกรหลังจากสูญเสียการใหน้ํานม (ตาราง 1) พบวา สุกรพันธุแลนดเรซและพันธุลารจไวท จะมีลักษณะที่ดีเดน

แตกตางกัน ซึ่งในสุกรพันธุแลนดเรซจะมี อายุที่สามารถสืบพันธุ, น้ําหนักที่สามารถสืบพันธุ น้ําหนักแมสุกร

เมื่อหยานมและน้ําหนักหลังจากสูญเสียการใหน้ํานมมีคาเทากับ 188.40±2.30 วัน, 92.60±1.10 กิโลกรัม,

Page 46: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

39 | P a g e

136.80±1.70 และ -18.20±1.40 กิโลกรัม ตามลําดับ ซึ่งดีกวาสุกรพันธุลารจไวท ซึ่งมีคาเทากับ 210.70±2.30

วัน, 106.10±1.10 กิโลกรัม 141.40±1.80 กิโลกรัม และ -11.00±1.50 กิโลกรัม ตามลําดับ ในทางตรงขามสุกร

พันธุลารจไวทจะมีน้ําหนักสุกรตั้งทองที่อายุ 110 วันเทากับ 152.30±1.80 กิโลกรัม ดีกวาสุกรพันธุแลนดเรซซึ่ง

มีคาเทากับ 155.00±1.70 กิโลกรัม

เมื่อเปรียบเทียบกับสุกรลูกผสมพบวาแมสุกรลูกผสมระหวางพอลารจไวทกับแมแลนดเรซจะแสดง

ลักษณะที่ดีของพันธุแททั้งสองพันธุเขาดวยกันและดีกวาพันธุแททั้งสองพันธุดวย คือ อายุที่สามารถสืบพันธุ

(182.00±9.40 วัน) น้ําหนักที่สามารถสืบพันธุได (91.70±4.40 กิโลกรัม) น้ําหนักสุกรตั้งทองที่อายุ 110 วัน

(159.20±6.20 กิโลกรัม) น้ําหนักแมสุกรเมื่อหยานม (129.10±6.50 กิโลกรัม) และ น้ําหนักแมสุกรหลังจาก

สูญเสียการใหน้ํานม (-28.00±5.30 กิโลกรัม) ในทางตรงขามพบวาในแมสุกรที่มีพอแลนดเรซและแมลารจไวท

จะมีคาลักษณะตาง ๆ ดอยกวาใชแมสุกรที่มีพอเปนพันธุลารจไวทและแมเปนพันธุแลนดเรซ และเมื่อนําไป

เปรียบเทียบกับพันธุแททั้งสองพันธุก็ยังแสดงลักษณะเหลานอยดอยกวาดวย (ตาราง 1) สวนลักษณะจํานวนเตา

นมและระยะเวลาการตั้งทองของสุกรพันธุแททั้งสองพันธุนั้นมีคาใกลเคียงกันและยังมีคาใกลเคียงกับแมสุกร

ลูกผสมไมวาจะใชพันธุใดเปนพอหรือแมพันธุดวย

Page 47: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

40 | P a g e

ตารางที่ 1 คาเฉลี่ยของการสืบพันธุ (±SE) ของสุกรพันธุแทและพันธุลูกผสม

ลักษณะที่ศึกษา ชนิดพันธุ

แลนดเรซ ลารจไวท ลูกผสมพอ

แลนดเรซแม

ลารจไวท

ลูกผสมพอ

ลารจไวทแม

แลนดเรซ

จํานวนเตานม (คู) 14.35±0.06 14.16±0.06 14.29±0.24 13.94±0.22

อายุที่สามารถสืบพันธุ(วัน) 188.40±2.30 210.70±2.30 187.90±11.00 182.00±9.40

น้ําหนักที่สามารถสืบพันธุ

(กิโลกรัม)

92.60±1.10 106.10±1.10 102.70±5.10 91.70±4.40

ระยะเวลาตั้งทอง(วัน) 114.48±0.17 114.29±0.19 114.43±0.79 114.36±0.64

น้ําหนักสุกรตั้งทองที่

อายุ 110 วัน(กิโลกรัม)

155.00±1.70 152.30±1.80 164.6±7.80 159.20±6.20

น้ําหนักแมสุกรเมื่อหยานม

(กิโลกรัม)

136.80±1.70 141.40±1.80 157.10±7.80 129.10±6.50

น้ําหนักแมสุกรหลังจากสูญเสีย

การใหน้ํานม (กิโลกรัม)

-18.20±1.40 -11.00±1.50 -7.00±6.30 -28.00±5.30

ที่มา : Cassady et al. (2002b)

Page 48: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

41 | P a g e

สรุปผลการศึกษา

จากการศึกษาลักษณะทางการสืบพันธุของแมสุกรพันธุผสมระหวางสุกรพันธุแลนดเรซกับลารจไวท

พบวาใชสุกรลูกผสมระหวางพอพันธุลารจไวทแมพันธุแลนดเรซจะแสดงลักษณะทางการสืบพันธุ ไดแก อายุที่

สามารถสืบพันธุ น้ําหนักที่สามารถสืบพันธุได น้ําหนักสุกรตั้งทองที่อายุ 110 วัน น้ําหนักแมสุกรเมื่อหยานม

และ น้ําหนักแมสุกรหลังจากสูญเสียการใหน้ํานมดีกวาแมสุกรพันธุผสมระหวางพอพันธุแลนดเรซกับแมพันธุ

ลารจไวท และดีกวาแมสุกรพันธุแทแลนดเรซและแมสุกรพันธุแทลารจไวทดวย สวนลักษณะจํานวนเตานมและ

ระยะเวลาตั้งทองมีคาใกลเคียงกันไมวาจะเปนสุกรพันธุแทหรือพันธุผสม จากผลการศึกษาสามารถสรุปไดวา

ลักษณะที่ดีเดนจากพันธุแททั้งสองพันธุจะถูกนํามารวมอยูในสุกรตัวเดียวกันเมื่อมีการผสมขาม อยางไรก็ตามสิ่ง

ที่ควรพิจารณาดวยก็คือสุกรพันธุใดเหมาะที่จะเปนสายพอหรือสายแมพันธุ

เอกสารอางอิง

ธํารงศักดิ์ พลบํารุง. 2543.การเลี้ยงสุกร.พิมพครั้งที่ 7.สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด. กรุงเทพมหานคร.5-3

มังกร วงศศรี, วิศาล ศรีสุริยะ, ปยศักดิ์ สุวรรณี และผอง ศรีสวัสดิ์ . 2545. สมรรถภาพการสืบพันธุสุกรของ

สถานีบํารุงพันธุสัตวอุบลราชธานี.ผลงานวิจัยการปศุสัตวประจําป พ.ศ. 2546. สาขาการปรับปรุงพันธุ

สัตวและการจัดการฟารม กรมปศุสัตวกระทรวงเกษตรและสหกรณ. น.111-114

แสนศักดิ์ นาคะวิสุทธิ์, Crump .R. , Suarez .M. and Graser .H-U. 2549. สหสัมพันธทางพันธุกรรมระหวางสุกร

พันธุแทและสุกรลูกผสมในลักษณะสมรรถภาพการผลิตและการสืบพันธุ.กองบํารุงพันธุสัตว กรมปศุ

สัตว.กรุงเทพมหานคร.

Page 49: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

42 | P a g e

อนันต ศรีปราโมช. 2545. การเลี้ยงสุกร พิมพครั้งที่ 3 สํานักพิมพเกษตรสาสน นนทบุรี15-16

Cassady, JP, LD Young, and K.A. Leymaster. 2002a. Heterosis and recombination effects on pig growth and

carcass traits. J.Anim. Sci. 80:2278–2294.

Cassady .JP, LD Young and KA Leymaster. 2002b. Heterosis and recombination effects on pig reproductive

traits. J. Anim. Sci. 80, 2303-15.

Johnson, R. K. 1980. Heterosis and breed effects in swine. NorthCentral Regional Publication .No. 206.

Nebraska AgriculturalExperiment Station, Lincoln

Ross, T.M. 1992. Canadian swine improvement program. Adsgo Trading corporation limited, 916 Grosvenor

Avenue, Winnepeg, Manitoba, Canada. 17p.

Page 50: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

43 | P a g e

บทความปกิณกะ

โคแดงเมืองนาน

นิสิต ตั้งตระการพงษอดีต ปศุสัตวจังหวัดพิษณุโลก

ประวัติจังหวัดนานหรือเมืองนานมีภูมิประเทศประกอบดวยปาเขาสลับกับที่ราบ เปนที่ราบแคบๆระหวางภูเขา

และมีที่ราบขนาดใหญขนานไปกับแมน้ํานานจึงเหมาะสมอยางยิ่งของการตั้งถิ่นฐานมนุษยกอนประวัติศาสตร จากการคนพบเครื่องมือเครื่องใชที่เปนหินประมาณวาคนเมืองนานโบราณมีอายุไมต่ํากวา 5,000 ป ดํารงชีพดวยการลาสัตว และเก็บพืชผักผลไมเปนอาหาร ตอมาเกิดชุมชนชาวไทยรวมตัวกันเปนเมืองนานหรือนันทบุรีมีผูนํา คือ พระยาภูคา เมื่อพุทธศัตวรรษที่ 18 ชุมชนไดพัฒนาความเปนอยูของผูคนใหมีการปลูกพืชธัญญาหาร และการเลี้ยงสัตว การเลี้ยงโคจึงเปนอาชีพมาแตโบราณ เมืองนานมีเจาครองอยูถึงองคที่ 56 คือ เจาอัตถวรปญโญ ไดขอเปนขาของขัณฑสีมาตอพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกในป พ.ศ.2331 โบราณวัตถุชิ้นสําคัญเปนสมบัติของเจาเมืองนาน คือ งาชางดํา มีลักษณะงาปลีออกสีน้ําตาลเขมสวนปลายมน เปนมรดกตกทอดกันมาจากเจาครองเมืองนานองคกอนๆจนถึงเจามหาพรหมสุรธาดาเจาผูครองนครเมืองนานองคที่ 63 องคสุดทายถึงแกพิราลัยบุตรหลานจึงไดมอบงาชางดําใหเปนสมบัติของแผนดิน พ.ศ.2474 สืบเนื่องจากงาชางดํามีสีน้ําตาลเขมจึงทําใหประชาชนชาวนานนับถือเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของจังหวัด และนําสีน้ําตาลเขมของงาเปนสิ่งยึดเหนี่ยวทําใหเกิดกําลังใจ ความนิยมในหมูผูเลี้ยงโคนับถือโคที่เปนมงคลตอผูเลี้ยงตองมีเขาสีน้ําตาลเขม และมีขนสีน้ําตาลเขมเชนเดียวกัน จึงทําใหโคแดงเมืองนานเปนโคเอกลักษณของจังหวัดนานในปจจุบัน

อุปนิสัยโคแดงเมืองนานเปนโคพื้นเมืองไทยมีขนาดลําตัวเล็กรูปรางปราดเปรียวเลี้ยงเปนฝูงบนเขาจะไมเชื่องมี

นิสัยตกใจงายวิ่งไดเร็งกระโดดไดสูง กินใบไมใบหญา และเถาวัลยเปนอาหาร แมโคคลอดลูกปละตัวหวงลูกออนวิ่งเขาทํารายเพื่อปกปองลูก บางครั้งจะซอนลูกในพุมปาไมเมื่อภัยมา รักฝูงรวมตัวกันตอสูเมื่อภัยมา รางกาย

Page 51: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

44 | P a g e

แข็งแรงอดทนมีภูมิตานทานตอโรคภัยไขเจ็บ ตัวผูผสมพันธุเกง และผสมพันธุติดลูกไดดี สามารถนํามาลากเข็นบนภูเขา และไถนาไดดีจึงเหมาะที่จะเลี้ยงในพื้นราบ และบนเขาสูงไดดี

ลักษณะประจําพันธุโคแดงเมืองนานลักษณะเดน

ขน ขนทั่วทั้งตัวเปนสีน้ําตาลหรือน้ําตาลแกมแดง ตัวผูบริเวณหนอกจะมีสีน้ําตาลเขมก็ได ขนใตทอง และซอกขาจะมีสีนวล ขนทั้งตัวจะมีลักษณะสั้นเกรียน

เขา เขามีสีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม มีขนาดยาวปานกลางปลายโคงแหลมกีบ กีบมีลักษณะโคงมนมีสีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมจมูก รูจมูกใหญ ปลายจมูกชุมตลอดเวลามีสีน้ําตาลถึงน้ําตาลเขมหาง โคนหางใหญยาวเรียงต่ํากวาขอขามีพูหางสีน้ําตาลถึงน้ําตาลเขม บางตัวหางลากดินใชปดแมลงได

ดีหู ใบหูเล็กกางปองออกไปดานขางสามารถขยับฟงเสียงไดหรือกระดิกใบหูเพื่อไลแมลงได

ลักษณะมงคลลักษณะมงคลเปนลักษณะที่ผูเลี้ยงโคเมืองนานนิยมใชคัดเลือกโคเพื่อนํามาเลี้ยง

หากหาลักษณะไดครบ เมื่อนํามาเลี้ยงแลวจะเกิดมงคลแกผูเลี้ยงหรือใหคุณหรือเกิดโชคลาภแกผูเลี้ยงไดตองมีลักษณะครบ 4 อยาง คือ

1.รอบตาทั้ง 2 ขางตองมีขนสีขาวนวล2.รอบรูจมูก และปลายจมูกตองมีสีขาวนวล3.รอบปากทั้งริมฝปากบน และลางตองมีขนสีขาวนวล4.เทาทั้ง 4 ตองมีขนสีขาวนวลตั้งแตเหนือกีบ ขึ้นมาถึงขอขา

ลักษณะทั่วไปนัยนตา ตาโตกลมสีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมขนตายาวสีน้ําตาลปาก ขอบปาก และขอบริมฝปากบน และลางมีสีน้ําตาลถึงน้ําตาลเขมผิวหนัง สีผิวหนังเปนสีน้ําตาลสามารถขยับหรือกระตุกเพื่อไลแมลงไดตะโหนก ตะโหนกเปนเพศผูมีขนาดปานกลาง ในเพศเมียจะมีขนาดเล็ก ตะโหนกตองตั้งตรงไมเอียงเหนียง เหนียงใตคอมีขนาดเล็กบาง และแคบ เหนียงใตทองหรือสะดือตองไมมี

Page 52: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

45 | P a g e

หนังหุมลึงค ลําลึงค และหนังหุมลึงคจะแนบติดกับพื้นทองคอ คอบาง มองดูคอนขางยาวลําตัว เสนหลังตั้งแตหลังตะโหนกถึงกลางกระดูกเชิงกรานตองเปนเสนตรง ลําตัวดูกวาง และลึก

พอควรกลามเนื้อทั่วตัวเปนมัดเห็นไดชัด โดยเฉพาะสวนตนขาหลังตองแข็งแรงสามารถรองรับโคยืนสองขาเพื่อกินใบไม และเถาวัลยได ระหวางขาหนาตรงหัวหนาอกจะเห็นเนื้อเสือรองไหเดนชัด

น้ําหนัก เพศผู,เพศเมีย - กิโลกรัมความสูงที่ขาหนา เพศผู,เพศเมีย - เซนติเมตร

Page 53: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

46 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

รูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนPattern of learning management participatory of community philosophers

ธวัชชัย เพ็งพินิจคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

บทคัดยอการวิจัยในครั้งนี้ เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงคเพื่อคนหารูปแบบการจัดการเรียนรู

โดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน ซึ่งศึกษาในพื้นที่โรงเรียนนํารองระดับมัธยมศึกษาจังหวัดหนองคายจํานวน 5 โรงเรียนประกอบดวย โรงเรียนโคกคอนวิทยาคม โรงเรียนถอนวิทยา โรงเรียนทาบอ โรงเรียนทาบอพิทยาคม และโรงเรียนเทศบาล 1 (สวางวิทยา) ใชระยะเวลาในการวิจัยตั้งแตวันที่ 23 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2550 ถึงวันที่ 22 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2551 รวม 12 เดือน จากการวิจัย พบวา รูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน สามารถแบงออกไดเปน 4 ขั้น คือ

ขั้นที่ 1 ขั้นจุดประกาย เริ่มจากผูบริหารโรงเรียนมอบนโยบายการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนใหกับครูในโรงเรียน เพื่อใหครูสํารวจหาปราชญชุมชน คัดเลือกปราชญ และวางแผนการเรียนรู จากนั้นผูบริหารและครูรวมกันนําเสนอแผนการเรียนรูตอคณะกรรมการโรงเรียน เพื่อขออนุมัติดําเนินการ

ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติการ ครูคนหานักเรียนกลุมเปาหมาย ปราชญชุมชนและครูรวมกันจัดการเรียนรู โดยครูจะเปนภาคทฤษฎีสวนปราชญชุมชนจะเปนภาคปฏิบัติ ผูเรียนเขามามีสวนรวมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเขามาสนับสนุนการจัดการเรียนรูในสวนที่โรงเรียนและปราชญชุมชนตองการในบางประเด็นเชน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ เปนตน

