dna analysis for thalassemia diagnosis · 2018. 3. 12. · alpha-thalassemia.orphanet j rare dis....

43
DNA analysis for thalassemia diagnosis โครงการอบรมวิชาการเทคนิคการแพทย์ คร ังที 1 ปี 2558 “เรียนรู้ก้าวทันโรค...กับเทคนิคการแพทย์” ธเนตร ประจันตะเสน คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 29 ก.ค. 2558

Upload: others

Post on 05-Feb-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • DNA analysis for thalassemia diagnosis

    โครงการอบรมวชิาการเทคนคิการแพทย ์คร ั�งที� 1 ปี 2558 “เรยีนรูก้า้วทนัโรค...กบัเทคนคิการแพทย”์

    ธเนตร ประจนัตะเสนคณะเทคนคิการแพทย ์มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร์

    29 ก.ค. 2558

  • Content

    ความหมายและความผดิปกตทิี�ทําใหเ้กดิ Thalassemia

    วัตถปุระสงคข์องการตรวจดเีอ็นเอสําหรับธาลัสซเีมยี

    แนวทางการสง่ตรวจดเีอ็นเอสําหรับธาลสัซเีมยี

    วธิกีารตรวจดเีอ็นเอสําหรับหอ้งปฏบิัตกิารธาลัสซเีมยี Gap-PCR Gap-PCR

    Real-time PCR

    Allele specific PCR (ASPCR)

    Reverse dot blot (RDB) hybridization

    Automated sequencing

    Maternal contamination

    การควบคมุคณุภาพ

  • Thalassemia

    - เป็นหนึ�งในโรคที�ถ่ายทอดทางพนัธุกรรมพบบ่อยที�สุด- แบบยีนด้อย (autosomal recessive)- อาการที�สาํคัญ คือมีภาวะโลหติจาง- การสังเคราะห์สายโกลบนิผิดปกติ

    - ไม่มีการสร้าง หรือ สร้างได้ลดลง - ไม่มีการสร้าง หรือ สร้างได้ลดลง - มีโครงสร้างผิดปกติ

    http://ghr.nlm.nih.gov/handbook/illustrations/autorecessivehttp://thalassemia.com/what-is-thal-alpha.aspx#gsc.tab=0

  • Thalassemia

    การผิดปกตริะดับยีนโกลบนิ

    mRNA

    transcription

    5’Cap Splicing

    α-globin gene Chromosome 16

    β-globin geneChromosome 11

    mRNA

    สายโกลบินผิดปกต ิ(protein)

    translation

    SplicingPoly A tail

    α-thalassemia Abnormal Hemoglobinβ-Thalassemia

    เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ

  • Thalassemia

    ความผดิปกตริะดบัโมเลกลุα-thalassemia

    α0-thalassemia หรือ α-thal 1 ส่วนใหญ่เกดิจาก Large deletion

    α+-thalassemia หรือ α-thal 2 α+-thalassemia หรือ α-thal 2เกิดจาก Large deletion และ non-deletion

    β-thalassemia (point mutation)

    β0-thalassemia β+-thalassemiaβ-thalassemia เกิดจาก base substitution หรือ small deletion หรือ small insertion

  • α0-thalassemia (Large deletion)

    พบบ้าง

    อัลฟาโกลบนิหาย 2 ยนีในขา้งเดยีวกนัของโครโมโซมHarteveld CL, Higgs DR. Alpha-thalassemia.Orphanet J Rare Dis. 2010 May 28;5:13.

    พบบ่อย

    พบบ้าง

  • α+-thalassemia (Large deletion)

    อัลฟาโกลบนิหาย 1 ยนีในขา้งเดยีวกนัของโครโมโซม

    Harteveld CL, Higgs DR. Alpha-thalassemia.Orphanet J Rare Dis. 2010 May 28;5:13.

