โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1....

32
โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล สมาชิกกลุ่ม 1. นายกฤติน แซ่ชีรหัส 51104596 2. นายธีรภัทร กันธะอิน รหัส 51104386 3. นายนันทวัฒน์ ชุณหสวรรณ รหัส 51104210 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงการตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา ช่างยนต์ โรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที2 ปีการศึกษา 2553

Upload: others

Post on 29-Jun-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

โครงการ

เครื่องยนต์ดีเซล

สมาชิกกลุ่ม

1. นายกฤติน แซ่ชี ้ รหัส 51104596 2. นายธีรภัทร กันธะอิน รหัส 51104386 3. นายนันทวัฒน ์ ชุณหสวรรณ รหัส 51104210

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงการตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขา ช่างยนต ์

โรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553

Page 2: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

แบบฟอร์มอนุมัติโครงการของการศึกษาโครงการ

คณะ ช่างอุตสาหกรรม

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ

ประจ าปีการศึกษา 2553

1. ชื่อโครงการ

1.1 เครื่องยนต์ดีเซล

1.2 Diesel Engine

2. ผู้เสนอโครงการ

2.1 นายกฤติน แซ่ชี ้ รหัส 51104596 2.2 นายนมัสการ ยงค์จิตต์ รหัส 51104604 2.3 นายอนุพงศ ์ ซีทวาก รหัส 51104391 2.4 นายนันทวัฒน์ ชุณหสวรรณ รหัส 51104210 2.5 นายธนารัฐ มอญศรี รหัส 51104704 2.6 นายธีรภัทร กันธะอิน รหัส 51104386 2.7 นายกิตติศักดิ์ โถนาค รหัส 51104209

3. อาจารย์ที่ปรึกษา

3.1 อาจารย์ วุฒิพงศ์ ยอดไสย์ อนุมัติการศึกษาโครงการและให้ด าเนินการโครงการแผนงานตามที่เสนอได้

(ลงช่ือ)........................................หัวหน้าแผนก ( อาจารย์ วุฒิพงษ์ ยอดใสย์ )

หน้า ก

Page 3: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

หัวข้อโครงการ : เครื่องยนต์ดีเซล ชื่อนักศึกษา : 1. นายกฤติน แซ่ชี ้ รหัส 51104596

2. นายนมัสการ ยงค์จิตต ์ รหัส 51104604 3. นายอนุพงศ ์ ซีทวาก รหัส 51104391 4. นายนันทวัฒน์ ชุณหสวรรณ รหัส 51104210 5. นายธนารัฐ มอญศร ี รหัส 51104704 6. นายธีรภัทร กันธะอิน รหัส 51104386

7. นายกิตติศักดิ์ โถนาค รหัส 51104209 อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์วุฒิพงศ์ ยอดไสย์ สาขาวิชา : ช่างยนต ์ปีการศึกษา : 2553

บทคัดย่อ

ปัจจุบันเครื่องยนต์ดีเซลของโรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจได้ช ารุด จ านวนหลายเครื่อง ซ่ึงส่งผลกระทบให้การทดลองหรือการใช้ท าเป็นส่ือการเรียนการสอน ให้กับนักศึกษาหรือผู้ท่ีสนใจเกี่ยวกับสาขาวิชาช่างยนต์ ไม่สามารถท าการทดลองสตาร์ทเครื่องยนต์ได้ ส่งผลให้ นักศึกษาและผู้ท่ีสนใจได้รับความรู้ทางด้านการปฏิบัติงานไม่มากเท่าที่ควร ดังนั้นทางคณะผู้จัดท าไ ด้ท าการซ่อมเครื่องยนต์ดีเซล เปล่ียนอะไหร่ที่เสียหายจากการใช้งาน เพื่อให้สามารถสตาร์ทติดได้และเป็นส่ือการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา และผู้ท่ีสนใจในด้านวิชาสาขาช่างยนต์