ขั้นที่ 3 ขั้นประเมินผลการเรียนรู ครูและปราชญรวมกันวางเกณฑการประเมินผลการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่องเปนระยะ พรอมกับสํารวจความพึงพอใจของผูเรียนและผูปกครองตอการจัดการเรียนรู เพื่อนําผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

Page 54: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

47 | P a g e

ขั้นที่ 4 ขั้นขยายผล-ตอยอด ครูผูสอนสรุปผลการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนนําเสนอตอผูบริหารโรงเรียนเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหผูบริหารติดสินใจในการดําเนินการขยายผล-ตอยอดการจัดการเรียนรูในขั้นตอนตอไป

ซึ่งรูปแบบการจัดการเรียนรูของแตละโรงเรียน จะมีการพัฒนาเปนวัฏจักร โดยกระบวนการจะวนกลับไปกลับมาจากขั้นที่ 1-4 ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรูจะพัฒนาไดเองอยางตอเนื่อง และโรงเรียนก็จะมีการถอดความรูที่ไดเปนระยะเชนเดียวกัน

ขอเสนอแนะ ควรมีการดําเนินการและพัฒนาอยางตอเนื่องจนนําไปสูการสรางหลักสูตรทองถิ่น โดยแบงระดับการเรียนรูออกเปนชวงชั้นจากงายไปหายาก รวมถึงควรมีการศึกษาวิจัยแบบสหวิชาการในการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนเพื่อเชื่อมโยงเชิงบูรณาการสูการจัดการเรียนรูแบบครบวงจร และควรศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนเชิงลึกอยางตอเนื่อง เพื่อนําปราชญชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาที่เขามาเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษาของไทย

คําสําคัญ: การจัดการเรียนรู, การมีสวนรวม, ปราชญชุมชน

Page 55: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

48 | P a g e

AbstractThis research was the qualitative research; the purpose of this study was to seek for the pattern of

learning management participatory of community philosophers which administered to five leading secondary schools in Nong Khai Province which consisted of Khokkhon Wittayakom School, Thon Wittayakom School, Thabo School, Thabo Pittayakom School and Municipality School 1 (Sawang Wittaya). The period in this study was from the 23rd July 2007 until the 22nd July 2008 at the total of 12 months. The finding: Pattern of learning management participatory of community philosophers has divided into 4 steps namely:

Step 1 The beginning step; the administrator has committed the policy of learning management participatory of community philosophers to the teachers at school. They will look for the community philosophers, selected and planned for learning. After that the administrator and the teachers have together presented their leaning planned towards the committees of school to asking for the procedure allowable.

Step 2 The performance step; the teacher searched for the students. The community philosophers and the teachers have together administered the learning. The teacher will be in theory session and the community philosophers will be in practical session. The learners participated in both theory and practical session. The local administration organization has supported this learning management in some matters such as the budgets, the materials etc.

Step 3 The evaluation learning step; the teachers and the community philosophers have evaluation the learning management continuously with surveying the pleasure of the learners and the guardian towards the learning for developed it appropriately.

Step 4 The expansion step; the teachers concluded the learning management participatory of community philosophers to the administrator in writing, in order to make decision to expand the learning in the future.

The learning management of school will be developed in circle. The procedure will go round back and forth from the 1st step to the 4th step. The procession of learning management will developed own-selves continuously and the school will interpreted them continuously.

The suggestions; it should be operated and developed it continuously until access the local curriculum, divided the level of learning into the interval from easily to difficulty. There should be the

Page 56: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

49 | P a g e

research in multi-discipline style in learning management participatory of community philosophers for integrating it completely. It should be deep studied the educational management participatory of community philosophers in action style in order to bring the community philosophers participatory in Thai curriculum.

Keyword: Learning management, Participatory, Community Philosophers

Page 57: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

50 | P a g e

บทนําโลกยุคใหมเปนโลกเศรษฐกิจฐานความรู (Knowledge-Based Economy: KBE) ที่ใหความรูสําคัญกับ

การสรางสรรคความรู และเทคโนโลยีใหมๆ ทําใหตองใชวิธีการวิจัย และพัฒนาเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งใหกับฐานความรูของประเทศไทย รวมทั้งองคกรตางๆ จําเปนตองปรับตัวไปสูองคกรแหงการเรียนรู เพื่อการพัฒนาประเทศ สรางนวัตกรรมใหม บุคลากรและแรงงานตองมีความรู และทักษะหลายดาน (Knowledge Worker) ตองเปนผูใฝรู เพิ่มเติมความรู และทักษะใหมๆ ใหกับตนเอง เพื่อใหสามารถปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (จินตนา, 2549)

ประเทศไทยกาวเขาสูสังคมฐานความรู สะทอนใหเห็นถึงบทบาทที่สําคัญของกระบวนการจัดการศึกษาที่เกิดจากการมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่น ปราชญชุมชน องคกรอาชีพ องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นๆ ในสังคม (องคการคาของคุรุสภา, 2542)

แนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทยในปจจุบัน ยึดตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 ที่กําหนดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษามีการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวา 12 ป ทั้ง 3 ประเภทคือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (มาตรา 15) ที่ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และบูรณาการ (มาตรา 23) สงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบ (มาตรา 25) เพื่อสรางกระบวนการเรียนรูของบุคคล ใหเกิดความเจริญงอกงามดวยการถายทอดความรู การฝกอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การพัฒนาความกาวหนาทางวิชาการและองคความรูใหม ที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

แมวาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 จะมุงพัฒนาระบบการศึกษาไปสูการปฏิรูปใหม เพื่อบูรณาการ (Integration) การเรียนรูและสรางกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต แตในทางปฏิบัติการจัดการศึกษายังคงติดยึดอยูกับกรอบแนวคิด กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง และการจัดการเรียนรูที่สรางความแปลกแยกระหวางผูเรียนกับบริบท (Context) ทางสังคมและวัฒนธรรมของตัวผูเรียนเอง เนื่องจากเปนการเรียนรูที่อางอิงตํารา หลักวิชาการ ทฤษฎี และแนวคิดที่มาจากภายนอกสังคมจนเกินไป ดวยมุงหวังการสอบแขงขันในระดับที่สูงขึ้น ทําใหกระบวนการเรียนรูของผูเรียนขาดแหวง บิดเบี้ยว ไมเปนรูปราง และเอาเปนเอาตาย

จากความพยายามสรางกระบวนทัศนใหมทางการศึกษา และการจัดกระบวนการเรียนรูเชิงบูรณาการใหกับผูเรียน กอใหเกิดแนวคิดในการปฏิรูปการศึกษา เพื่อสรางเสริมกระบวนการเรียนรูของผูเรียนที่เนนผูเรียน

Page 58: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

51 | P a g e

เปนศูนยกลาง ซึ่งปจจุบันไดเกิดแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนในหลายรูปแบบอาทิ แนวการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับสมอง (Brain-based Learning) การจัดการเรียนรูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน (School-based Learning Education) เปนตน

ทั้งนี้ รวมไปถึงการจัดการศึกษาที่มองยอนกลับมาที่ชุมชน กลับมามองที่สิ่งรอบตัวของผูเรียน เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความรู และประสบการณแกผูเรียนภายใตบริบทสิ่งแวดลอมรอบตัว ดวยแนวคิดการจัดการศึกษาตลอดชีวิต และการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) ซึ่งเปนการหันกลับมามองทุนทางสังคม ทุนวัฒนธรรม และทุนชีวิตของผูเรียน ซึ่งซอนอยูในวิถีชีวิต สิ่งแวดลอมรอบตัว และภูมิปญญาของชุมชน ที่ประกอบกันขึ้นจนกลายมาเปนรูปแบบทางสังคมและฝงลึกอยูในจิตวิญญาณ (Spirituality) ของผูเรียน เพื่อพัฒนาสุขภาวะของผูเรียนใหครบทั้ง 4 มิติ เพื่อการพัฒนาสูความเปนมนุษยอยางสมบูรณ

องคการอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ระบุวา สุขภาวะของคนเรานั้นประกอบดวย 4 มิติคือ มิติดานรางกาย มิติดานจิตใจ มิติดานสังคม และมิติดานจิตวิญญาณ ทั้งนี้เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวามิติดานจิตวิญญาณนั้นถือเปนองครวม (Holistic) ของชีวิต ซึ่งการมีชีวิตที่ดีและมีความสุขมิติทั้ง 4 ตองสมดุลกัน (ธวัชชัย, 2549)

แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น จะตองเกิดขึ้นภายใตทุนทางสังคม (Social Capital) และบริบทของชุมชน (Community Context) ที่เปนไปตามแบบฉบับเฉพาะขององคความรู ภูมิปญญา และแรงบันดาลใจ ทั้งนี้เพราะการพัฒนาที่เกิดผลจริงในทางปฏิบัติ (Practice) ภายใตบริบทของสังคมไทยไมจําเปนตองอาศัยเทคโนโลยีชั้นสูง หรือใชทักษะความรูทางวิชาชีพเฉพาะ ไมตองยิ่งใหญเลิศหรูอลังการตามแบบคิดของคนภายนอก หรือตามกระแสของความทันสมัยเหมือนที่ผานมา (ธวัชชัย, 2548)

ทุนชีวิต คือตัวคนหรือทุนมนุษย ทุนทางสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ทุนทางสังคมหรือการอยูรวมกัน ทุนทางวัฒนธรรม และทุนทางศาสนธรรม ทั้งหมดเชื่อมโยงกันทําใหชีวิตดําเนินไปอยางไดดุลยภาพ จึงมีความเปนปกติสุขและความยั่งยืน การพัฒนาสมัยใหมตามแนวตะวันตกคือ การไปเปลี่ยนทุนชีวิตของคนสวนใหญใหเปนเงินของคนสวนนอยและตางชาติจึงวิบัติทั้งแผนดิน ในขณะที่รัฐยังเดินตามเสนทางวิบัติ ไดเกิดแสงสวางขึ้นเปนจุดเล็กๆ ในทองทุงที่เรียกวา “ภูมิปญญาชาวบาน” มี “ปราชญชาวบาน” เปนผูนํา ในขณะที่ภูมิปญญาตะวันตกมองแบบแยกสวนที่ “เงิน” ปราชญชาวบานมองความเชื่อมโยงของ “ทุนชีวิต” วาเปนความรุมรวยและความผาสุก (ประเวศ, 2545)

ปราชญชุมชนหรือปราชญชาวบาน (Wise Community Leaders) หมายถึง บุคคลที่สั่งสมประสบการณจนมีความรอบรูหรือเชี่ยวชาญในศาสตรเฉพาะดานใดดานหนึ่ง ที่สามารถนํามาปฏิบัติใหเกิดประโยชนไดอยาง

Page 59: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

52 | P a g e

เปนรูปธรรม และไดรับการยอมรับจากสังคมวาสามารถชี้นําสังคมได โดยกาวขามขีดจํากัดของการเรียนรูในระบบการศึกษาของสถาบันทางสังคม (ธวัชชัย, 2550)

ผูที่ถูกเรียกวาปราชญชาวบาน จะมีคุณลักษณะพอสรุปไดใน 4 ประเด็น ดังนี้ 1) ปราชญชาวบานมีธรรมะอยูในหัวใจ เปนธรรมะของความรัก ความเมตตา ความอยากชวยเหลือคนอื่น 2) ปราชญชาวบานคิด ทํา สรุปบทเรียน แลวก็นํามาเปนความรูใหคนเห็นไดอยางชัดเจน เปนทั้งรูปธรรม ทั้งชีวิต ทั้งพฤติกรรม ทั้งการกระทํา ทั้งวิชาและการปฏิบัติใหเห็น จากการกระทําทั้งชีวิตที่ตกผลึกเปนความรู 3) ปราชญชาวบานมีความรัก ไมไดอยูที่เพียงความฉลาดของปญญาที่เกิดจากการกระทํา แตเกิดจากความรักที่มีธรรมะเปนแรงบันดาลใจใหแบงปน และ 4) ปราชญชาวบานเปนรมโพธิ์รมไทรแผออกมาเปนปรากฏการณ เปนการแผภูมิปญญาที่เกิดจากการปฏิบัติจริงดวยความรักตอแผนดินที่มีลูก มีหลาน มีปา มีชุมชน มีเมือง มีความเปนคนอีสาน มีพลังที่จะ “กอบบานกูเมือง” (อเนก, 2545)

ปราชญชุมชนหรือปราชญชาวบาน ถือไดวาเปนครูของสังคมเพราะ 1) ความรูของปราชญชาวบาน เกิดจากการตกผลึกทางความคิดมากกวาการทองผานตํารา ซึ่งเปนกระบวนการที่แยบคายกวา เหนือชั้นกวา ทําใหความรูที่เกิดขึ้นนั้นมีลักษณะเปนจริงในทางปฏิบัติ มีประโยชนจริง เขากันไดอยางรวมสมัยตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม 2) ศาสตรที่ปราชญชาวบานกลั่นกรองออกมานั้น เปนศาสตร “นอกตํารา” ถือเปนขอยืนยันอยางหนึ่งวา ความรูที่แทจริงนั้นอยูในชีวิตจริงมากกวาในหนังสือ พรอมกับเปนการทาทายตอระบบการศึกษาวา สถาบันการศึกษาจะสามารถผนวกความรูจริงกับหลักคิดทฤษฎีเขาดวยกันไดอยางไร เพื่อบูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนใหมีระบบระเบียบตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับบริบททางสังคม 3) ศาสตร “นอกตํารา” นั้นนาสนใจยิ่ง เพราะองคความรูที่ถายทอดกันอยูในสถานบันการศึกษานั้นมีไมถึง 1% ของศาสตรนอกตําราที่วานี้ ดังนั้นคําวา “ครู” โดยนัยยะของปราชญชาวบานจึงมีพื้นที่คอนขางกวางกวา เปนสากล ที่สําคัญคือ สถาบันการศึกษาจะตองถอดความรูสากลผานปราชญชาวบาน เพื่อดึงเอาองคความรูมาใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนาระบบการศึกษา การปลูกฝงถายทอดความรู และการประสิทธิ์ประสาทวิชาแกผูเรียนที่กวางเปนสากลมากขึ้น 4) ปราชญชาวบาน เปนวาทกรรมที่เชื่อมโยงสัมพันธกับภูมิปญญาทองถิ่น วัฒนธรรมทองถิ่น ภูมิสังคม และทุนทางสังคมของชุมชนคอนขางมาก ซึ่งสิ่งเหลานี้มีคุณประโยชนตอวิถีชีวิตของคนในชุมชน เปนชีวิตและจิตวิญญาณของสังคม แนนอนวาหากระบบการศึกษาไมถายทอดสงผานความรูในสวนนี้แกผูเรียนแลว นับวันก็จะยิ่งสรางคนใหมีความ “แปลกแยก” จากภพภูมิและฐานทางสังคมของตัวเองออกไปเรื่อยๆ และ 5) ความรูของปราชญชาวบานนั้น พัฒนาขึ้นมาจาก ก) ภพภูมิพื้นฐานความเปนอยูของครอบครัว ข) ความสามารถในการ

Page 60: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

53 | P a g e

พัฒนาระบบคิดและการตอยอดความรู และ ค) จากประสบการณในชีวิต ซึ่งสวนใหญปราชญชาวบานลองผิดลองถูก หรือลมลุกคลุกคลานมาแลวทั้งสิ้น (ธวัชชัย, 2548)

ศาสตร (Science) ความรูของปราชญชุมชนนั้น ทั้งกวางและเปนสากลที่เกิดผลจริงในวัตรปฏิบัติ เพราะไดถูกกลั่นกรอง ขัดเกลา ลองผิดลองถูกมาชวงเวลาหนึ่ง จนเปนที่ยอมรับและเขากันไดในสถานการณทางสังคมที่เปนปจจุบัน พรอมกับการอนุรักษ รักษา เกื้อกูล สนับสนุน สงเสริมและพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิสังคม ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน (Sustainable) เพื่อยังประโยชนแกคนในยุคปจจุบันและเจือจานสูอนาคต (ธวัชชัย, 2549)

แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น ไดมีการกําหนดทิศทางโดยเนนความเหมาะสมดานสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนเปนสําคัญ มุงเนนใหคนในสังคมตระหนักในภาระการพัฒนาดวยตนเอง ภายใตพื้นฐานของภูมิปญญาของตนเอง โดยมีแนวคิดวา หากการพัฒนานั้นเปนผลึกทางความคิดของชุมชนแลว จะนําไปสูความยั่งยืนตอชีวิตของคนในชุมชนเอง ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว วิถีของปราชญชุมชนจึงถือไดวาเปนจริงในทางปฏิบัติของสังคมไทย เพราะมีความสอดคลองกับบริบทของสังคม วัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย (ธวัชชัย , 2550)