    ชนดิ 3.7 kb และ 4.2 kb พบบอ่ยในคนไทย

  • α+-thalassemia (non-deletion)

    *Terminal codon mutation

    α2 α1

    TAANormal

    α-globin gene Chromosome 16

    Hb Constant Spring

    Hb Pakse’

    TAA

    CAA

    TAT

    Stop codon (141 amino acid)

    Glutamine สรา้งตอ่จนได ้172 amino acid

    Tyrosine สรา้งตอ่จนได้ 172 amino acid

    Normal

    *Unstable Hb and small amount (< 1%)

  • > 200 mutationsส่วนน้อยเกิดจาก deletion

    β-thalassemia (point mutations)

    http://www.cixip.com/index.php/page/content/id/558

  • Objective of DNA analysis

    1.สําหรบัพาหะ (Carrier)- Confirmatory test of α-thalassemia 1- β-thalassemia genotype (β0-thal or β+-thal)

    2.สําหรบัการตรวจวนิจิฉยัทารกในครรภก์อ่นคลอด 2.สําหรบัการตรวจวนิจิฉยัทารกในครรภก์อ่นคลอด Prenatal diagnosis (PND)

    อื�นๆ - abnormal hemoglobin- Complex syndromes

  • Confirmatory test of Thalassemia

    ขอ้จาํกดั Hb typing-มยีนี alpha-thal 1 แฝง?-เป็น β0-thal หรอื β+-thal-PND: ทําไดเ้ฉพาะ Fetal

    blood (อายคุรรภม์ากแลว้)

    จําเป็นตอ้งตรวจยนีดว้ย

    DNA analysis

    คณะทํางานจัดทําแนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคโลหิตจางธาลัซ๊เมีย.แนวทางการวินิจฉัยและการรักษาโรคธาลัสซีเมีย.2014.

  • When do we perform DNA analysis ?

  • ควรสง่ตรวจ DNA ในเมื�อใด

    มยีนี α-thal 1 ?

    Fucharoen G, Sanchaisuriya K, Sae-ung N, Dangwibul S, Fucharoen S. A simplified screening strategy for thalassaemia and haemoglobin E in rural communities in south-east Asia. Bull World Health Organ. 2004 May;82(5):364-72.

  • α-thal 1

    β0-thal

    เสี�ยง 3 โรครนุแรงสามี ภรรยา

    เมื�อไดคู้ส่มรสที�มโีอกาสกําเนดิบตุรที�เส ี�ยง 3 โรครนุแรง

    α-thal 1

    β0-thal Homozygous β0-thal

    Hb Bart’s hydrops fetalis

    β0-thal

    β E

    Prenatal diagnosis

    β0-thal

    β E

    Homozygous β0-thal

    β0-thal/Hb E disease

    ตอ้งสง่ตรวจดเีอ็นเอ

  • How do we perform DNA analysis ?

  • Specimen

    - EDTA peripheral blood

    - เนื�อเยื�อทารกสําหรบัการตรวจวนิจิยักอ่นคลอด- ชิ�นเนื�อรก- นํ �าครํ�า- นํ �าครํ�า- เลอืดทารกในครรภ์

    ตวัอยา่งดงักลา่วจะถกูดําเนนิการสกดัดเีอ็นเอ

  • Fetal tissue

    Specimen ไดม้าจากจากการทําหตัการของสตูนิรแีพทย ์

    Chorionic villussampling (CVS)

    AmniocentesisFetal blood sampling

    8 - 12 week of gestation12 – 16 week of gestation 16 – 22 week of gestation

    ตรวจ DNA ได้

    Hb typing

  • DNA analysis for thalassemiaความผิดปกติระดับยีน ชนิดยีนที�ผิดปกติ วิธีที�ใช้

    Large deletion

    α0-thal(SEA and THAI deletion)

    Gap-PCRReal-time PCREtc.

    α+-thal (3.7 and 4.2 kb) Gap-PCREtc.

    β-thal (3.4 kb deletion) Gap-PCR

    *ความผดิปกตริะดบัโมเลกลุของธาลสัซเีมยีที�ตา่งกนั หลกัการตรวจวเิคราะห ์DNA ก็ยอ่มจะตา่งกนัดว้ย*

    *DNA analysis จะใชเ้ทคนคิ Polymerase chain reaction (PCR) เป็นหลกั*

    β-thal (3.4 kb deletion) Gap-PCREtc.