เพื่อต้องการซ่อมเครื่องยนต์ดีเซลให้กับ นักศึกษาน าไปเป็นส่ือการเรียนในวิชาสาขาช่างยนต์ เพื่อบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ในโรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ เพื่อตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ในโรงเรียนว่าสามารถใช้งานได้จริงและ เพื่อให้เครื่องยนต์สามารถสตาร์ทติดได้

คณะผู้จัดท าสามารถซ่อมเครื่องยนต์ดีเซลให้กับ นักศึกษาน าไปเป็นส่ือการเรียนใน วิชาสาขาช่างยนต์สามารถบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ให้สามารถสตาร์ทติดได้และสามารถทดลองใช้เป็นส่ือการสอนได้จริงตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ในโรงเรียนว่าสามารถใช้งานได้จริง

หน้า ข

Page 4: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

กิตติกรรมประกาศ

โครงการนี้ส าเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์ วุฒิพงศ์ ยอดไสย์ ที่ให้ความกรุณาเป็น

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการรวมท้ังให้ค าแนะน าในการแก้ไขปัญหาต่างๆ แลละขอบคุณเพื่อนๆ อาจารย์ ผู้ปกครอง ท่ีให้การสนับสนุน ทางคณะผู้จัดท าโครงการขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ท่ีนี้ด้วย

2553 คณะผู้จัดท า

หน้า ค

Page 5: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

สารบัญ

เร่ือง หน้า

หนาอนุมัต ิ ก บทคัดย่อ ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญภาพ ช สารบัญตาราง ซ บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค ์ 1 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1 1.4 ประโยชน์ที่จะได้จากโครงการ 1 1.5 สถานที่ท าโครงการ 1 1.6 ตารางการปฏิบัติงาน 2 1.7 ตารางงบประมาณ 2 บทที่ 2. ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 2.1 กระเดื่องกดวาล์ว 3 2.2 การตั้งระยะห่างของวาล์วหรือลิ้นของเครื่องยนต์ 4 2.3 ทฤษฎีการถอดประกอบสายพานไทมิ่ง 6

2.4 ตารางการถอดประกอบสายพานไทมิ่ง 7 2.5 ล าดับขั้นตอนการประกอบ 9 บทที่ 3. วิธีการด าเนินงาน 3.1 การเริ่มหาสาเหตุที่เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด 12 3.2 การใส่กระเดื่องกดวาล์ว 13 3.3 การติดตั้งสายพานไทมิ่ง 14 บทที่ 4. การทดสอบและสรุปผลการทดลอง

4.1 การทดสอบและสรุปผลการทดลอง 16

หน้า ง

Page 6: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

สารบัญ

เร่ือง หน้า บทที่ 5. สรุปผลโครงการ 5.1 สรุปผลการด าเนนงาน 17 5.2 ข้อเสนอแนะ 17 ภาคพนวก ก. รูปภาพแสดงการด าเนินการ 18 ภาคพนวก ข. ตาราง 21

หน้า จ

Page 7: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

สารบัญรูปภาพ

เร่ือง หน้า 1.บทที่ 2 1.1 รูปท่ี 2.1การท างานของกระเดื่องกดวาล์ว 3 1.2 รูปท่ี 2.2ช่วงวัดระยะห่างของกระเดื่องกดวาล์ว 4

1.3 รูปท่ี 2.3ภาพการตั้งกระเดื่องกดวาล์ว 5 1.4 รูปท่ี 2.4ภาพการประกอบสายพานไทมิ่ง 6

2.บทที่ 3 2.1รูปที3่.1ภาพเคื่องยนต์ 12 2.2 รูปท่ี 3.2 การใส่กระเดื่องกดวาล์ว 13 2.3 รูปท่ี 3.3 การตั้งสายพานไทมิ่ง 14 2.4 รูปท่ี 3.4 การตั้งมาร์คสายพานไทมิ่ง 15 3. บทที่ 4 3.1 รูปท่ี 4.1 ภาพการทดสอบ 16