ในยุคสมัยแหงวัตถุและความทันสมัย ปราชญชาวบานมักพูดเตือนสติเปนเสียงเดียวกันวา พวกเขาตางก็เปนคนรวยทั้งสิ้น คือ รวยทั้งความสุข และรวยปญญา แมวาเงินจะเปนปจจัยหนึ่งในการดํารงชีวิต แตไมใชปจจัยที่สําคัญ เนื่องจากในชุมชนเรามีทุนตางๆ ที่มีคามากกวานั้นคือ ทุนทางทรัพยากรและทุนทางสังคม (จักรมณฑ, 2549)

ปราชญชุมชนนั้นมีอยูทั่วประเทศ ทุกภาค ทุกชุมชน และทุกสังคม ความเปน “ปราชญ” จึงเกิดจากการยอมรับของสังคมวงกวาง และปราชญชุมชนคือผูที่ปฏิบัติจนประจักษแจงแกสังคม ถือเปนปูชนียบุคคลที่มีคุณูปการยิ่งตอสังคม (ธวัชชัย, 2551)

วงการศึกษาในปจจุบัน มีหัวขอซึ่งเปนที่สนใจมากคือ "การศึกษาที่ทําใหเกิดหัวใจแหงความเปนมนุษย"สถาบันการศึกษาหลายแหงมุงเข็ม ตั้งใจมั่น ที่จะปรับปรุงระบบการเรียนการสอนใหเอื้ออํานวยตอการหลอหลอมผูมีคุณสมบัติอยางที่วานี้ใหกลายเปนมาตรฐานของระบบการศึกษาใหได ...สมัยกอนเราเรียนเพื่อแสวงหาความเฉลียวฉลาด (wisdom) มากกวาแสวงหาความรู (knowledge) โดยเฉพาะเมื่อมีการคนพบความรูเพิ่มเติมมากขึ้นๆ ศาสตรตางๆ มีการแตกแขนง และลงลึกไปถึงระดับโมเลกุล ระดับพันธุกรรม ซึ่งก็เปนประจักษพยานถึงความกาวหนาทางวิทยาการของมนุษยชาติ ...แตปรากฏวาเรากลับหมิ่นเหมอยูกับการหมกมุนในเรื่องราวระดับเล็ก ลงลึก จนกระทั่งมองไมเห็นภาพรวม ภาพใหญ ...ศักยภาพสูงสุดของมนุษยนั้น เกิดจากความสามารถในการเชื่อมโยงการรับรู ความรูสึก ความทรงจํา ประสบการณ ความคิด จินตนาการ เขาหากันอยางไรตะเข็บ ไร

Page 61: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

54 | P a g e

รอยตอ เกิดเปนสภาวะแหงองครวม (holistic) ...การศึกษาทําใหการเชื่อมโยงดังที่วานี้ขาดสะบั้น ทําใหเราทํากิจกรรมตางๆ โดยขาดความเชื่อมโยงกับสิ่งแวดลอมในนิเวศ ...บางคนที่เรียนมากขนาดไหนก็ตาม กลับไมสามารถเชื่อมโยงความดีของศาสตรความรูตางๆ นั้น เขากับความภาคภูมิใจในตนเอง เขากับความดีของตนเอง และไมเห็นสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นตอครอบครัว คนรอบขาง และสังคมได ภาพรวมของระบบการศึกษาแบบนี้ก็คือ ความโกลาหลอลหมาน การสูญเสียความสัมพันธที่การสื่อสารไมสามารถเกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมมีการสื่อสารเพื่อรัก เพื่อสามัคคี เพื่อเชื่อมโยง หากเปนการสื่อสารดวยความเกลียดชัง บอนทําลาย และแบงแยกมากขึ้นเรื่อยๆ ...หากระบบการศึกษาไมวาจะวงการไหนก็ตาม ไมไดทําใหความรู เทคโนโลยี หรือศาสตรตางๆนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งที่เราพึงกระทําตอกันและกัน ไมไดทําใหเกิดสํานึกในหนาที่ตอสังคม การศึกษานั้นไมเพียงแตไมสมบูรณ หากแตกําลังลดศักยภาพโดยรวมของมนุษยชาติลงอีกดวย กับดักที่สําคัญสําหรับ "การเรียนเพื่อความรู" นั้นก็คือ ความลึกซึ้งในศาสตรตางๆ ที่ทําใหผูเรียนตองใชเวลามหาศาลในการจดจํา เรียนรูใหหมด เพียงเพื่อจะพบวาสิ่งที่จดจําเรียนรูมานั้น ในเวลาอีกเพียงไมกี่เดือนขางหนา บางครั้งกอนที่จะจบการศึกษาเสียดวยซ้ําไป กลายเปนความรูเกาที่หมดความนาเชื่อถือไปเสียแลว เดี๋ยวนี้การเรียนที่นักเรียนนักศึกษาไมมีเวลาสะทอนสิ่งที่ตนเรียนใหบูรณาการเขากับสิ่งที่ตนเองเปน หรืออยากจะเปน จะทําใหการเรียนนั้นลงลึกแตไมลึกซึ้ง รูมากแตไมซึมซับ มองไมเห็นวาสิ่งที่ตนเรียนไปนั้นเปนสิ่งที่เราตองนําไปทําใหเกิดประโยชนแกมวลมนุษยชาติไดอยางไร (สกล, 2551)

ที่ผานมา สถาบันการศึกษาเนนการจัดการเรียนรูเฉพาะดาน เฉพาะสาขาวิชาที่มิไดเชื่อมโยงเขากับชีวิตของผูเรียนโดยตรง ทําใหกระบวนการเรียนรูบางสวนของผูเรียน “ขาดหาย” โดยเฉพาะสวนที่มีความเชื่อมโยงกับจิตวิญญาณของผูเรียนเอง ทําใหผูเรียนขาดภูมิตานทานที่ดีตอกระแสการเปลี่ยนแปลงที่ทั้งเร็วและแรง รวมทั้งขาดความภาคภูมิใจในถิ่นกําเนิดของตนเอง ในขณะที่ภูมิปญญา องคความรู วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และคุณคาทางสังคมของผูเรียนก็ถูกทอดทิ้ง ละเลย หลงลืม ขาดการสานตอ และการตอยอดองคความรู จนแทบจะไมมีคุณคาในกระบวนการเรียนรูของผูเรียนในปจจุบัน

ดังนั้น การนําปราชญชุมชนมามีสวนรวมในการจัดการเรียนรู จึงถือเปนการเพิ่มทางเลือกในการ “เติมเต็ม” กระบวนการเรียนรูของผูเรียน ที่สนองตอบตอแนวคิดการปฏิรูปการศึกษา การจัดการศึกษาตลอดชีวิต การศึกษาเชิงบูรณาการ และแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ผานกระบวนการวิจัยแบบมีสวนรวม (Participatory Research) และระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เพื่อที่จะนําไปสูการสรางรูปแบบ (Model) การจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน ที่สอดคลองกับบริบททางสังคม (Social Context) สนองตอบตอกระบวนการเรียนรูในทุกดาน และพัฒนาทุกมิติของชีวิตอยางเปนองครวม

Page 62: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

55 | P a g e

วัตถุประสงคเพื่อคนหารูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน

ระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยในครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในลักษณะกรณีศึกษา (Case study)

ซึ่งมีทั้งการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ (Documentary Study) และเก็บขอมูลภาคสนาม (Field Notes) ทั้งโดยการสัมภาษณและการสังเกต มีการสังเคราะห วิเคราะห และตรวจสอบความถูกตองของขอมูล เพื่อใหไดขอมูลที่สมบูรณเชื่อถือได โดยเนนการมีสวนรวมของทุกฝาย ซึ่งมีขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย ดังนี้

1. การศึกษาขอมูลพื้นฐาน (Documentary Study) โดยคนควารวบรวมขอมูลทั้งจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) งานวิจัย วิทยานิพนธ พระราชบัญญัติ บทความ วารสาร หนังสือ และสิ่งพิมพอื่นๆ เกี่ยวของ เพื่อจัดทําฐานขอมูลในการวิจัย ซึ่งผูวิจัยจะเรียบเรียงขอมูลอยางเปนระบบเพื่อนําเสนอตอที่ประชุมผูมีสวนรวมในการจัดการเรียนรู และเปนฐานขอมูลสําหรับการดําเนินกิจกรรมตอไป

2. การศึกษาภาคสนาม (Field Study) เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองเปนปจจุบันมากที่สุด ผูวิจัยจะลงเก็บขอมูลภาคสนามทั้งสัมภาษณและสังเกตจากผูมีสวนเกี่ยวของเชน ผูบริหาร ครู ปราชญชุมชน ผูเรียน ผูปกครอง และมีผูมีสวนไดสวนเสีย โดยการสัมภาษณจะเนนแบบไมเปนทางการ เพื่อนําขอมูลมาใชประกอบการวิจัย ซึ่งใชวิธีการการเก็บรวบรวมขอมูล 2 วิธีประกอบดวย

2.1 การสังเกต (Observation) ใชวิธีการสังเกตทั้งแบบมีสวนรวม และไมมีสวนรวม เปนการสังเกตเชิงสํารวจ (Survey) สภาพโดยทั่วไปหรือปจจัยที่มีอิทธิพลตอการศึกษาวิจัย เพื่อหาหลักฐานหรือขอมูลที่เกี่ยวของ โดยจดบันทึกปรากฏการณที่มีผลตอการวิจัยในทุกดานอยางเชน การจัดการเรียนรู สื่อการสอน สภาพแวดลอม เปนตน

1) การสังเกตแบบมีสวนรวม (Participant Observation) โดยผูวิจัยเขารวมกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอนของปราชญชุมชนโดยตรง เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลที่เกิดขึ้นในขณะปจจุบันเชน แผนการจัดการการเรียนรู แนวการจัดการเรียนรู สื่อการสอน บรรยากาศการเรียนรู เปนตน

2) การสังเกตแบบไมมีสวนรวม (Non-Participant Observation) คือ การสังเกตการณจากสภาพแวดลอมในการจัดการเรียนรูที่เกี่ยวของกับการวิจัยในทุกดานเชน การแตงกาย บุคลิกภาพ สภาพแวดลอม การประสานงาน การมีสวนรวม การสนับสนุน อารมณรวมของผูเรียน เปนตน

Page 63: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

56 | P a g e

2.2 การสัมภาษณเชิงลึก (In-dept Interview) ใชวิธีการสัมภาษณกลุมตัวอยางรายบุคคลแบบไมเปนทางการ (Non - Structural Interview) ผานแนวคําถามในการสัมภาษณ (Question) ที่ผูวิจัยสรางขึ้นเปนคําถามเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูโดยทั่วไปในลักษณะที่เปดกวาง เพื่อใหการสัมภาษณมีความยืดหยุน ลื่นไหล และเปนการสนทนาพูดคุยแบบธรรมชาติอยางเปนกันเอง ซึ่งมีทั้งการใชภาษาไทยและภาษาถิ่น (ภาษาอีสาน) ในการสัมภาษณ อันจะทําใหลดความตึงเครียดระหวางผูสัมภาษณและผูถูกสัมภาษณ เพื่อใหไดขอมูลที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุดหรือเปนการนําไปสูผูใหขอมูลหลัก (Key Information: KI) หรือประเด็นสําคัญในการจัดการเรียนรู ประเด็นในการสัมภาษณเชน แนวคิดในการจัดการเรียนรูโดยปราชญชุมชน การมีสวนรวม ความสําคัญ ความจําเปน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ความคาดหวัง ความพึงพอใจ ขอคิดเห็นขอเสนอแนะ เปนตน ซึ่งกลุมเปาหมายในการสัมภาษณประกอบดวย ผูบริหาร ครู ปราชญชุมชน ผูปกครองนักเรียน ผูเรียน และผูมีสวนเกี่ยวของอื่นๆ

2.3 การประชุมรวมผูมีสวนเกี่ยวของ เพื่อนําบุคคลที่เกี่ยวของในการจัดการเรียนรูมาประชุมรวมกันเชน ที่ปรึกษาโครงการวิจัย ครู ปราชญชุมชน และผูวิจัย เพื่อประเมินผลและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่อง และแลกเปลี่ยนเรียนรูรูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของโรงเรียนทั้ง 5 โรงเรียนระหวางกันและกัน เพื่อใหแตละโรงเรียนนําไปปรับปรุงการจัดการเรียนรูใหเกิดประสิทธิภาพ รวมถึงเพื่อใหที่ประชุมไดรวมกันตรวจสอบความถูกตองของขอมูลที่ไดรับในแตละชวงของการศึกษาวิจัย

3. การตรวจสอบขอมูล ในกรณีมีขอสงสัย คลุมเครือ หรือขอมูลไมสมบูรณในสวนใดสวนหนึ่งของขอมูลที่ไดรับ ผูวิจัยจะนําขอมูลนั้นสงกลับไปใหเจาของขอมูลตรวจสอบความถูกตอง และนําไปเทียบเคียงกับขอมูลที่ไดรับจากผูมีสวนไดสวนเสียในการวิจัยไมวาจะเปน ผูบริหารสถานศึกษา คณะครู คณะกรรมการโรงเรียน ผูปกครอง ผูเรียน และปราชญชุมชน เพื่อใหขอมูลมีความถูกตองและเปนจริงมากที่สุด จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาไปเทียบเคียงกับงานวิจัย เอกสารวิชาการ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ ทรรศนะของผูรู เพื่อใหขอมูลที่ไดมีความสมบูรณและนาเชื่อถือ กอนที่จะนํามาขอมูลที่ไดมาใชสําหรับการวิเคราะหตอไป

4. การสังเคราะหจัดหมวดหมู และวิเคราะหขอมูล เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองมากที่สุด ผูวิจัยจะตรวจสอบกับแหลงขอมูลดานตางๆ หากมีขอมูลที่คลุมเครือไมชัดเจนก็จะนํากลับไปตรวจสอบกับกลุมปาหมายอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นก็จะนํามาปรับปรุงแกไขขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งผูวิจัยจะเนนขอมูลจากแหลงขอมูลปฐมภูมิเปนสําคัญ โดยมีขอมูลทางวิชาการสนับสนุน พรอมวิเคราะหความเชื่อมโยงของปจจัยตางๆ ที่มีผลตอการจัดการเรียนรู จากนั้นจัดพิมพเขาเลม สงใหคณะกรรมการตรวจความสมบูรณของเนื้อหา ปรับปรุงเพิ่มเติมตามเสนอแนะ และจัดทํารายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ ตามลําดับ

Page 64: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

57 | P a g e

5. การนําเสนอ การวิจัยในครั้งนี้ผูวิจัยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ดังนั้นการนําเสนอจะใชวิธีการนําเสนอโดยการเขียนบรรยายเชิงพรรณนา (Descriptive Approach) ซึ่งเปนการนําขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ สังเกต คนควา การประชุม หรือขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของ มาใชประกอบการนําเสนอ เพื่อยืนยันในสิ่งที่ทีมวิจัยคนพบในแตละประเด็น

สรุปผลการวิจัยโรงเรียนโคกคอนวิทยาคม เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาสังกัดกองการมัธยมศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ เปดทําการสอนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2519 ตั้งอยูหมูที่ 6 ตําบลโคกคอน อําเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย หางจากบานโคกคอนประมาณ 500 เมตร หางจากตัวอําเภอทาบอประมาณ 13 กิโลเมตร มีโรงเรียนเครือขาย 5 โรงเรียน มีวิสัยทัศนในการสืบสานภูมิปญญาเนนใหชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ มีบุคลากรทั้งสิ้น 30 คน มีนักเรียน 502 คน จัดการเรียนรูเรื่อง “สวนพฤกษศาสตร(สมุนไพร)” โดยมีปราชญชุมชนคือนายเคน พินิจ อายุ 75 ป จัดการเรียนรู 2 ชั่วโมง/สัปดาห ใหกับนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในวันอังคารเวลา 13.50-15.50 น. กลุมเปาหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 34 คน ครูผูประสานงานคือ นายโชคชัย ศรีวิโรจนวงศ นางชมัยพร ถิ่นสําราญ และนางสาวเบญจพร นาถโกษา ปจจุบันนายครรชิต ริมสกุล เปนผูอํานวยการ