    Point mutation(base substitution, small deletion

    and small insertion)

    α+-thal (non-deletion)- Hb Constant spring - Hb Pakse’

    ASPCRRDB Automated direct sequencingEtc.β-thal (β0 , β+)

  • DNA analysis based on PCR

    สว่นประกอบหลกัในปฏกิริยิา

    ปฏกิริยิาเพิ�มจํานวนดเีอ็นเอภายในหลอดทดลองตอ่เนื�องกนัเป็นลกูโซโ่ดยอาศยั DNA polymerase ทนรอ้น

    http://www.extension.org/pages/32364/the-polymerase-chain-reaction-pcr#.Vah4a_ntmkohttp://users.ugent.be/~avierstr/principles/pcr.html

  • PCR product detection

    - Agarose gel electrophoresis; - Gap-PCR , allele specific PCR (ASPCR)

    - Color precipitation; - Reverse dot blot (RDB)

    - คา่หรอืกราฟ จากการวเิคราะหด์ว้ย Automation ; - คา่หรอืกราฟ จากการวเิคราะหด์ว้ย Automation ; - Real-time PCR , sequencing

    http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK190571/figure/ch05-F3/?report=objectonly

  • DNA analysis for α- thalassemia

    สําหรบั α-thal 1- Gap-PCR- Gap-PCR- Real-time PCR

  • Gap-PCR for α-thal 1

    - ออกแบบprimer ครอ่มสว่นบรเิวณที�ขาดหายไป- ในตวัอยา่งที�เกดิจากขาดหายไปน ั�น primer จะเลื�อนมาอยูใ่กลก้นั ทาํใหเ้กดิการเพิ�มจํานวนดเีอ็นได้- วเิคราะห ์PCR product ดว้ย agarose gel electrophoresis

  • Gap-PCR for α-thal 1

    - ออกแบบprimer ครอ่มสว่นบรเิวณที�ขาดหายไป- ในตวัอยา่งที�เกดิจากขาดหายไปน ั�น primer จะเลื�อนมาอยูใ่กลก้นั ทาํใหเ้กดิการเพิ�มจํานวนดเีอ็นได้- วเิคราะห ์PCR product ดว้ย agarose gel electrophoresis

  • Gap-PCR for α-thal 1

    - ออกแบบprimer ครอ่มสว่นบรเิวณที�ขาดหายไป- ในตวัอยา่งที�เกดิจากขาดหายไปน ั�น primer จะเลื�อนมาอยูใ่กลก้นั ทาํใหเ้กดิการเพิ�มจํานวนดเีอ็นได้- วเิคราะห ์PCR product ดว้ย agarose gel electrophoresis

  • Gap-PCR for α-thal 1

    การรายงานผล; Negative for α –thalassemia 1 (–– SEA and THAI deletions)Positive for heterozygous α –thalassemia 1 (ชนดิที�ตรวจพบ)Positive for homozygous α –thalassemia 1 (ชนดิที�ตรวจพบ)

    Lane 1: Normal controlLane 2: α –thalassemia 1 carriers with (–– SEA ) deletionsLane 3: α –thalassemia 1 carriers with (–– THAI ) deletionsLane 4,5: Positive for α -thalassemia 1 (–– SEA deletion ) Lane 6,7: Positive for Homozygous α –thalassemia 1 (–– SEA deletion)

  • Real-time PCR for α-thal 1

    - อาศยั Primer ที�จาํเพาะกบัการเพิ�มจํานวนดเีอ็นเอของ normal allele , SEA และ THAI deletion - อาศยั Probe ที�มคีวามจําเพาะและตดิสารเรอืงแสงที�แตกตา่งกนั ไว้ตดิตาม PCR product ของ normal allele, SEA และ THAI deletion

    (– – THAI ) deletions

    α2 α1ψα1ψα2ψζ1ζ2 θ

    PCR product (–– THAI )

    (– – SEA ) deletions

    PCR product (–– SEA )PCR product normal

    normal

    Probe (–– SEA ) deletions

    Probe (–– THAI ) deletions

    Probe normal

  • การอา่นผล: คา่ Ct (cycle threshold) = จํานวนรอบใด (cycle) ของปฏกิริยิา

    PCR ที�เสน้กราฟสญัญาณการเรอืงแสงของตวัอยา่ง ตดักบั คา่เร ิ�มตน้ที�ต ั�งไว ้(threshold)

    การตรวจพบคา่ Ct บง่ชี�วา่ มี PCR product เกดิขึ�น

    Real-time PCR for α-thal 1

    สนทอง ไชยบญุเรือง.การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ DMSc α-1 ระหว่างเครื�อง Applied biosystems รุ่น 7500 กบั Biorad รุ่น IQ5.2013

    Ct = ~28Ct = ~28Ct = ~28

  • Real-time PCR for α-thal 1

    การรายงานผล

    คา่ Ct (normal probe)

    คา่ Ct (SEA probe)

    คา่ Ct (THAI) probe

    Negative for α0 -thalassemia (–– SEA and THAI deletions)