หน้า ช

Page 8: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

สารบัญตาราง

เร่ือง หน้า 1.บทที่ 1 1.1ตารางที่ 1.1 ตารางการปฏิบัติงาน 2

1.2 ตารางที่ 1.2 ตารางงบประมาณ 2 2.บทที่ 2

2.1 ตารางท่ี2.1 ตารางการประกอบสายพานไทมิ่ง 7 2.2 ตารางท่ี 2.2 ตารางล าดับขั้นตอนการประกอบสายพานไทมิ่ง 9

หน้า ซ

Page 9: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

บทที่ 1

บทน า

1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ปัจจุบันเครื่องยนต์ดีเซลของโรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจได้ช ารุด จ านวนหลายเครื่อง ซ่ึงส่งผลกระทบให้การทดลองหรือการใช้ท าเป็นส่ือการเรียนการสอนให้กับ นักศึกษาหรือผู้ท่ีสนใจเกี่ยวกับสาขาวิชาช่างยนต์ ไม่สามารถท าการทดลองสตาร์ทเครื่องยนต์ได้ ส่งผลให้ นักศึกษาและผู้ท่ีสนใจได้รับความรู้ทางด้านการปฏิบัติงานไม่มากเท่าที่ควร

ดังนั้นทางคณะผู้จัดท าได้ท าการซ่อมเครื่องยนต์ดีเซล ปรับเปล่ียนอะไหล่ที่เสียหายจากการใช้ง าน เพื่อให้สามารถสตาร์ทติดได้ เพื่อเป็นส่ือการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาและผู้ท่ีสนใจในด้านวิชาสาขาช่างยนต์ อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้คณะผู้ศึกษาเอง ได้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้จากการศึกษาครั้งนี้อย่างดียิ่ง 1.2 จุดประสงค์ของโครงการ 1.2.1 เพื่อซ่อมเครื่องยนต์ดีเซล 1.2.2 เพื่อน าความรู้ที่เรียนมาปฏิบัติจริง 1.3 ขอบเขตของโครงการ

1.3.1 เครื่องยนต์เป็นส่ือการสอนไม่สามารถวิ่งบนถนนได้เหมือนรถยนต์จริง 1.3.2 เครื่องยนต์ไม่สามารถสตาร์ทได้นานกว่า 8 นาท ี

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 1.4.1 เพิ่มโอกาสการเรียนรู้ ฝึกทักษะ และการแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับการซ่อมเครื่องยนต์ 1.4.2 เพิ่มโอกาสในทางการศึกษาให้กับนักศึกษาที่สนใจในด้านงานเครื่องยนต์ 1.5 สถานที่ท าโครงการ

โรงเรียนพายัพเทคโนโลยีและบริหารธุรกิจ 262 หมู่ 6 ถ. เชียงใหม่- พร้าว ต. หนองจ๊อม อ. สันทราย จ.เชียงใหม่ 50120

หน้า 1

Page 10: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

1.6 ตารางการปฏิบัติงาน ตารางท่ี 1.1 ตารางการปฏิบัติงาน

ล าดับที ่ กิจกรรม

ช่วงเวลาการปฏิบัติงาน

เม.ย.(54) พ.ค.(54)

26 27 28 29 30 1 2 3 4 5 6 7 8

1 วางแผนโครงการ

2 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 3 ลงมือซ่อมเครื่องยนต์

4 ทดสอบเครื่องยนต ์

5 เก็บรวบรวมข้อมูล

6 จัดท ารายงานสรุปผล

1.7 ตารางงบประมาณ ตารางท่ี 1.2 ตารางงบประมาณ

ล าดับที ่ รายการ จ านวน ราคาต่อหน่วย (บาท) จ านวนเงิน (บาท)

1 สายพานไทมิ่ง 1 ชุด 420.00 420.00

2 กระเดื่องกดวาล์ว 1 ชุด 800.00 800.00

3 รีเลย์หัวเผา 1 ชุด 360.00 360.00

4 รูปเล่ม 1เล่ม 250.00 250.00

5 แผ่นพับ 50 ชุด 50.00 50.00

6 อ่ืน ๆ - 300.00 300.00 รวม 2,180.00

หน้า 2

Page 11: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

บทที2่

ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง

2.1 กระเดื่องกดวาล์ว

2.1.1 กระเดื่องวาล์ว (Rocker arm)