โรงเรียนถอนวิทยา สังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กอตั้งเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2523 รับผิดชอบจัดการมัธยมศึกษาในทองที่การศึกษาหรือพื้นที่บริการ 4 ตําบล ตั้งอยูบนถนนสาย 211 (หนองสองหอง-ทาบอ) ตรงตําแหนงกิโลเมตรที่ 15 ตําบลบานถอน อําเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย มีพื้นที่รวม 57 ไร 3 งาน 40 ตารางวา มีบุคลากร 27 คน มีนักเรียนจํานวน 415 คน มีวิสัยทัศนในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม วิชาการ เทคโนโลยี กีฬา ดนตรี ศิลปะ สนับสนุนประเพณีวัฒนธรรม และอนุรักษสิ่งแวดลอม จัดการเรียนรูในเรื่อง “เครื่องจักสานไมไผ” (กระดง กระติ๊บขาว หวดนึ่งขาว) ประกอบดวยปราชญชุมชน 3 คนคือ นายคําปุย ราชปองขันธ อายุ 70 ป นายแพง เนาวนอก อายุ 68 ป และนายจูม ถนิมแนบ อายุ 79 ป จัดการเรียนรูใหกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 39 คน ทุกวันศุกรเวลา 09.30-11.30 น. และ 13.00-15.00 น. โดยปราชญชุมชนทั้ง 3 ทานแบงผูเรียนออกเปน 3 กลุมๆ ละ 13 คนรับผิดชอบคนละ1 กลุม ครูผูประสานงานประกอบดวย นางมะลิ สวรรคสมบัติ นายจันทรดี แสนวัง และนางไพฑูรย แสนวัง ปจจุบันนายกิจจา สวรรคสมบัติ เปนผูอํานวยการ

Page 65: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

58 | P a g e

โรงเรียนทาบอ อําเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย เปนโรงเรียนแบบสหศึกษาเปดทําการสอนเมื่อวันที่ 25 เดือนตุลาคม พ.ศ.2491 โดยกระทรวงศึกษาธิการ อยูติดกับถนนสายทาบอ-บานผือ หางจากอําเภอทาบอไปประมาณ 3 กิโลเมตร มีบุคลากรรวมจํานวน 99 คน มีจํานวนนักเรียนทั้งหมด 2,239 คน มีหองเรียน 51 หองเรียนจัดการเรียนรูเรื่อง “การสูขวัญ” มีปราชญชุมชนคือ นายประครอง รุงภูเขียว อายุ 64 ป อดีตนักการภารโรงโรงเรียนทาบอ โดยจัดการเรียนรูใหกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวน 222 คน กําหนดตารางการเรียนรูทุกวันอังคาร เวลา 08.30-10.30 น. ครูประสานงานคือ นายคํานึง เลื่อนแกว ปจจุบันนายโสภณ สรรพศิลป เปนผูอํานวยการ

โรงเรียนทาบอพิทยาคม เปนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปดเมื่อวันที่ 14 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2534 ตั้งอยูเลขที่ 270 บานปาสัก หมูที่ 9 ตําบลกองนาง อําเภอทาบอ จังหวัดหนองคาย มีเนื้อที่ 65 ไร มีโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่บริการจํานวน 5 โรงเรียน มีบุคลากรจํานวน 24 คน มีจํานวนนักเรียนทั้งหมด 332 คน มีวิสัยทัศนใหผูเรียนมีความรู มีคุณธรรม มีทักษะพื้นฐานทางอาชีพ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี เนนกระบวนการและบรรยากาศแหงการรวมคิดรวมทํารวมใจพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดลอม จัดการเรียนรูเรื่อง “การเลนพิณ” โดยมีปราชญชุมชนคือ นายทองขัน พาไสย อายุ 67 ป กลุมเปาหมายคือนักเรียนผูสนใจในโรงเรียน กําหนดเรียนทุกวันศุกร เวลา 15.30-16.30 น. มีผูลงชื่อเขาเรียนทั้งหมด 14 คน ครูผูประสานงานคือ นางวันวิสาข กองแกว และนายทวิช โคตรชมภู ปจจุบันมีนายวีระ จันทรอุดร เปนผูอํานวยการ

โรงเรียนเทศบาล 1 (สวางวิทยา) กอตั้งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2484 เปดทําการสอนในระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีจํานวนนักเรียน 1,830 คน มีจํานวนหองเรียน 47 หอง มีบุคลากรจํานวน 81 คน มีเครือขายของโรงเรียนประกอบดวย โรงเรียนเทศบาล 2 (ชํานาญอนุเคราะห) โรงเรียนเทศบาล 3 (ยุวบูรณบํารุง) และโรงเรียนเทศบาล 4 (ฉลองรัตน) ปจจุบันตั้งอยูเลขที่ 706/6 หมูที่ 7 ถนนประจักษศิลปาคม ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดหนองคาย มีวิสัยทัศนในการสงเสริมใหมีและจัดแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการจัดการศึกษา มุงพัฒนาบุคลากรใหเปนเลิศทางวิชาการ สืบสานวัฒนธรรม ประเพณี เปนผูนําดานเทคโนโลยีเขามาใชกับ การจัดการศึกษาอยางมีความสอดคลองกับความตองการของทองถิ่นและเนนผูเรียนเปนสําคัญ จัดการเรียนรูเรื่อง “ภาษาเวียดนาม” โดยมีปราชญชุมชนคือ นายธนวินต พานแกวชูวงศ อายุ 51 ป เปนการสอนวิชาภาษาเวียดนามระดับตน โดยเนนการฟง พูด อาน เขียน และไวยากรณพื้นฐาน จัดการเรียนรูทุกวันพุธของสัปดาหเวลา 15.00-16.00 น. ซึ่งตลอดหลักสูตรใชเวลา 225 ชั่วโมง กลุมเปาหมายคือนักเรียนในระดับชั้น

Page 66: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

59 | P a g e

มัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งมีผูลงทะเบียนเรียนจํานวน 30 คน ครูผูประสานงานคือ นางทองเลื่อน เจือจันทึก และนายปรีชา พลภูมี ปจจุบัน นางสาวอรุณี มายุศิริ ดํารงตําแหนงผูอํานวยการ

รูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน แบงออกไดเปน 4 ขั้นตอนคือ ขั้นจุดประกาย ขั้นปฏิบัติการ ขั้นประเมินผลการเรียนรู และขั้นขยายผล-ตอยอด

ขั้นที่ 1 ขั้นจุดประกาย เปนขั้นเริ่มตนแรกสุดของแนวคิดการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน ซึ่งผูเขามามีบทบาทสําคัญคือ ผูบริหาร ครู และคณะกรรมการโรงเรียน โดยผูบริหารของโรงเรียนมอบนโยบายใหกับครูในโรงเรียน จากนั้นครูในโรงเรียนขยายผลนโยบายเพื่อแปลงไปสูแผนปฏิบัติการ นํากลับมาเสนอตอผูบริหาร จากนั้นผูบริหารและครูรวมกันนําเสนอแผนการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนตอคณะกรรมการโรงเรียน เพื่อขออนุมัติในหลักการ ดังนั้น ในขั้นจุดประกายนี้ผูบริหาร ครู และคณะกรรมการโรงเรียน จะรวมกันผลักดันเพื่อใหแนวการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนเปนไปไดในหลักการ

ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติการ เปนนําแนวคิดมาสูการปฏิบัติที่รูปธรรม ซึ่งผูมีบทบาทสําคัญในขั้นนี้คือ ครู ปราชญชุมชน ผูเรียน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ซึ่งตางก็จะตองเขามามีบทบาทเปนสวนหนึ่งในการจัดการเรียนรูและการสนับสนุนเติมเต็มซึ่งกันและกัน เพื่อใหการจัดการเรียนรูนั้นเปนการจัดการเรียนรูของทุกภาคสวน และแสดงถึงพลังศักยภาพของชุมชนในการจัดการศึกษา ซึ่งครูจะเปนผูประสานงาน เติมเต็มการจัดการเรียนรูในสวนวิชาการและภาคทฤษฎี สวนปราชญชุมชนจะมุงสูภาคปฏิบัติ และผูเรียนเขามามีสวนรวมในการจัดการเรียนรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ในขณะที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะสนับสนุนดานงบประมาณและวัสดุอุปกรณ ซึ่งจะทําใหการจัดการเรียนรูที่เกิดขึ้นเปนการจัดการเรียนรูโดยชุมชน โดยการขับเคลื่อนของพลังชุมชน เพื่อถายทอดความรูและสืบสานภูมิปญญาทองถิ่นของชุมชนเอง

ขั้นที่ 3 ขั้นประเมินผลการเรียนรู เปนการประเมินผลเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูที่เกิดขึ้นใหมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสัมฤทธิ์ ซึ่งผูมีบทบาทสําคัญคือ ครู ปราชญชุมชน ผูเรียน และผูปกครอง เพื่อรวมกันประเมินผลการจัดการเรียนรูอยางรอบดาน โดยครูจะประเมินผลทั้งปราชญชุมชนและผูเรียน ปราชญชุมชนจะประเมินผลตนเองและประเมินผลผูเรียน ผูเรียนประเมินผลปราชญชุมชน สวนผูปกครองก็ประเมินผลผูเรียน ซึ่งสามารถนําผลการเรียนรูมาใชสําหรับการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูในขณะปจจุบัน และจัดทําเปนเอกสารลายลักษณอักษรนําเสนอตอผูบริหารหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งการประเมินผลการเรียนรูจะแตกตางกันออกไปตามแตบริบทของแตละสถานศึกษาเชน จากรายงานผลการเรียนรู การสังเกต การสัมภาษณ การทดสอบ แบบประเมินความพึงพอใจ เปนตน ซึ่งการประเมินผลการเรียนรูยังชวยขยายขอบเขต

Page 67: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

60 | P a g e

การเขามาเปนสวนหนึ่งในการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนของแตละภาคสวนในชุมชนเปนอยางดี และมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการเรียนรูของผูเรียนที่สําคัญยิ่ง

ขั้นที่ 4 ขั้นขยายผล-ตอยอด เปนการเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรูสูอนาคต ซึ่งผูมีบทบาทสําคัญคือ ครูและผูบริหาร เพื่อขยายผล-ตอยอดแนวคิดการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนในภาคการศึกษาตอไป ตามแตละบริบทของสถานศึกษา ไมวาจะเปนการสรางความหลากหลายในศาสตรพื้นบานที่แตกตางออกไปหรือการจัดการเรียนรูศาสตรพื้นบานโดยปราชญชุมชนในดานนั้นๆ ในเชิงลึก เนื่องจากทุกโรงเรียนไดตระหนักถึงความสําคัญและคุณคาของการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน โดยครูจะเปนผูสรุปผลการจัดการเรียนรูในภาคการศึกษานั้นๆ เปนลายลักษณอักษรนําเสนอตอผูบริหารโรงเรียน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการวางแผนขยายผล-ตอยอดการจัดการเรียนรูในขั้นตอนตอไป

รูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน เมื่อดําเนินการมาจนถึงขั้นที่ 4 กระบวนการจะยอนกลับไปสูขั้นที่ 1 อีกครั้ง แตจะเปนกระบวนการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนที่กาวไปอีกขั้นหนึ่งของแตละสถานศึกษา ซึ่งเมื่อการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนในแตละครั้งดําเนินการจากขั้นที่ 1 มาถึงขั้นที่ 4 กระบวนการก็จะวนกลับไปที่ขั้นที่ 1 อีกครั้งเปนวัฏจักร (Cycle) เชนนี้ไปเรื่อยๆ แตทุกรอบของการจัดการเรียนรูที่วนกลับไปขั้นที่ 1 ขั้นจุดประกายนั้น รูปแบบการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนจะถูกพัฒนาอยางตอเนื่อง และจะมีองคความรูใหมเกิดขึ้นเสมอจากการเปลี่ยนแปลงแบบพลวัต (Dynamic) ของกระบวนการจัดการเรียนรู ซึ่งการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนเชนนี้ ถือเปนการจัดการเรียนรูตลอดชีวิต ที่ยิ่งเรียนยิ่งลึกซึ้ง ยิ่งเรียนยิ่งรู ยิ่งเรียนยิ่งเขาใจ ยิ่งเรียนยิ่งสามารถนําไปใชประโยชนไดมากยิ่งขึ้น ยิ่งเรียนยิ่งมีความสุข ยิ่งเรียนยิ่งสามารถเชื่อมโยงศาสตรพื้นบานเขาดวยกันอยางบูรณาการ ทําใหผูเรียนมีความภาคภูมิใจในตนเองและทองถิ่นมากขึ้นตามลําดับ

การจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน เปนการเชื่อมโยงกระบวนการเขามามีบทบาทเปนสวนหนึ่งในการจัดการเรียนรูของทุกภาคสวนในชุมชนทั้งสถานศึกษา บาน องคกรทองถิ่น ผูบริหาร ครู ปราชญชุมชน ผูเรียน และผูปกครอง เปนการเขามาชวยเติมเต็มกระบวนการจัดการเรียนรูศาสตรพื้นบานซึ่งกันและกัน เปนการสืบสานภูมิปญญาของทองถิ่น แสดงออกถึงพลังชุมชน เปนความภาคภูมิใจรวมกันของคนในชุมชน ซึ่งผูมีสวนเกี่ยวของตางลวนไดรับผลประโยชนในทางที่ดีดวยกันทั้งสิ้น (win-win) ซึ่งมีผลทั้งตอทั้งชุมชนและประเทศ สงผลใหการจัดการเรียนรูสามารถสนองตอบความตองการของผูเรียนไดเปนอยางดี นําไปสูการพัฒนาระบบการศึกษาของประเทศอยางยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

Page 68: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

61 | P a g e

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการดําเนินการและพัฒนาการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนอยางตอเนื่อง

จนนําไปสูการสรางหลักสูตรทองถิ่นในแตละโรงเรียน โดยแบงระดับการเรียนรูออกเปนชวงชั้นจากงายไปหายาก ตามลําดับชวงชั้นการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดอยางตอเนื่องจนจบการศึกษา

2. ควรมีการศึกษาวิจัยแบบสหวิชาการในการจัดการเรียนรูโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชน เพื่อเชื่อมโยงเชิงบูรณาการสูการจัดการเรียนรูแบบครบวงจร

3. ควรศึกษาวิจัยรูปแบบการจัดการศึกษาโดยการมีสวนรวมของปราชญชุมชนเชิงลึกอยางตอเนื่อง เพื่อนําปราชญชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาที่เขามาเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษาของไทย

เอกสารอางอิงจักรมณฑ ผาสุกวนิช. ปราชญชาวบาน: ลึกซึ้งถึงแกนของเศรษฐกิจพอเพียง. [Online] Available:

http://www.sufficiencyeconomy.org/show.php?id=11. [2008 , June 14].จินตนา สุจจานันท, ผศ.ดร. (2549). การศึกษาและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพโอเดียน

สโตร.ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2548, เมษายน 4). การพัฒนาที่ยั่งยืนยังตองปฏิรูป. มติชน, หนา 10.ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2548, สิงหาคม 18). ปราชญชาวบาน “ครูของสังคม”. ขาวสด, หนา 25.ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2549). ปราชญชาวบาน: ครูของสังคม. วารสารสวนดุสิต, 3 (8), 56-59.ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2550). คุณลักษณะของปราชญชาวบานดานเกษตรกรรมแผนใหมภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ.

กรุงเทพหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2550, กุมภาพันธ 12). จิตวิญญาณแหง “ปราชญ”. มติชน, หนา 10.ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2551). รูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงของปราชญชาวบานดานเกษตรกรรม. กรุงเทพมหานคร:

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ.ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2549). ปราชญชาวบาน: ครูของสังคม. วารสารสวนดุสิต, 3 (8), 56-59.ประเวศ วะสี, ศ. (2545). อีหลีศรีอีสาน. อางจากพลังรากหญาพลังแผนดิน. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกองทุน

เพื่อสังคม.สกล สิงหะ. (2551, มิถุนายน 21). มนุษยและการศึกษาที่แท. คอลัมนจิตวิวัฒน นสพ.มิติชนรายวัน, หนา 9.

Page 69: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

62 | P a g e

องคการคาของคุรุสภา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับเปนกฎหมาย. พิมพครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภา.

อเนก นาคะบุตร. (2545). ปราชญชาวบานคืออะไร. อางจากพลังรากหญาพลังแผนดิน.กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกองทุนเพื่อสังคม.

Page 70: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

63 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรตอรูปแบบการจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร

The study of Animal Sciences and Agricultural Technology Students' Satisfaction with Student-

Centered Learning Activities for Agricultural Meteorology Course

พิสิษฐ สุวรรณแพทย1 ภูธฤทธิ์ วิทยาพัฒนานุรักษ รักษาศิริ1 ทรัพยศิริ คุมทองมาก2 นงนุช ลาวรรณา1 และ

ธันยพร วณิชฤทธา3

1 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี2 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี3 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

Page 71: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

64 | P a g e

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจตอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย

ยึดผูเรียนเปนสําคัญในวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร ในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2551 จากนักศึกษาคณะ

สัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรจํานวน 16 คน ซึ่งกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ

ประกอบดวยการสอนในหองปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information Systems

Laboratory) และการสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในแตละ

กิจกรรมการเรียนการสอนจากการใหทําแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน พบวาผูเรียนสวนใหญมีความ

พึงพอใจอยูในระดับพึงพอใจมากกับกิจกรรมเหลานี้เพราะกิจกรรมดังกลาวทําใหผูเรียนไดรับความรูมากขึ้น

นอกเหนือจากที่ฟงบรรยายในชั้นเรียน

คําสําคัญ : ความพึงพอใจ การเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ อุตุนิยมวิทยาการเกษตร

Page 72: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

65 | P a g e

Abstract

The purposes of this study was to investigate the Students' Satisfaction of Student-Centered Learning

activities in Agricultural Meteorology course offered in the first semester of the academic year 2008 for the

Animal Sciences and Agricultural Technology students included Geographic Information Systems Laboratory

and Case Studies. At the end of the course the satisfactions of the students to those activities were evaluated

by using students’ satisfaction questionnaires. Most students satisfied at a very satisfied level with those

activities because they got to explore more interesting knowledge.