    ตรวจพบ - -

    Positive for heterozygous α0 -thalassemia (–– SEA deletions)

    ตรวจพบ ตรวจพบ -

    Positive for heterozygous α0 -thalassemia ตรวจพบ - ตรวจพบPositive for heterozygous α0 -thalassemia (–– THAI deletions)

    ตรวจพบ - ตรวจพบ

    สนทอง ไชยบญุเรือง.การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ DMSc α-1 ระหว่างเครื�อง Applied biosystems รุ่น 7500 กบั Biorad รุ่น IQ5.2013

  • DNA analysis for β- thalassemia

    - ASPCR- ASPCR- Reverse Dot blot (RDB)- automated sequencing

  • Allele specific-PCR (ASPCR)

    5’ 3’ 5’ 3’

    - ออกแบบ Primer ที�ปลาย 3’ มเีบส complementary กบั ลําดบัเบสที�กลายพนัธุ ์

    5’ 3’ 5’ 3’

    http://www.freepatentsonline.com/6794133.html

    ม ีPCR product เกดิขึ�น ไมม่ ีPCR product เกดิขึ�น

  • Allele specific-PCR (ASPCR)

    γ4Internal control578 bp

    Gγ- Globin gene

    γ5

    การตรวจ Beta E mutation

    การรายงานผลPositive for beta E geneNegative for beta E gene

    S3400 bp

    G24

    β- Globin gene

    β E (GAG-AAG)

    400 bp

    578 bp

    Yamsri S, Sanchaisuriya K, Fucharoen G, Fucharoen S. Genetic origin and interaction of the Filipino β⁰-thalassemia withHb E and α-thalassemia in a Thai family. Transl Res. 2012 Jun;159(6):473-6. doi: 10.1016/j.trsl.2011.10.008. Epub 2011 Nov 17

  • Reverse dot blot (RDB)

    1. ตรงึ probe บน nylon filter (probe ตอ้ง complementary กบั ลําดบัเบสที�กลายพนัธุ)์

    2.hybirdization กบั DNA product

    หลกัการ

    4. ด ูColor precipitate จากการทําปฏกิริยิาจาก เอนไซม ์และ substrate ที�

    เตมิเขา้ไป

    2.hybirdization กบั DNA product ที�ม ี5’ biotin จาก primer

    3. ปฏกิริยิา cross-linked ระหวา่ง biotin และ streptavidin- AL enzyme

    Li D1, Liao C, Li J, Xie X, Huang Y, Zhong H, Wei J. Prenatal diagnosis of beta-thalassemia in Southern China. Eur J Obstet Gynecol Reprod Biol. 2006 Sep-Oct;128(1-2):81-5. Epub 2005 Dec 22.

  • Reverse dot blot (RDB)

    การตรวจ Beta thalassemia

    Normal probe

    mutant probe

    Father (Fa) and Mother (Mo): heterozygous beta codon 17 (A-T)

    Fetus (Fe) : positive for homozygous beta codon 17 (A-T) mutation

    Li D1, Liao C, Li J, Xie X, Huang Y, Zhong H, Wei J. Prenatal diagnosis of beta-thalassemia in Southern China. Eur J Obstet Gynecol Reprod Biol. 2006 Sep-Oct;128(1-2):81-5. Epub 2005 Dec 22.

    Normal probe

    mutant probe

    mutant probe

    Normal probe

  • Direct Sequencing

    ddNTPs แตล่ะชนดิ ตดิสี

    flourochromeตา่งกนั

    https://en.wikipedia.org/wiki/Sanger_sequencing PCR product ขนาดตา่งกนั 1 bp

    การสรา้งสายถกูจํากดัความยาวโดย ddNTPs

  • Direct Sequencing

    Beta IVSI-116 (T-G) mutation

  • DNA analysis for maternal contaminationcontamination

  • VNTR analysis for detection of maternal contamination

    VNTR (variable number of tandemrepeats)

    -สว่นที�มลํีาดับเบสซํ�ากนัหลายๆชดุแตกตา่งกนัไปในแตล่ะโครโมโซม และแต่ละคน

    -ความสั �นยาวของชิ�นสว่นดเีอ็นเอที�ศกึษาดว้ยวธิ ี PCR จะขึ�นอยูก่บัจํานวนชดุที�ศกึษาดว้ยวธิ ี PCR จะขึ�นอยูก่บัจํานวนชดุที�ซํ�าๆกนั