กระเดื่องวาล์ว ติดตั้งเกาะติดอยู่กับด้านบนของฝาสูบ (Cylinder head) ปลายข้างหนึ่งของ กระเดื่องวาล์ว (Rocker arm) เกาะติดอยู่กับปลายวาล์ว ส่วนปลายอีกด้านหนึ่ง ยึดกับ ก้านกระทุ้ง (Pushrod) เมื่อเพลาลูกเบี้ยว (Camshaft) หมุน ก็จะส่งแรงกระท าไปกับ ลูกกระทุ้ง (Cam follower) ส่งต่อไปให้กับก้านกระทุ้ง ไปดันให้ กระเดื่องวาล์ว เกิดการกระดกขึ้น เม่ือปลายข้างหนึ่ง ของกระเดื่องวาล์วกระดกขึ้น ก็จะท าให้ปลายอีกข้างหนึ่ง ที่ยึดติดกับปลาย วาล์วถู กกดลงไป เมื่อวาล์วถูกกดลงไป นั่นก็คือการเปิดวาล์วให้อากาศไหลผ่านเข้า หรือออกในห้องเผาไหม้ได้

รูปภาพที่ 2.1.1 การท างานของกระเดื่องกดวาล์ว

หน้า 3

Page 12: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

2.1.2 การต้ังระยะห่างของวาล์วหรือลิ้นของเครื่องยนต์

ระยะวาล์ว คือ ระยะช่องว่างระหว่างกระเดื่องวาล์วกับก้านวาล์ว(ดูรูป) ถ้าระยะนี้ห่างมากเกินไปจะมีเสียงดังรบกวน ถ้าระยะนี้น้อยเกินไปส่วนผสมจะอัดตัวไม่แน่นพอ ท าให้เครื่องยนต์อ่อนก าลัง ฉะนั้นระยะช่องว่างนี้จะต้องตั้งให้ถูกต้องตามก าหนดของเครื่องยนต์ โดยใช้แผ่นเกจวัด หรือที่เรียกว่าฟิลเลอร์เกจ

รูปภาพที่ 2.1.2ช่วงวัดระยะห่างของกระเดื่องกดวาล์ว

วิธีที่จะตั้งวาล์ว

ก. มีวิธีตั้งได้สองวิธี ตั้งเมื่อเครื่องยนต์เย็น คือตอนที่เครื่องยนต์ไม่ท างาน และตั้งเมื่อเครื่องยนต์ร้อน วิธีใดที่จะท าตามนั้นมีบอกไว้ในคู่มือของเครื่องยนต์

ข. ถอดฝาครอบกระเดื่องวาล์ว

ค. วัดระยะช่องว่างในขณะที่วาล์วของแต่ละสูบก าลังปิดเต็มท่ีอยู่ เพื่อที่จะให้วาล์วปิดจะต้องหมุนเครื่องโดยใช้ประแจ

หน้า4

Page 13: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ง. เมื่อวาล์วปิดสนิทดีแล้ว(ตัวกระเดื่องจะโยกขึ้นลงได้ง่ายโดยใช้มือขยับ) สอดแผ่นเกจวัดที่มีความหนาตามก าหนดของระยะห่างวาล์วเข้าไปวัดระยะห่างก้านวาล์วกับปลายกระเดื่องกดวาล์ว และใช้ไขควงหมุนเกลียวส าหรับตั้งระยะ(ดังรูป) เมื่อตั้งระยะได้ถูกต้องแล้วจะรู้สึกฝืดเล็กน้อยในขณะดึงแผ่นเกจวัดออกจากระยะช่องว่าง เสร็จแล้วให้ยึดตัวกระเดื่องให้อยู่ในที่ที่ต้องการ โดยใช้ประแจขันน๊อตล็อคให้แน่น(ดูรูป)