Keyword: Satisfaction, Student-Centered Learning, Agricultural Meteorology

Page 73: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

66 | P a g e

คํานําและวัตถุประสงค

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 มีสาระสําคัญ

กลาวไววา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคน มีความสามารถเรียนรูและพัฒนาผูเรียนเองได และถือวา

ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม

ตามศักยภาพ มาตรา 24 เกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับ

ความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล มีการฝกทักษะ กระบวนการคิด

การจัดการ การเผชิญ สถานการณ และการประยุกตความรูมาใช เพื่อปองกันและแกไขปญหา มีการจัดกิจกรรม

ใหผูเรียน ไดเรียนรูจากประสบการณจริงฝกการปฏิบัติ ใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยาง

ตอเนื่อง รวมทั้งสงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอมสื่อการเรียนและอํานวยความ

สะดวก เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ

เรียนรูทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหลงวิทยาการประเภทตางๆ

และมาตรา 30 ที่กําหนดใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพรวมทั้งการสงเสริมให

ผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา (นันทนิตย, 2550)

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ไดจัดใหมีการเรียนการสอนวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร(712323

AGRICULTURAL METEOROLOGY) ซึ่งเปนรายวิชาอยูในหมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาชีพเลือกของหลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (หลักสูตรใหม พ.ศ.2549) ซึ่งเปนรายวิชาที่มีจํานวนหนวย

กิต 3 หนวยกิต (3-0-6) ในภาคการศึกษาที่ 1 สําหรับนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร สําหรับ

Page 74: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

67 | P a g e

ผูที่สามารถลงทะเบียนเรียนในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตรไดนั้นตองผานรายวิชาฟสิกสพื้นฐานซึ่งวิชา

บังคับกอน โดยมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนประกอบดวยการบรรยาย จํานวน 3 ชั่วโมงตอสัปดาห (คณะ

สัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552) ซึ่งการจัดการเรียนการสอนที่มีเฉพาะการ

สอนบรรยายและการสอนปฏิบัติการนั้นไมเพียงพอที่ทําใหผูเรียนวิเคราะหความรูที่ไดเรียนไปอยางเต็มที่ อีกทั้ง

ไมสามารถบูรณาการความรูที่เรียนรวมกับความรูจากวิชาอื่นได (นันทนิตย, 2550)

จากขอสรุปของกลุมงานวิชาการอุตุนิยมวิทยาเกษตร/สํานักแผนที่ภูมิสารสนเทศอุตุนิยมวิทยา มีสาระที่

แสดงถึงความตองการและความจําเปนที่จะใชระบบวิเคราะหขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรและรีโมทเซนซิ่งใน

งานอุตุนิยมวิทยานั้นมีความตองการสูงมาก ดังนั้นผูเรียนควรมีความรูดานระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร

เพื่อที่จะสงผลดีตอผูเรียนในดานการเพิ่มโอกาสในการประกอบวิชาชีพเปนนักอุตุนิยมวิทยา เพราะบัณฑิตที่จบ

ปริญญาตรีจากคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรเปนวิทยาศาสตรบัณฑิตมีคุณสมบัติเพียงพอที่ผาน

คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง นักอุตุนิยมวิทยา ซึ่งจากขอมูลของศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ กระทรวง

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป พ.ศ. 2551 ระบุไววาตองการคุณสมบัติของผูที่ตองการเปนนัก

อุตุนิยมวิทยาคือตองไดรับปริญญาตรีขึ้นไป หรือหรือเทียบเทาไดไมต่ํากวานี้ทางอุตุนิยมวิทยา วิทยาศาสตร

คณิตศาสตร ภูมิศาสตร เกษตรศาสตร วิศวกรรมศาสตร ฟสิกส ดังนั้นผูวิจัยจึงไดพัฒนารูปแบบการเรียนการ

สอนโดยสอดแทรกกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญไดแก การสอนแบบกรณีศึกษาและการ

สอนปฏิบัติการในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตรขึ้นเพื่อเพิ่มทักษะความรูความสามารถใหกับผูเรียนดาน

วิชาชีพนักอุตุนิยมวิทยา และใหผูเรียนทําแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนหลังจากสิ้นสุดการทํากิจกรรม

การเรียนการสอน

Page 75: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

68 | P a g e

งานวิจัยชิ้นนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อที่จะศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตรตอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชา

อุตุนิยมวิทยาการเกษตร นอกจากนี้ขอมูลที่ไดจากงานวิจัยชิ้นนี้ยังใชเปนขอมูลพื้นฐานในการปรับปรุงรูปแบบ

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญในวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตรในภาคการศึกษาถัดไป

รวมทั้งนําไปพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นๆของผูสอนดวย

วิธีดําเนินการวิจัย

กลุมตัวอยางที่ใชในงานวิจัยครั้งนี้ คือนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีที่ลงทะเบียนเรียนวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร (712323

AGRICULTURAL METEOROLOGY) ในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 15 คนที่ผานการเขารวม

กิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมีการแบงกลุมในการทํากิจกรรมโดยใหนักศึกษาทั้งหมด

จัดกลุมกันเองใหไดจํานวน 5 กลุม กลุมละ 3 คน ภายหลังจากการทํากิจกรรมทุกกิจกรรมแลวจะทําการประเมิน

ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอแตละกิจกรรมในปลายภาคการศึกษาโดยใชแบบสอบถามความพึงพอใจวัด

ระดับความเห็น ซึ่งระดับความเห็นของผูเรียนจะใชแบบลิเคอรท (Likert) ซึ่งเปนมาตราประเมินคา (Rating

scale) ซึ่งไดกําหนดไว 5 ระดับ ดังนี้

5 หมายถึง มากที่สุด

4 หมายถึง มาก

3 หมายถึง ปานกลาง

Page 76: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

69 | P a g e

2 หมายถึง นอย

1 หมายถึง นอยที่สุด

การแปลความหมายคาเฉลี่ยระดับของความคิดเห็นของนักศึกษาตามแนวทางของประคอง กรรณสูตร

(2535:77) ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึงระดับความคิดเห็น มากที่สุด

คะแนนเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึงระดับความคิดเห็น มาก

คะแนนเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึงระดับความคิดเห็น ปานกลาง

คะแนนเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึงระดับความคิดเห็น นอย

คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึงระดับความคิดเห็น นอยที่สุด

ทําการวิเคราะหผลโดยใชสถิติรอยละของความถี่ และคาเฉลี่ยคะแนนความสําคัญที่เปรียบเทียบกับ

คะแนนเต็ม 5 ดวยโปรแกรม Microsoft Excel

กิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร ประกอบดวย

1. การสอนในหองปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตรนั้นอาจารยผูสอนจะอธิบายถึงหลักการและ

วิธีการทําปฏิบัติการรวมทั้งการเชื่อมโยงเนื้อหาระหวางเนื้อหาที่สอนในสวนบรรยายกับสวนที่ทําปฏิบัติการ

หนาชั้นเรียนในวันทําปฏิบัติการ ภายหลังจากทําปฏิบัติการเสร็จสิ้นใหผูเรียนทุกคนทํารายงานปฏิบัติการสง

อาจารยผูสอนตามวันเวลาที่กําหนด สวนการทดสอบความรูดานการทําปฏิบัติการระบบสารสนเทศทาง

Page 77: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

70 | P a g e

ภูมิศาสตรสําหรับปฏิบัติงานในวิชาชีพ กําหนดใหมีการทดสอบอยูรวมในการสอบปลายภาค โดยกําหนด

คะแนนของกิจกรรมทั้งหมดคิดเปนรอยละ 20

2. การทํากรณีศึกษาปญหาการระบาดของศัตรูพืชที่เกิดจากผลของสภาพลมฟาอากาศ (Case Studies)

ทําโดยอาจารยผูสอนกําหนดโจทยกรณีศึกษาปญหาการระบาดของศัตรูพืชโดยแบงตามหัวขอในการจัดการ

บรรยาย จํานวน 5 เรื่อง และใหตัวแทนผูเรียนจากกลุมที่จัดกันเองเลือกหัวขอที่สนใจโดยใหตัวแทนแตละกลุม

ตกลงกันเอง จากนั้นใหผูเรียนใชเวลาเตรียมงาน 2 สัปดาหโดยผูเรียนแตละกลุมควรพบอาจารย 1-2 ครั้งกอน

การนําเสนอเพื่อขอคําปรึกษาและรับคําแนะนําจากอาจารย ในการนําเสนอหนาชั้นเรียนจะนําเสนอหัวขอละ 20

นาที โดยนําเสนอในรูปแบบ การอภิปราย สาเหตุการระบาด การปองกันและรับมือ ภายหลังจากการนําเสนอ

งานจะเปนการตอบขอซักถามของอาจารยผูสอนและผูเรียนคนอื่นๆ สําหรับการทดสอบความรูในกิจกรรมนี้จัด

ขึ้นในปลายภาคการศึกษา โดยกําหนดคะแนนกิจกรรมทั้งหมดคิดเปนรอยละ 5

ผลการวิจัย

รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร

ประกอบดวยการบรรยายควบคูไปกับการสอนปฏิบัติการ เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมในสองสวนนี้แลว จึงจะเริ่มทํา

กิจกรรมการทํากรณีศึกษาปญหาการระบาดของศัตรูพืช โดยอาจารยผูสอนจะเปนผูทําการประเมินผล การทํา

กิจกรรมและการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมของผูเรียน ตั้งแตขั้นการเตรียมงานไปจนถึง การนําเสนอหนาชั้น

เรียน การตอบคําถาม และการทดสอบ จากนั้นจะใหผูเรียนทําการประเมินความพึงพอใจในรูปแบบกิจกรรมทุก

รูปแบบที่ไดจัดไวในรายวิชานี้ผานแบบสอบถามความพึงพอใจ พบวาในสวนของการสอนบรรยาย พบวาผูเรียน

Page 78: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

71 | P a g e

ประเมินความชัดเจนของวัตถุประสงคในการจัดการเรียนสอนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.20 ความเหมาะสมใน

รายละเอียดของเนื้อหาวิชาภาคบรรยายมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.33 และความพึงพอใจในความรูที่ไดรับจากการฟง

บรรยายที่จะนําไปใชในวิชาชีพมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.27 สําหรับในการสอนปฏิบัติการนั้นผูเรียนประเมินในหัวขอ

เนื้อหาปฏิบัติการมีความสอดคลองกับเนื้อหาภาคบรรยาย มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.40 ในสวนกิจกรรมอื่นๆ ที่

จัดเตรียมใหผูเรียนในการสอนปฏิบัติการ ไดแก การสอบยอยกอนหรือหลังการทําปฏิบัติการมีคาเฉลี่ยเทากับ

3.87 ตามลําดับขณะที่การสอบปฏิบัติการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ซึ่งเปนการสอบทักษะการทํา

ปฏิบัติการนั้น ผูเรียนประเมินวาชวยกระตุนใหมีการฝกคอมพิวเตอรในการใชโปรแกรมระบบสารสนเทศทาง

ภูมิศาสตรและโปรแกรมประยุกตอื่นๆ มีคาเฉลี่ย 4.27 ดังตารางที่ 1

Page 79: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

72 | P a g e

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม รอยละ (คาในวงเล็บ) และคะแนนความสําคัญที่

เปรียบเทียบกับคะแนนเต็ม 5(ตัวอักษรเอน) ของความพึงพอใจในดานประโยชนที่ผูเรียนไดรับในการสอนใน

หองปฏิบัติการระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

หัวขอที่ประเมิน5 4 3 2 1

ไมระบุระดับความสําคัญมากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ทําใหเกิดความเขาใจเนื้อหาที่เรียนมาก

ขึ้น

6 4 3 1 1 0

(40.00) (26.67) (20.00) (6.67) (6.67) (0.00)

2.00 1.07 0.60 0.13 0.07 0.00

การสอบยอยกอนหรือหลังการทาํ

ปฏิบัติการทําใหนักศึกษาเขาใจใน

เนื้อหาวิชามากขึ้น

5 5 3 1 1 0

(33.33) (33.33) (20.00) (6.67) (6.67) (0.00)

1.67 1.33 0.60 0.13 0.07 0.00

การสอบปฏิบัติการระบบสารสนเทศ

ทางภูมิศาสตรทําใหเกิดการกระตุนให

นักศึกษาฝกฝนใชคอมพิวเตอรและ

โปรแกรม GIS มากขึ้น

8 5 1 0 1 0

(53.33) (33.33) (6.67) (0.00) (6.67) (0.00)

2.67 1.33 0.20 0.00 0.07 0.00

Page 80: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

73 | P a g e

จากการใชรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญโดยการทํากรณีศึกษา

ปญหาการระบาดของศัตรูพืช พบวาผูเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมดังกลาวเพราะทําใหผูเรียนมีความเขาใจ

ในเนื้อหาวิชาการที่มีการเรียนการสอนแบบบรรยายมากขึ้นและสามารถนําความรูที่เรียนไดรับมาประยุกตกับ

วิชาชีพของตนเองได พบวาผูเรียนมีการคนควาหาความรูเพิ่มเติมและสามารถวิเคราะหขอมูลที่คนความาได

อยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังไดฝกการนําเสนอผลงาน ไดฝกฝนการทํางานเปนกลุมและพบวาผูเรียนสามารถ

บูรณาการความรูจากรายวิชานี้รวมกับวิชาตางๆที่เรียนมากอนได ดังแสดงในตารางที่ 2 เมื่อทําการศึกษาความพึง

พอใจของผูเรียนตอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญโดยพิจารณาจากหัวขอที่

ประเมินทําใหเกิดความเขาใจเนื้อหาที่เรียนมากขึ้นจากการทํากิจกรรมตางๆ พบวา ผูเรียนมีความพึงพอใจในจาก

การทํากรณีศึกษาปญหาการระบาดของศัตรูพืชที่สุดมากกวาการสอนปฏิบัติการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร

โดยมีคาเฉลี่ย 3.87 และ 3.80 ตามลําดับ

Page 81: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

74 | P a g e

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม รอยละ (คาในวงเล็บ) และคะแนนความสําคัญที่

เปรียบเทียบกับคะแนนเต็ม 5(ตัวอักษรเอน) ของความพึงพอใจในดานประโยชนที่ไดรับจากการทํากรณีศึกษา

หัวขอที่ประเมิน5 4 3 2 1 ไมระบุระดับ

ความสําคัญมากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ทําใหเกิดความเขาใจเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น 6 4 3 1 1 0

(40.00) (26.67) (20.00) (6.67) (6.67) (0.00)

2.00 1.07 0.60 0.13 0.07 0.00

ทําใหเกิดการฝกการทํางานกลุม 6 5 4 0 0 0

(40.00) (33.33) (26.67) (0.00) (0.00) (0.00)

2.00 1.33 0.80 0.00 0.00 0.00

ทําใหเกิดการฝกการนําเสนอผลงาน 8 4 2 1 0 0

(53.33) (26.67) (13.33) (6.67) (0.00) (0.00)

2.67 1.07 0.40 0.13 0.00 0.00

ทําใหเกิดการกระตุนใหเกิดการคนควาความรู

เพิ่มเติม

5 4 4 1 1 0

(33.33) (26.67) (26.67) (6.67) (6.67) (0.00)

1.67 1.07 0.80 0.13 0.07 0.00

ทําใหสามารถวิเคราะหขอมูลที่มาจากแหลง

ความรูอื่นๆ ได

4 4 4 1 2 0

(26.67) (26.67) (26.67) (6.67) (13.33) (0.00)

1.33 1.07 0.80 0.13 0.13 0.00

สามารถนําความรูที่ไดรับมาประยุกตใชงาน

ไดจริง

5 6 3 1 0 0

(33.33) (40.00) (20.00) (6.67) (0.00) (0.00)

1.67 1.60 0.60 0.13 0.00 0.00

ทําใหนักศึกษาสามารถประยุกตความรูในวิชา

ที่เรียนมารวมกับวิชาอื่นได

8 5 2 0 0 0

(53.33) (33.33) (13.33) (0.00) (0.00) (0.00)

2.67 1.33 0.40 0.00 0.00 0.00

Page 82: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

75 | P a g e

สรุป

ในการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรตอรูปแบบการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร ภาคการศึกษาที่ 1 ป