    -ถา่ยทอดทางกรรมพันธุโ์ดยลกูจะไดร้ับการถา่ยทอดมาจากพอ่และแมอ่ยา่งละครึ�ง

    http://www.edvotek.com

  • VNTR analysis for detection of maternal contamination

    Fa M fetus Fa M fetus

    วธิกีาร : ตรวจ VNTR ตาํแหนง่ locus D1S80 ดว้ยวธิ ีPCR

    ตวัอยา่งFa M fetus

    No maternal contamination

    Fa M fetus

    maternal contamination

  • Example: PND of Hb E-β-thal disease

    ผลการตรวจวเิคราะหใ์นตวัอยา่งทารกในครรภ์ ดว้ยวธิ ีASPCR βE : Negative for beta E geneβ71/72 : Positive for beta 71/72 geneFetus : Beta-thalassemia carrier (heterozygous beta 71/72) VNTR analysis : No maternal contamination

    ที�มา รูปภาพจาก Yamsri S, Sanchaisuriya K, Fucharoen G, Sae-Ung N, Ratanasiri T, Fucharoen S. Prevention of severe thalassemia in northeast Thailand: 16 years of experience at a single university center. Prenat Diagn. 2010

  • การควบคมุคณุภาพ

    - ควรทํา positive control และ negative control ควบคู่กบัตวัอยา่งสิ�งสง่ตรวจ-เขา้รว่มโครงการทดสอบความชํานาญ -การดแูลบํารงุรกัษา และสอบเทยีบ ครภุณัฑ์-บคุคลกรที�เกี�ยวขอ้งควรไดร้บัการฝึกอบรมเป็นประจํา-บคุคลกรที�เกี�ยวขอ้งควรไดร้บัการฝึกอบรมเป็นประจํา

    คณะจดัทําคู่มือทางห้องปฏิบตัิการตรวจวินิจฉัยธาลสัซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกต.ิ คูม่ือทางห้องปฏิบตัิการตรวจวินิจฉัยธาลสัซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกต.ิ2553

  • สรปุ

    1. การตรวจยนืยนัธาลสัซเีมยี ม ี2 วธิ ีคอื Hb typing และดเีอ็นเอ2. Hb typing มขีอ้จาํกดัที�สาํคญั คอื ไมส่ามารถวนิจิฉยัพาหะ α-thal 13. การตรวจดเีอ็นเอธาลสัซเีมยีสามารถตรวจไดม้หีลายวธิ ีและขึ�นอยูก่บั

    กลไกการเกดิโรคโดยใช ้เทคนคิ PCR เป็นพื�นฐาน- หากเกดิจาก Large deletion นยิมใช้ Gap-PCR หรอื real-time PCR เชน่ ยนี α-thal 1 time PCR เชน่ ยนี α-thal 1 - หากเกดิจาก Point mutation นยิมใช ้ASPCR , RDB เชน่

    ยนี β-thal4. จดุประสงคห์ลกั

    4.1 วนิจิฉยัยนืยนัพาหะ α-thal 1 หรอื ชนดิของ β- thal ของคู่สมรส

    4.2 การตรวจวนิจิฉยัทารกในครรภก์อ่นคลอด-สามารถตรวจไดใ้นระยะแรกของการต ั�งครรภ์

  • สรปุ

    ความผิดปกติระดับยีน ชนิดยีนที�ผิดปกติ วิธีที�สามารถใช้

    Large deletion

    α0-thal(SEA and THAI deletion)

    Gap-PCRReal-time PCREtc.

    α+-thal (3.7 and 4.2 kb) Gap-PCREtc.

    β-thal (3.4 kb deletion) Gap-PCRβ-thal (3.4 kb deletion) Gap-PCREtc.

    Point mutation

    α+-thal (non-deletion)- Hb Constant spring - Hb Pakse’

    ASPCRRDB Automated direct sequencing

    β-thal

  • Referenceกลุนภา ฟู่ เจริญ. การตรวจทางห้องปฏิบตัิการเพื�อวินิจฉยัธาลสัซีเมียและฮีโมโกลบินที�พบบ่อยในประเทศไทย. พิมพ์ครั �ง

    ที� 1: 2549:19คณะจดัทําคู่มือทางห้องปฏิบตัิการตรวจวินิจฉัยธาลสัซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกต.ิ คู่มือทางห้องปฏิบตัิการตรวจ

    วินิจฉัยธาลสัซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติ.2553