การศึกษา 2551 พบวาผูเรียนสวนใหญมีความพึงพอใจในรูปแบบกิจกรรมตางๆ ที่จัดเตรียมไวในรายวิชานี้ใน

ระดับดีมาก แตพบวาความพึงพอใจในชวงเวลาที่มีการจัดกิจกรรมการทํากรณีศึกษาปญหาการระบาดของ

ศัตรูพืชมีคาเฉลี่ยเพียง 3.53 เทานั้นเพราะกิจกรรมเหลานี้จัดขึ้นในชวงปลายภาคการศึกษา ซึ่งผูเรียนมีภาระงาน

จากรายวิชาอื่นๆ อีกทั้งผูเรียนอยูในชวงการอานตําราเพื่อเตรียมสอบปลายภาค ทําใหผูเรียนไมสามารถทุมเท

เวลาในการทํากิจกรรมตางๆ ไดอยางเต็มที่

จากการเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรตอรูปแบบ

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตรจากการสอบถาม

ความคิดเห็นจากผูเรียนจากแบบสอบถามความพึงพอใจ พบวาผูเรียนมีความพึงพอใจโดยรวมอยูในระดับดีมาก

และไดรับประโยชนดานที่ทําใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้นจากการทํากรณีศึกษาปญหาการระบาด

ของศัตรูพืชนั้นมากกวาการสอนปฏิบัติการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร โดยดูจากคาเฉลี่ยของทําใหเขาใจ

เนื้อหาที่เรียนมากขึ้นซึ่งคาเฉลี่ยการทํากรณีศึกษาปญหามีคาเทากับ 3.87 ในขณะที่คาเฉลี่ยการสอนปฏิบัติการ

เทากับ 3.80 ที่เปนเชนนี้อาจเนื่องมาจากการทํากรณีศึกษาปญหาการระบาดของศัตรูพืชเปนการวิเคราะหความรู

ในทางวิทยาศาสตรทั้งวิทยาศาสตรกายภาพและวิทยาศาสตรชีวภาพ ซึ่งทําใหผูเรียนฝกฝนการวิเคราะหและ

บูรณาการความรูที่ไดเรียนจากรายวิชานี้และความรูที่ไดเรียนจากรายวิชาอื่นๆรวมกับความรูที่ผูเรียนคนควา

เพิ่มเติม เพื่อนําไปวิเคราะหโจทยจากกรณีศึกษาปญหาการระบาดของศัตรูพืชได และทําใหผูเรียนเกิดมุมมองใน

Page 83: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

76 | P a g e

การนําความรูไปใชในดานวิชาชีพทางเลือกการเปนนักอุตุนิยมวิทยาชัดเจนขึ้น นอกจากนี้การทํากิจกรรมการ

เรียนการสอนดังกลาวทําใหผูเรียนสามารถคนควาขอมูลจากแหลงขอมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากเอกสารประกอบ

คําสอนและแหลงขอมูลที่อาจารยแนะนําในประมวลรายวิชา ซึ่งผูเรียนสวนใหญมีการคนควาขอมูลเพิ่มเติมจาก

อินเทอรเน็ตในรูปแบบบทความวิชาการ บทความวิจัย ในการทํากรณีศึกษาปญหาปญหาการระบาดของศัตรูพืช

มากถึงรอยละ 100 ซึ่งแสดงใหเห็นวาผูเรียนมีอิสระในการคิด การสรางสรรคผลงานที่นําเสอนและผูเรียนมีการ

จัดการเรียนรูโดยผูเรียนนําตนเอง(Self-Directed Learning) จากสิ่งที่บงชี้คือผูเรียนมีการแสวงหาแหลงความรู

(Learning resources) สามารถรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูลไดดวยตนเอง

กิตติกรรมประกาศ

จากการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรตอรูปแบบการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาอุตุนิยมวิทยาการเกษตร ภาคการศึกษาที่ 1 ป

การศึกษา 2551 นี้ ผูวิจัยไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากผูเรียนทุกคนและคณาจารยในสาขาวิชาพื้นฐานและ

สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งผูวิจัยจะนําขอมูลที่ไดนี้ไปปรับปรุง

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาตางๆ และปรับปรุงการทําแบบสอบถามความคิดเห็นของผูเรียนตอ

กิจกรรมการเรียนการสอนสําหรับรายอื่นๆ ใหมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้นตอไป

Page 84: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

77 | P a g e

เอกสารอางอิง

กลุมงานวิชาการอุตุนิยมวิทยาเกษตร/สํานักแผนที่ภูมิสารสนเทศอุตุนิยมวิทยา. ม.ป.ป. ระบบคอมพิวเตอร

วิเคราะหขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรและรีโมทเซนซิ่งทางอุตุนิยมวิทยา [online] เขาถึงไดจาก

http://www.arcims.tmd.go.th/historyGIS.htm [20 ตุลาคม 2552].

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2552). คูมือนักศึกษา ปการศึกษา 2552

นันทนิตย หงษศรีจินดา.(2550). การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาแพทยศาสตร ชั้นปที่ 3 ที่มีตอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญในรายวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. สืบคนจากhttp://tlsd.rsu.ac.th/journal/Document/Journal105.pdf [21 พฤศจิกายน 2552]

ประคอง กรรณสูตร. (2535). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2550). ประกาศ ศูนยเตือนภัยพิบัติ

แหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร [online] เขาถึงไดจาก

http://www.mict.go.th/ewt_news.php?nid=1053&filename=index [20 ตุลาคม 2552].

Page 85: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

78 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

ผลของระดับโปรตีนและพลังงานที่กินไดตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในโคนมรุนEffects of Dietary Protein and Energy Levels on Growth Performance in Growing Dairy Cattle

อนันท เชาวเครือ1 และ กฤตพล สมมาตย21 คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี2 คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

บทคัดยอ การทดลองในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดตอสมรรถนะ

การเจริญเติบโตและคาชีวเคมีในเลือดของโคนมระยะรุนที่ไดรับตนออยเปนอาหารหยาบหลัก ใชโคนมพันธุลูกผสมโฮสไตลฟรีเชี่ยนคละเพศ (เพศผู 12 ตัว และเพศเมีย 12 ตัว) ระยะรุน จํานวน 24 ตัว (น้ําหนักเฉลี่ย 144.1±11.0 กก. อายุเฉลี่ย 9±1.2 เดือน) วางแผนการทดลองแบบ randomized complete block design จํานวน 4 ซ้ํา โดยใชน้ําหนักรางกายเปนบล็อก ทําการจัดปจจัยทดลองแบบ 3 X 2 factorial ซึ่งจะประกอบดวยปจจัยของระดับโภชนะโปรตีนที่กินได 3 ระดับคือ 6, 10 และ 14 gCP/kgW0.75/d รวมกับปจจัยของระดับพลังงานที่กินได 2 ระดับคือ 792 และ 885 kJ ME/kgW0.75/d สุมสัตวใหไดรับอาหารปจจัยทดลองแตกตางกัน 6 แบบ พบวา โคที่ไดรับอาหารที่มีระดับโภชนะโปรตีนสูงขึ้นมีผลตอการเพิ่มขึ้นของคา ปริมาณการกินไดวัตถุแหงและอินทรียวัตถุ อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันเพิ่มขึ้นแบบ curvilinear ดังนั้นการจัดสูตรอาหารใหมีความสมดุลยและมีโภชนะที่เหมาะสมคือ มีโปรตีนระดับกลาง (10 gCP/kgW0.75) และพลังงานระดับสูง (885 kJ ME/kgW0.75) มีผลทําใหโคมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันมากที่สุดเทากับ 710 กรัม/ตัว/วัน และปรับปรุงเพิ่มสมรรถนะการเจริญเติบโตได

คําสําคัญ: โคนม, พลังงาน, การเจริญเติบโต, โปรตีน, ตนออย

Page 86: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

79 | P a g e

AbstractTwenty four growing Holstein crossbred dairy cattle (average weight 144.1±11.0 kg; average age

9±1.2 month) were used in a feeding trial to determine the effect of dietary energy and protein intake on feed intake and weight gain and blood metabolites of the cattle fed whole sugarcane forage based diets. Treatments were applied according to a 3 x 2 factorial arrangement in a randomized complete block design. Dietary treatments were assigned to containing crude protein (CP) intake either 6, 10 or 14 gCP/kgW0.75/d. and metabolizable energy (ME) intake either 792 or 885 kJ ME/kgW0.75/d. Higher dietary CP intake level increased dry matter and organic matter intake. Average daily gain (ADG) was increased curvilinear by dietary protein intake levels. In conclusion, dried whole sugarcane could be used as a roughage for growing Holstein crossbred dairy cattle, and the optimum nutrient level was of protein (10 gCP/kgW0.75) and energy (885 kJ ME/kgW0.75) for maximum weight gain of 710 gram per day and improvement growth performance.

Key Words: dairy cattle, energy, growth, protein, sugarcane forage

Page 87: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

80 | P a g e

บทนําเนื่องจากตนทุนในการเลี้ยงสัตวโดยเฉพาะโคนมเปนตนทุนทางดานอาหารมากกวา 70 เปอรเซ็นต

นอกจากนี้แลวในชวงฤดูแลงเกษตรกรผูเลี้ยงโคนม มักประสบกับปญหาการขาดแคลนแหลงอาหารหยาบทั้งในดานปริมาณและมีคุณภาพต่ํา ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองมีการศึกษาวิจัยเพื่อหาแหลงของอาหารหยาบทางเลือกใหม ซึ่งตนออย (Saccharum officinarum) เปนพืชที่มีศักยภาพสูงในการนํามาใชเปนแหลงของอาหารหยาบเลี้ยงสัตว เนื่องจากออยเปนพืชที่มีความสามารถในการทนแลงและสามารถเปลี่ยนพลังงานแสงเพื่อสังเคราะหเปนพลังงานเคมีแลวสะสมไวในลําตนไดดี นอกจากนี้แลวยังมีผลผลิตมวลชีวภาพ (biomass) สูง (Sommart et al., 2005) โดย Kawashima (2000) รายงานวา ผลผลิตพลังงานจากตนออยสูงกวามันสําปะหลังและหญารูซี่ มีคาเทากับ 27,219 10,886 และ 8,500 MJ ME/ไร ตามลําดับ โดย กฤตพล และ คณิน (2547ก) ไดรายงานวา การใชตนออยหมักทดแทนการใชฟางขาวเปนแหลงอาหารหยาบสําหรับการเลี้ยงโคนมสาวไดเปนอยางดี โดยไมมีผลตอปริมาณการกินอาหาร พฤติกรรมการเคี้ยวเอื้อง รูปแบบการหมักและผลผลิตสุดทายจากการหมัก และอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน ไมมีผลเสียหายตอสุขภาพโคนม ซึ่งสอดคลองกันกับรายงานของ กฤตพล และ คณิน (2547ข) ที่ใชตนออยหมักอายุ 12 เดือน สามารถใชเปนแหลงพืชอาหารสัตวในสูตรอาหารโคระยะรีดนมและมีความสามารถใชทดแทนฟางขาวไดเปนอยางดี โดยไมมีผลเสียตอปริมาณการกินได การยอยไดของโภชนะ ปริมาณและองคประกอบทางเคมีของน้ํานม การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักตัวและคาคะแนนความสมบูรณรางกาย

นอกจากนี้แลวประเทศไทยยังมีความจําเปนตองการการพัฒนาระบบการใหอาหารโคนม เนื่องจากที่ผานมานักวิจัย นักวิชาการ รวมถึงเกษตรกรในประเทศไทยยังคงอางอิงมาตรฐานการใหอาหารโคนมและคาความตองการของระดับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดจากโคสายพันธุที่เลี้ยงในตางประเทศ (NRC, 2001 and ARC, 1980) ซึ่งมีความแตกตางกันทั้งสายพันธุของสัตว สภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดลอมและวัตถุดิบอาหารที่ใชเลี้ยง สงผลกระทบตอการใหผลผลิตของสัตวต่ํากวาที่คาดไวได หรือเกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจในสวนที่เกินและสัตวไมไดใชประโยชน ดังนั้นหากสามารถใหปริมาณการกินอาหารหรือโภชนะที่ตรงกับความตองการของสายพันธุโคนมที่เลี้ยงในสภาพอากาศเขตรอนชื้นของประเทศไทยได สงผลทําใหสภาวะกระบวนการหมักในกระเพาะหมักมีความสามารถในการยอยไดดี และทําใหประสิทธิภาพในการผลิตสัตวตรงตามพันธุกรรมของสายพันธุได

แตเนื่องจากงานวิจัยเกี่ยวกับผลของระดับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินได ในโคนมรุนที่เลี้ยงในสภาพอากาศรอนชื้นของประเทศไทยยังมีขอมูลอยูอยางจํากัด (อนันท, 2547) ดังนั้นการทดลองในครั้งนี้จึงมี

Page 88: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

81 | P a g e

วัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของระดับโปรตีนและพลังงานที่กินไดตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในโคนมรุนพันธุลูกผสมโฮสไตลฟรีเชี่ยนที่ไดรับตนออยตากแหงเปนอาหารหยาบหลัก

วิธีการศึกษาการทดลองครั้งนี้ใชโคนมพันธุลูกผสมโฮสไตลฟรีเชี่ยนคละเพศ (เพศผู 12 ตัว และเพศเมีย 12 ตัว)

ระยะรุน จํานวน 24 ตัว (น้ําหนักเฉลี่ย 144.1±11.0 กก. อายุเฉลี่ย 9±1.2 เดือน) เลี้ยงในคอกขังเดี่ยว ที่มีน้ําสะอาด แรธาตุกอน และอาหารตลอดเวลาทดลอง ทําการปรับสัตวทดลองเขากับสภาพการทดลองและอาหารทดลองนาน 15 วัน ใหยา ECOMETIN กําจัดพยาธิภายนอก-ใน รวมกับการฉีดวิตามิน A,D3,E แลวเริ่มทดลองและเก็บขอมูล วางแผนการทดลองแบบ Randomized complete block design (RCBD) จํานวน 4 ซ้ํา โดยใชเพศเปนบล็อก ทําการจัดปจจัยทดลองแบบ 3 X 2 แฟคทอเรียล (Factorial) ประกอบดวยปจจัยของระดับโภชนะโปรตีนที่กินได 3 ระดับคือ 6, 10 และ 14 gCP/kgW0.75/d รวมกับปจจัยของระดับพลังงานที่กินได 2 ระดับคือ 792.45 และ 884.92 kJ ME/kgW0.75/d แลวสุมใหสัตวทดลองไดรับสูตรอาหารปจจัยทดลองที่แตกตางกัน 6 แบบ คือ(1) โปรตีนต่ํา-พลังงานต่ํา (2) โปรตีนกลาง-พลังงานต่ํา (3) โปรตีนสูง-พลังงานต่ํา (4) โปรตีนต่ํา-พลังงานสูง (5) โปรตีนกลาง-พลังงานสูง และ(6) โปรตีนสูง-พลังงานสูง โดยการใหอาหารแบบผสมรวม (total mixed ration, TMR) ใชตนออยตากแหง (dried whole sugar cane) เปนแหลงของอาหารหยาบหลัก สัดสวนปริมาณและองคประกอบทางเคมีของอาหารทดลอง (Table 1) โดยทําการเลี้ยงโคใหไดรับอาหารทดลองเปนระยะเวลานาน 42 วัน ทําการทดลองและเก็บขอมูลเลี้ยงสัตว ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

บันทึกปริมาณการกินอาหารของโคแตละตัวทุกวัน โดยการชั่งน้ําหนักอาหารที่ใหในชวงเชาและบายที่เวลา 07.00 น และ 16.30 น และทําการชั่งน้ําหนักอาหารที่เหลือในรางอาหารของเวลาเชาในวันถัดไปเปนประจําทุกวัน ทําการชั่งน้ําหนักและสุมเก็บตัวอยาง อาหารที่ใหกิน อาหารที่เหลือ ทุกๆ สัปดาห เพื่อวิเคราะหทางเคมีอาหาร ไดแก วัตถุแหง (DM), เถา (Ash), โปรตีนหยาบ (CP) ตามวิธีการของ AOAC (1990) ทําการวิเคราะหเยื่อใย คือ เยื่อใยที่ไมละลายในสารฟอกที่เปนกลาง (neutral detergent fiber, ADF), เยื่อใยที่ไมละลายในสารฟอกที่เปนกรด (acid detergent fiber, NDF), ลิกนิน (acid detergent fiber, ADL) ตามวิธีการของ Goering and Van Soest (1970) เพื่อประเมินปริมาณการกินไดอาหารและปริมาณการกินไดโภชนะ ทําการชั่งน้ําหนักสัตวทุกๆ สองสัปดาห เพื่อวัดการเปลี่ยนแปลงของน้ําหนักรางกาย ประเมินคาอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน และนําคาน้ําหนักตัวที่ไดมาทําการปรับปริมาณการใหอาหารสัตวทดลองในสัปดาหตอไป

Page 89: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

82 | P a g e

นําขอมูลทั้งหมดจากการทดลองเขาประมวลผลและวิเคราะหเปรียบเทียบทางสถิติ ทําการวิเคราะหหาความแปรปรวนรวม (analysis of covariance) ดวย PROC GLM โดยใชน้ําหนักตัวเริ่มตนกอนเขางานทดลองเปนตัวปรับความแปรปรวนรวม โดยใชโปรแกรม SAS (SAS, 1996) และวิเคราะหอิทธิพลของระดับปจจัยและอิทธิพลรวมของปจจัยดวย Orthogonal contrast คํานวณคาเฉลี่ยของปจจัยทดลองดวยวิธี Least square means แลวทําการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยแตละกลุมดวยวิธี Least significant difference โดยใชโปรแกรม SAS (SAS, 1996)

ผลการศึกษาและวิจารณ

ปริมาณการกินไดผลของระดับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินได ตอปริมาณอาหารและโภชนะที่กินไดในโคนมรุน

พันธุลูกผสมโฮสไตลฟรีเชี่ยน แสดงใน Table 2 พบวา ปริมาณการกินไดของวัตถุแหง (dry matter) และปริมาณการกินไดอินทรียวัตถุ (organic matter) เพิ่มขึ้นตามปริมาณโภชนะโปรตีนที่การกินได (P<0.01) ซึ่งสอดคลองกับงานทดลองของ อนันท และคณะ (2552ก) รายงานวาระดับโภชนะโปรตีนที่กินไดเพิ่มขึ้นจาก 5.00, 6.99, 8.95 และ 10.62 gCP/kgW0.75 มีผลทําใหโคเนื้อมีการกินไดอาหารเพิ่มขึ้นจาก 3.43, 4.98, 6.45 และ 7.66 กิโลกรัม/ตัว/วัน สอดคลองกับ Hoffman et al. (2001) ที่รายงานวาโคนมสาวจะมีปริมาณการกินไดวัตถุแหงเพิ่มขึ้นตามปริมาณโภชนะโปรตีนที่กินได และ Lammers and Heinrichs (2000) รายงานวาโคนมสาวที่ไดรับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดในระดับที่มากกวาที่แนะนําโดย NRC มีผลทําใหโคมีปริมาณการกินไดวัตถุแหงเพิ่มสูงขึ้น สอดคลองกับ Bethard et al. (1997) รายงานวาโคนมสาวที่มีการกินไดโภชนะโปรตีนไหลผาน (rumen-undegradable) ในระดับสูงรวมกับพลังงานที่กินไดในระดับสูงมีผลตอการเพิ่มปริมาณการกินไดวัตถุแหง โดย Gabler and Heinrichs (2003a) รายงานวาถาสัดสวนของโภชนะโปรตีนตอพลังงาน (CP:ME) ในสูตรอาหารที่โคนมสาวไดรับ มีสัดสวนที่สูง มีผลทําใหโคมีปริมาณการกินไดเพิ่มสูงขึ้นแบบ quadratic นอจากนี้แลวขอมูลที่ไดยังชี้ใหเห็นไดวาสูตรอาหารที่มีพลังงานสูงจะมีสัดสวนของตนออยในปริมาณที่ต่ําและมีสัดสวนของเยื่อใยในสูตรอาหารที่ต่ํา มีผลทําใหปริมาณการกินไดเยื่อใยที่ไมละลายในสารฟอกที่เปนกลาง (neutral detergent fiber, NDF) และปริมาณการกินไดเยื่อใยที่ไมละลายในสารฟอกที่เปนกรด (acid detergent fiber, ADF) ลดต่ําลง (P<0.01) ซึ่งสอดคลองกับ Broderick (2003) ที่รายงานวาการเพิ่มระดับพลังงานที่กินไดจะตองลดปริมาณของอาหารหยาบลง มีผลทําใหโคมีปริมาณการกินไดอาหารเพิ่มมากขึ้น แตอยางไรก็ตามในครั้งนี้ไม

Page 90: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

83 | P a g e

พบความแตกตางทางสถิติของอิทธิพลรวม (interaction effect) ระหวางระดับปริมาณโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดตอปริมาณการกินได (P>0.05) โดยที่ อนันท และคณะ (2552ข) รายงานวาระดับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดมีปฎิสัมพันธรวมกันตอปริมาณการกินไดของโคเนื้อ โดยระดับที่สูงของทั้งโภชนะโปรตีน (15 gCP/kgW0.75) และพลังงานที่กินได (1007 kJ ME/kgW0.75) มีผลทําใหโคเนื้อมีการกินไดอาหารเพิ่มสูงขึ้น

การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักตัวและสมรรถนะการเจริญเติบโตผลของระดับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดตอการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักตัว และอัตราการ

เจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน (average daily gain, ADG) ในโคนมรุนพันธุลูกผสมโฮสไตลฟรีเชี่ยน (Table 2) โดยขอมูลที่ไดถูกปรับความแปรปรวนรวมจากคาน้ําหนักตัวเริ่มตนกอนทดลองแลว พบวา ระดับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดไมมีปฎิสัมพันธรวมกันตอ น้ําหนักตัวเฉลี่ยเมื่อสิ้นสุดการทดลอง น้ําหนักตัวที่เพิ่มขึ้น และอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน (P>0.05) ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ Lammers and Heinrichs (2000) ที่รายงานวาระดับของสัดสวนโภชนะโปรตีนและพลังงาน (CP:ME) ไมมีผลตอคาอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน จากขอมูลการทดลองนี้ชี้ใหเห็นไดวา โภชนะโปรตีนที่เพิ่มสูงขึ้นมีผลตอการเพิ่มขึ้นของคา น้ําหนักตัวเฉลี่ยเมื่อสิ้นสุดการทดลอง น้ําหนักตัวที่เพิ่มขึ้น และอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน (P<0.01) โดยพบวาโคที่ไดรับสูตรอาหารแบบ MH คือมีโปรตีนระดับกลาง (10 gCP/kgW0.75) และพลังงานระดับสูง (885 kJ ME/kgW0.75) จะมีคาน้ําหนักตัวที่เพิ่มขึ้นและอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันมากที่สุดเทากับ 29.78 กิโลกรัม/ตัว และ 710.35 กรัม/ตัว/วัน ตามลําดับ แตไมแตกตางจากกลุมที่ไดรับอาหารแบบ HH คือมีโปรตีนระดับกลาง (14 gCP/kgW0.75) และพลังงานระดับสูง (885 kJ ME/kgW0.75) ซึ่งอาจเปนผลมาจากระดับโปรตีนที่สูงเกินความตองการ ทําใหรางกายโคตองใชพลังงานในการกําจัดโปรตีนสวนเกินสงผลทําใหมีการสูญเสียพลังงานและการเจริญเติบโตต่ํากวากลุมที่ไดรับอาหารที่มีระดับโปรตีนและพลังงานที่เหมาะสม จากการศึกษาทดลองของ อนันท และคณะ (2552ก) ไดรายงานวาระดับโภชนะโปรตีนที่กินไดเพิ่มขึ้นจาก 5.00, 6.99, 8.95 และ 10.62 gCP/kgW0.75 มีผลทําใหโคเนื้อมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันเพิ่มขึ้นจาก 465, 876, 1399 และ 1574 กรัม/ตัว/วัน สอดคลองกับการทดลองของ Brown et al. (2005) รายงานวาการเพิ่มขึ้นของโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินได สามารถเพิ่มอัตราการเจริญของลูกโคนมที่อายุ 2 ถึง 14 สัปดาห และชวยลดตนทุนคาใชจายในการเลี้ยงลูกโคได เชนเดียวกันกับ Pirlo et al. (1997) รายงานวาโคนมสาวที่ไดรับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดในระดับที่มากกวา (110 %) ที่แนะนําโดย NRC สามารถปรับปรุงเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันเพิ่มขึ้นได

Page 91: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

84 | P a g e

จาก 608.1 เปน 847.6 กรัม/ตัว/วัน สอดคลองกับการทดลองของ Lammers and Heinrichs (2000) รายงานวาโคนมสาวที่ไดรับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดในระดับที่มากกวาที่แนะนําโดย NRC (อัตราสวน CP:ME จาก 50:1 เปน 61.2:1 g/Mcal) มีผลทําใหโคมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันเพิ่มขึ้น 9 เปอรเซ็นต ซึ่ง Schroeder and Titgemeyer (2008) ไดสรุปวาระดับของพลังงานที่โคกินไดจะมีผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนโปรตีนและการสะสมโปรตีนในการเจริญเติบโตของโคได ซึ่งสอดคลองกับ อนันท และคณะ (2552ข) รายงานวาระดับโภชนะโปรตีนและพลังงานที่กินไดมีปฎิสัมพันธรวมกันตอคาอัตราการเจริญเติบเฉลี่ยตอวันของโคเนื้อ โดยระดับที่สูงของทั้งโภชนะโปรตีน (15 gCP/kgW0.75) และพลังงานที่กินได (1007 kJ ME/kgW0.75) มีผลทําใหโคเนื้อมีคาอัตราการเจริญเติบเฉลี่ยตอวันสูงที่สุด

สรุปจากผลการทดลองในครั้งนี้ชี้ใหเห็นไดวาการใชตนออยที่เตรียมโดยการตากแหง สามารถใชเปนอาหาร

หยาบหลักเลี้ยงโคนมพันธุลูกผสมโฮสไตลฟรีเชี่ยนระยะรุนได การเพิ่มปริมาณการกินไดโภชนะโปรตีนสามารถเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน การจัดสูตรอาหารใหมีความสมดุลยและมีโภชนะที่เหมาะสมคือ มีโปรตีนระดับกลาง (10 gCP/kgW0.75) และพลังงานระดับสูง (885 kJ ME/kgW0.75) มีผลทําใหโคมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันมากที่สุดเทากับ 710.35 กรัม/ตัว/วัน นอกจากนี้แลวยังสามารถนําขอมูลที่ไดมาใชเพื่อประเมินคาความตองการโภชนะโปรตีนและพลังงานของโคนมรุนพันธุลูกผสมโฮสไตลฟรีเชี่ยนระยะรุนในสภาพการเลี้ยงเขตรอนของประเทศไทยตอไปได

กิตติกรรมประกาศ คณะผูวิจัยใครขอขอบคุณ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ป 2548 และ ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่สนับสนุนทุนวิจัยและใหความอนุเคราะหสถานที่ทําการวิจัยทดลองในครั้งนี้

Page 92: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

85 | P a g e

เอกสารอางอิงกฤตพล สมมาตย และ คณิน บรรณกิจ. 2547ก. การใชตนออยหมักเพื่อเปนพืชอาหารสัตวในสูตรอาหารโคสาว.

รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เรื่อง วิจัยและพัฒนาการใชตนออย-มันสําปะหลังผลพลอยไดเปนอาหารสัตวเพื่อลดตนทุนการผลิต. ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน.

กฤตพล สมมาตย และ คณิน บรรณกิจ. 2547ข. การใชตนออยหมักเพื่อเปนพืชอาหารสัตวในสูตรอาหารโครีดนม. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เรื่อง วิจัยและพัฒนาการใชตนออย-มันสําปะหลังผลพลอยไดเปนอาหารสัตวเพื่อลดตนทุนการผลิต. ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน,ขอนแกน.

พีรพจน นิติพจน. 2547. ผลของการใชกากมันสําปะหลังเปนแหลงอาหารพลังงานทดแทนมันสําปะหลังเสนในสูตรอาหารขนตอกระบวนการหมักในกระเพาะหมัก ความสามารถในการยอยได และการเจริญเติบโตในโคนมรุน. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน.

อนันท เชาวเครือ. 2547. ความตองการโภชนะโปรตีนของโคไทย. ปญหาพิเศษทางสัตวศาสตรระดับปริญญาเอก. ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน.

อนันท เชาวเครือ Takehiro Nishida วิโรจน ภัทรจินดา และ กฤตพล สมมาตย. 2552 ก. ความตองการโปรตีนและพลังงานที่ใชประโยชนไดเพื่อการดํารงชีพและเจริญเติบโตในโคเนื้อพันธุบราหมัน. การประชุมสัมมนาวิชาการเกษตร ประจําป 2552. มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน. หนา 76-78.

อนันท เชาวเครือ Takehiro Nishida วิโรจน ภัทรจินดา และ กฤตพล สมมาตย. 2552 ข. ความตองการโปรตีนและพลังงานที่ใชประโยชนไดเพื่อการดํารงชีพและเจริญเติบโตในโคเนื้อพันธุบราหมันที่ไดรับระดับโปรตีนและพลังงานที่กินไดแตกตางกัน. การประชุมสัมมนาวิชาการเกษตร ประจําป 2552. มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน. หนา 200-202.

ARC. 1965. The Nutrient Requirements of Farm Livestock. No. 2. Ruminants. Agric. Res. Counc., London, UK.

AOAC. 1990. Official Methods of Analysis, Vol.1, 15th ed. Association of Official Analytical Chemists, Washington, DC.

Bethard, G. L., R. E. James, and M. L. McGilliard. 1997. Effect of Rumen-Undegradable Protein and Energy on Growth and Feed Efficiency of Growing Holstein Heifers. J. Dairy Sci. 80:2149-2155.

Page 93: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

86 | P a g e

Broderick, G. A. 2003. Effects of Varying Dietary Protein and Energy Levels on the Production of Lactating Dairy Cows. J. Dairy Sci. 86:1370-1381.

Brown, E. G., M.J. VandeHaar, K. M. Daniels, J. S. Liesman, L. T. Chapin, D. H. Keisler, and M. S. Weber Nielsen. 2005. Effect of increasing energy and protein intake on body growth and carcass composition of heifer calves. J. Dairy Sci. 88:585–594.

Gabler, M. T., and A. J. Heinrichs. 2003a. Dietary protein to metabolizable energy ratios on feed efficiency and structural growth of prepubertal Holstein heifers. J. Dairy Sci. 86:268–274.

Gabler, M. T., and A. J. Heinrichs. 2003b. Effects of increasing dietary protein on nutrient utilization in heifers. J. Dairy Sci. 86:2170-2177.

Goering, H. K., and P. J. Van Soest. 1970. Forage fiber analyses. ARS Agric. Handbook No. 379. USDA, Washington, DC.

Hoffman, P. C., N. M. Esser, L. M. Bauman, S. L. Denzine, M. Engstrom and H. Chester-Jones. 2001. Short communication: Effect of dietary protein on growth and nitrogen balance heifers. J. Dairy Sci. 84: 843-847.

Kawashima, T., W. Sumamal, P. Pholsen, R. Chaithiang, W. Boonpakdee, and F. Terada. 2000. Comparison of energy and protein requirements for maintenance among Brahman cattle, swamp buffalo and Thai native cattle. Page 156-168 in Improvement of cattle production with locally available feed resources in Northeast Thailand. T. Kawashima, ed. Phratammakun Press, Khon Kaen, Thailand.

Lammers, B. P. and A. J. Heinrichs. 2000. The Response of Altering the Ratio of Dietary Protein to Energy on Growth, Feed Efficiency, and Mammary Development in Rapidly Growing Prepubertal Heifers. J. Dairy Sci. 83:977-983.

NRC. 2001. Nutrient Requirements of Dairy Cattle. 7th ed. Natl. Res. Counc., Natl. Acad. Press, Washington, D.C.

Pirlo, G., M. Capelletti, and G. Marchetto. 1997. Effects of Energy and Protein Allowances in the Diets of Prepubertal Heifers on Growth and Milk Production. J. Dairy Sci. 80:730-739.

SAS. 1996. SAS User’s Guide: Statistics, Version 6.12th ed. SAS Institute Inc.Cary, NC.

Page 94: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2553

87 | P a g e

Schroeder, G. F., and E. C. Titgemeyer. 2008. Interaction between protein and energy supply on protein utilization in growing cattle: A review. Livest. Sci. 114:1–10.

Sommart, K., K. Bunnakit and P. Nitipot. 2005. Feed evaluation of sugarcane aeril parts using an in vitro gas production technique. Page 36-47 in Proc. Integrating Livestock-Crop Systems to Meet the Challenges of Globalisation, Volume 1. P. Rowlinson, C. Wachirapakorn, P. Pakdee and M. Wanapat., ed. AHAT/BSAS, Khon Kaen, Thailand.

Page 95: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

คําแนะนําสําหรับผูสงบทความเพื่อลงตีพิมพ

จุดมุงหมายและขอบเขต

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนวารสารทางวิชาการของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เปนวารสารที่ไดรับการประเมินบทความโดยผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ (peer-reviewed journal) เปดโอกาสใหเสนอบทความที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร รวมถึงสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ บทความที่จะลงตีพิมพในวารสารไดแก

- นิพนธตนฉบับ (Original articles or Research articles) - รายงานสังเขป (Short communication) - รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (Case report) - บทความปริทรรศน (Review articles or Educational articles) - บทความปกิณกะ หรือ รายงานพิเศษ (Miscellany articles or Special articles) - บทความแนะนําหนังสือ (Book review) และ - จดหมายถึงบรรณาธิการ (Letter to the editor)

ประเภทของบทความ

นิพนธตนฉบับ (Original articles or Research articles) เปนรายงานผลการวิจัยทางดานวิทยาศาสตร

การเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ

รายงานสังเขป (Short communication) เปนรายงานผลการวิจัยหรือผลการทดลองทางดาน

วิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ โดยประสงคเผยแพรแบบสังเขป

Page 96: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (Case report) เปนรายงานสัตวปวย วิจารณอาการทางคลินิกและผล

ตรวจทางหองปฏิบัติการที่นาสนใจ รวมถึงกรณีศึกษาทางดานวิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ

บทความปริทรรศน (Review articles or Educational articles) เปนบทความที่รวบรวมเอาผลงานใน

เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งเคยลงตีพิมพมาแลว นํามาวิเคราะห วิจารณ เพื่อใหเกิดความกระจางในเรื่องนั้นยิ่งขึ้น

บทความปกิณกะ หรือ รายงานพิเศษ (Miscellany articles or Special articles) เปนบทความที่ให

ขอมูลเกี่ยวกับบทความและขาวสารสําหรับผูที่สนใจ

บทความแนะนําหนังสือ (Book review) เปนบทความเพื่อแนะนําหนังสือที่นาสนใจโดยสรุป ทางดาน

วิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ ที่ตองการแนะนําใหนักศึกษาหรือผูที่สนใจไดติดตาม

จดหมายถึงบรรณาธิการ (Letter to the editor) เปนขอความถึงบรรณาธิการเพื่อการแนะนํา หรือ

โตแยงตามหลักวิชาการตอบทความที่ไดเผยแพรในวารสาร หรือแสดงขอคิดเห็นในประเด็นที่มีประโยชนทางวิชาการตามสมควร โดยมีรายละเอียดดังนี้

นิพนธตนฉบับ (original articles) ใหมีความยาวไมควรเกิน 5000 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 50 ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 10 รูป รายงานสังเขป (short communication) ใหมีความยาวไมควรเกิน 2500 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 20

ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 5 รูป บทความปริทรรศน (review articles) และบทความปกิณกะ (miscellany articles) ใหมีความยาวไมควร

เกิน 10000 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 100 ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 10 รูป รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (case report) ใหมีความยาวไมควรเกิน 1500 คํา, รูปภาพและตารางไม

ควรเกิน 5 รูป, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 20 ขอ บทความแนะนําหนังสือ (book review) และ จดหมายถึงบรรณาธิการ (letter to the editor) ใหมีความ

ยาวไมควรเกิน 500 คํา หรือ ตามความเหมาะสม

ประเภทของบทความนอกเหนือจากนี้ใหอยูในดุลยพินิจของบรรณาธิการ

Page 97: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

การสงบทความและการเผยแพรวารสารอิเล็กทรอนิกส

กองบรรณาธิการวารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอแจงใหทราบวา เพื่อความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการสงบทความ ไดจัดทําวารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรในรูปแบบออนไลนเผยแพรผานเว็บไซตของคณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ http://www.asat.su.ac.thผูเขียนสามารถเสนอบทความเพื่อพิจารณาไดทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส (email) ที่

[email protected] หรือ [email protected] หรือ บันทึกลงในแผนดิสก ประเภท CD หรือ DVD สงใหกองบรรณาธิการ

โดยจาหนาถึง

การเตรียมตนฉบับ

เกณฑการเขียนบทความ1. อธิบายเนื้อหาของบทความหรือวิเคราะหขอมูลที่ไดมาใหชัดเจน2. หากตนฉบับมีขอผิดพลาดของรูปแบบหรือมีความไมสมบูรณขององคประกอบในบทความ

บทความนั้นจะถูกสงกลับไปยังผูเขียนเพื่อทําการแกไขตอไป หรือ อาจจะไมรับพิจารณา3. แกไขปรับปรุงเนื้อหาของตนฉบับตามคําแนะนําของผูประเมินบทความ

หากมีการเขียนบทความโดยกลุม กรุณาระบุชื่อผูเขียนทุกคน และระบุชื่อผูวิจัยหลักใหชัดเจน

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

สํานักงานกองบรรณาธิการ วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร หอง สทก.1403

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เลขที่ 1 ถ.ชะอํา - ปราณบุรี ต.สามพระยา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 76120

Page 98: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ควรแสดงความขอบคุณแกบุคคลที่ไมไดมีสวนรวมในการเขียนบทความ แตมีสวนชวยเหลือโดยตรงในการวิจัย เชน ผูชวยทางเทคนิค, ที่ปรึกษาดานการเขียนบทความ, ผูสนับสนุนทุนและวัสดุในการทํางานวิจัย เปนตน ไวในกิตติกรรมประกาศ (acknowledgement)

บทความที่สงมาจะตองเปนเรื่องที่ไมเคยตีพิมพที่ใดมากอน และผูเขียนจะตองไมสงบทความเพื่อไปตีพิมพในวารสารฉบับอื่นในเวลาเดียวกัน

หลักเกณฑสําหรับผูเขียนบทความ

ผูเขียนบทความตองไมมีเจตนาสงขอมูลเท็จ บทความที่สงมาตองเปนผลงานของทานเอง ผูเขียนบทความจะตองไมสงบทความที่เคยลงตีพิมพในวารสารอื่น โดยไมระบุวาทานไดเสนอผลงาน

นั้นในวารสารใดบางอยางถูกตองและสมเหตุสมผล ตองระบุรายชื่อผูเขียนทุกคนตามความเปนจริง ผูเขียนบทความตองสงตนฉบับที่ไดรับการรับรองที่แทจริง ผูเขียนบทความตองไมใชวิธีการศึกษาที่มีผูเผยแพรมากอน โดยไมไดรับการอนุมัติจากเจาของลิขสิทธิ์

# หนาแรก (Title page) ประกอบดวย

1. ชื่อ สกุลของผูเขียน (เฉพาะภาษาไทย กรณีผูเขียนรวมเปนชาวตางชาติใหเขียนชื่อ สกุลเปนภาษาอังกฤษ)

2. ชื่อเรื่อง ที่สื่อความหมายและชี้ใหเห็นสาระสําคัญของเนื้อหาในตัวบทความ3. สถานที่ทํางาน

# บทคัดยอ (Abstract) สําหรับบทความภาษาไทย ตองมีบทคัดยอเปนภาษาไทยและควรมีภาษาอังกฤษ สําหรับบทความภาษาอังกฤษ ตองมีบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษ มีหรือไมมีบทคัดยอภาษาไทยก็ได โดยมีความยาวไมเกิน 100 - 150 คํา ควรเรียงลําดับเนื้อหาหลัก ดังนี้

Page 99: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

1. วัตถุประสงค (Purpose)2. วิธีการศึกษา (Methods)3. ผลการศึกษา (Results)4. สรุป (Conclusions)

# คําสําคัญ (Keyword) ระบุไวใตวัตถุประสงค มีความยาว 3 – 6 คํา

# ตนฉบับ (Manuscript) เปนภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษ

# เนื้อเรื่อง (Text Formatting) ใหลําดับความสําคัญของเนื้อหาดังนี้คือ สวนบทนํา (introduction), สวนวิทยวิธี(methods), สวนผลลัพธ (results), สวนอภิปราย (discussion), สวนบทขอบคุณ หรือ กิตติกรรมประกาศ(acknowledgements), สวนเอกสารอางอิง หรือ บรรณานุกรม (references), และสวนตารางและรูปภาพประกอบ (tables and figures) ทั้งนี้ผูเขียนอาจจะมีสวนอื่นเพิ่มเติมจากที่กําหนดไวก็ได และอาจจะใชคําที่แตกตางจากที่ระบุไวก็ได เชน สวนบทนํา ผูเขียนอาจจะใชคําวา “บทนํา” หรือ “คํานํา” ก็ได เปนตน

โดยตนฉบับจะตองใชรูปแบบ ดังนี้

1. ใชตัวพิมพมาตรฐาน เชน บทความ ภาษาไทยควรใช ตัวอักษร “Angsana New” ขนาด 16 point หรือบทความภาษาอังกฤษ ควรใชตัวอักษร “Times Roman” ขนาด 12 point

2. พิมพขอความสําคัญดวยตัวเอน หรือ ตัวหนา หรือ ขีดเสนใต3. ไมใช “field functions”4. ใชปุม “Tab” เมื่อขึ้นยอหนาตอไป5. ควรเลือกคําสั่งตาราง (Table) เมื่อตองการพิมพตาราง6. หากใชโปรแกรม “Microsoft Word 2007” ควรใชโปรแกรม “Microsoft equation editor” หรือ

โปรแกรม “Math Type”7. สงตนฉบับในรูปของแฟมขอมูล โดยบันทึกขอมูลเปนไฟล “.doc” หรือบันทึกเปนไฟล “.docx”

หามบันทึกเปนไฟล “.pdf” หรือไฟลอื่นๆ แนะนําวาควรบันทึกเปนไฟล “.docx”

Page 100: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

# หัวขอ (headings) ไมควรมีขนาดตางๆ มากกวา 3 ระดับ

# คํายอ (abbreviations) จะตองมีคําเต็มเมื่อปรากฏเปนครั้งแรกในบทความ หลังจากนั้นสามารถใชคํายอเหลานั้นไดตามปกติ

# เชิงอรรถ (footnotes) คือ การอางอิงขอความที่ผูเขียนนํามากลาวแยกจากเนื้อหาอยูตอนลางของหนา โดยใสหมายเลขกํากับไวทายขอความที่คัดลอกหรือเก็บแนวคิดมา และจะไมเขียนเชิงอรรถเอาไวที่หนาแรกของบทความ ถาตองการแสดงที่มาของตารางหรือภาพประกอบใหใชเครื่องหมายแทนตัวเลข โดยเขียนไวที่สวนลาง ของหนา หรือใชเครื่องหมายดอกจัน (*) เพื่อแสดงความหมายของคาหรือขอมูลทางสถิติ

# กิตติกรรมประกาศ (acknowledgement) เปนการแสดงความขอบคุณแกผูที่ชวยเหลือในการทําวิจัย หรือ ผูสนับสนุนทุนการวิจัย เปนตน โดยจะเขียนไวกอนเอกสารอางอิงและควรเขียนชื่อสถาบันที่ใหการสนับสนุนทุนการวิจัยโดยใชชื่อเต็ม

# ตาราง (tables)

1. ใหเขียนหมายเลขตารางเปนเลขอารบิก2. ใหเรียงตามลําดับที่ของตารางอยางตอเนื่องกันจาก 1, 2, 3, …3. การอธิบายผลในตารางตองไมซ้ําซอนกันและมีใจความกระชับรัดกุม และมีคําอธิบายกํากับไวเหนือ

หรือใตตาราง4. เขียนคําอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแหลงที่มาของเอกสารอางอิงไวที่ใตตาราง5. เชิงอรรถ (footnotes) ของตารางจะเขียนไวใตตารางหรือใชเครื่องหมายดอกจัน (*) เพื่อแสดง

ความหมายของคาหรือขอมูลทางสถิติ6. ตาราง หรือแผนภูมิประกอบจะตองชัดเจน แสดงเนื้อหาสําคัญของเรื่อง สําหรับคําอธิบายประกอบควร

ใชขอความที่กะทัดรัด ชัดเจนและระบุที่มา

Page 101: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

# รูปภาพ (figures)

1. ควรใชโปรแกรมกราฟกคอมพิวเตอรในการวาดรูป2. รูปภาพที่เปนลายเสนควรใชรูปแบบ EPS ในการวาดเสนรูปภาพและรูปภาพที่เปนโทนสีควรใช

รูปแบบ TIFF ในการไลเฉดสี3. รูปภาพทุกรูปจะตองมีหมายเลขและคําบรรยายภาพกํากับไวใตภาพ โดยใชชื่อรูปภาพเปน “รูปที่...”

หรือ “ภาพที่...” หรือ “Fig…” ตามดวยลําดับที่ของรูปภาพ เชน “Fig. 1” เปนตน4. ภาพประกอบ เชน ภาพถาย แผนภาพ ฯลฯ จะตองชัดเจน แสดงเนื้อหาสําคัญของเรื่อง สําหรับคําอธิบาย

ภาพประกอบควรใชขอความที่กะทัดรัด ชัดเจนและระบุที่มา

# เอกสารอางอิง (references)

1. การเขียนอางอิงในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรม ควรเรียงลําดับการอางอิงตามการอางอิงถึงชื่อบุคคลหรือองคกรตามลําดับตัวอักษร โดยอางอิงภาษาไทยกอนภาษาตางประเทศ

2. ในเนื้อเรื่อง ถามีผูเขียนมากกวา 3 คน ใหใสชื่อคนแรก แลวตามดวย “และคณะ” หรือ “และคนอื่น” สําหรับภาษาไทย และ “et al.” หรือ “and others” สําหรับภาษาอังกฤษ และระบุชื่อผูเขียนทุกคนในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรม

3. ในเนื้อเรื่อง ถาอางอิงจากภาษาไทย หากเปนชื่อบุคคล ใหเขียนอางอิงตามระบบนาม – ป โดยเขียนเฉพาะชื่อ หรือ ชื่อและนามสกุล และตามดวยป พ.ศ. เชน “สุรวัฒน, 2553” หรือ “สุรวัฒน ชลอสันติสกุล, 2553” หรือ “สุรวัฒน (2553)” หรือ “สุรวัฒน ชลอสันติสกุล (2553)” ถาอางอิงจากภาษาตางประเทศ หากเปนชื่อบุคคล ใหเขียนอางอิงเฉพาะนามสกุล และตามดวยป ค.ศ. เชน “Chalorsuntisakul, 2010” หรือ “Chalorsuntisakul (2010)” หากอางอิงเปนชื่อองคกร ควรเขียนดวยชื่อเต็มขององคกรนั้น ไมควรอางอิงแตเพียงคํายอ หรือ อักษรยอขององคกร

4. การเขียนอางอิงในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรมจากวารสาร ควรระบุชื่อเต็มของวารสารนั้น และควรเขียนดวยตัวเอียง หากประสงคจะใชชื่อยอของวารสารนั้น ควรใชชื่อยอตามที่วารสารนั้นระบุใหใช หรือ ตามฐานขอมูล ISI

Page 102: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กองบรรณาธิการเปดรับบทความหลายประเภท จึงมิไดกําหนดรูปแบบการเขียนบทความอยางเฉพาะเจาะจง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของบทความ โดยมีความประสงคเพื่อเนนคุณคาของเนื้อหาเปนสําคัญ มากกวาระเบียบวิธีในการเขียนบทความ บรรณาธิการจะใชดุลยพินิจและอาจจะปรับปรุงแกไขตามสมควรในการพิจารณาบทความที่สงมาเพื่อเผยแพร

ผลงานของทานจะไดรับการตรวจจากผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ ถามีสวนที่จะตองปรับปรุงแกไข กองบรรณาธิการจะแจงใหทานทราบ เพื่อการปรับปรุงแกไขและโปรดสงคืนมายังกองบรรณาธิการตามกําหนด

Page 103: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

เรียน บรรณาธิการ

ขาพเจา นาย นาง นางสาว อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………….……….………...ชื่อ – สกุล .........................................................................................................................................................

ตําแหนงทางวิชาการ (โปรดระบุ) ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย อาจารย อื่น ๆ ระบุ......................................................................คุณวุฒิ (โปรดระบุ) .........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

สถานที่ทํางาน ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................โทรศัพทที่ทํางาน......................................................โทรศัพทมือถือ...............................................................โทรสาร.....................................................................E-mail.............................................................................

มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง :

ชื่อบทความ.............................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................

ใบสมัครขอสงบทความเพื่อเผยแพร

(การกรอกใบสมัครโปรดใชวิธีการพิมพ)

Page 104: ASAT eJournal Vol 1- No 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่ สถานที่ทํางานที่ระบุขางตน ที่อยูดังตอไปนี้........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

โทรศัพทที่ทํางาน......................................................โทรศัพทมือถือ............................................................โทรสาร.....................................................................E-mail........................................................................

และในกรณีที่ไมสามารถติดตอขาพเจาได กองบรรณาธิการสามารถติดตอบุคคลดังตอไปนี้ชื่อ – สกุล.....................................................................................................................................................โทรศัพท.......................................................................................................................................................

โทรสาร.....................................................................E-mail..........................................................................

มีความเกี่ยวของเปน......................................................................................................................................

.........................................................ลายมือชื่อ(............................................)

เจาของผลงาน

Page 105: ASAT eJournal Vol 1- No 1
Page 106: ASAT eJournal Vol 1- No 1