จ. เมื่อตั้งระยะวาล์วทุกตัวเสร็จแล้วสอดแผ่นเกจวัดระยะดูอีกครั้ง เพื่อให้แน่ใจว่าตั้งระยะถูกต้อง แล้วจึงใส่ฝาครอบกระเดื่องวาล์วเป็นอันเสร็จเรื่องการตั้งระยะห่างวาล์ว

ฉ. ถ้าคู่มือเครื่องยนต์บอกว่าให้ตั้งระยะวาล์วเมื่อเครื่องยนต์ร้อนจงเดิ นเครื่องยนต์ถึงอุณหภูมิการท างานเพื่อให้เครื่องยนต์ร้อนเสียก่อน แล้วจึงหยุดเครื่องยนต์และตั้งวาล์วตามวิธีเช่นเดียวกันกับท่ีกล่าวข้างต้น

รูปภาพที่ 2.1.3ภาพการตั้งกระเดื่องกดวาล์ว

หน้า 5

Page 14: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

2.2 ทฤษฎีการถอดประกอบสายพานไทมิ่ง

ล าดับขั้นการปฏิบัติงาน

หน้า 6

Page 15: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

รูปท่ี 2.2.1 ภาพการประกอบสายพานไทมิ่ง

ตารางการประกอบสายพานไทมิ่ง

1. ถอดสายพานขับ 2. ถอดพูลเลย์ขับป๊ัมน้ า 3. ถอดพูลเลย์เพลาข้อเหวี่ยง

4. ใช้เครื่องมือพิเศษถอดพูลเลย์เพลาข้อเหวี่ยง

5. ถอดฝาครอบสายพานไทมิ่ง

หน้า 7

Page 16: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

6. ถอดตัวควบคุมกระแสหัวเผา

7. ถอดหัวเผา

8. ตั้งสูบ 1 ให้อยู่ที่ศูนย์ตายบนในจังหวะอัด 8.1 หมุนโบลท์พูลเลย์เพลาข้อเหวี่ยง 8.2 จัดต าแหน่งเครื่องหมายให้ตรงดังรูป

Page 17: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ตารางล าดับขั้นตอนการประกอบสายพานไทมิ่ง

9. ถอดสายพานไทมิ่ง 9.1 ใช้คีมถอดสปริง 9.2 คลายโบลท์ลูกกล้ิงกดสายพาน 9.3 ถอดสายพานไทมิ่ง

หน้า 8 หน้า 9

Page 18: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

1. ตั้งสูบ 1 ไว้ที่ศูนย์ตายนบนในจังหวะอัด จัดต าแหน่งเฟืองดังรูป

2. ประกอบสายพานไทมิ่ง 2.1 ประกอบสายพานเข้ากับเฟืองพูลเลย์เพลาข้อ เหวี่ยง 2.2. จัดเครื่องหมายองศาของเฟืองขับให้ตรงกับตัวเรือนปั๊มน้ ามันเครื่อง 2.3 ประกอบสายพานเข้ากับเฟืองขับป๊ัม

3. ประกอบสายพานไทมิ่งเข้ากับลูกกล้ิงและเฟืองไทมิ่งเพลาข้อเหวี่ยง

Page 19: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

4. ขันโบลท์ยึดลูกกล้ิงกดสายพาน แรงขัน 14 ฟุต-ปอนด ์

5. ประกอบหัวเผาและตัวควบคุมกระแส

6. ประกอบแผ่นบังคับสายพานไทมิ่ง

7. ประกอบฝาครอบสายพานไทมิ่ง

8. ประกอบพูลเลย์เพลาข้อเหวี่ยง

หน้า 10

Page 20: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

9. ใช้เครื่องมือพิเศษยึดพูลเลย์และขันโบลท ์ ค่าแรงขัน 101 ฟุต-ปอนด์

หน้า 11

Page 21: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน

3.1 การเร่ิมหาสาเหตุที่เคร่ืองยนต์สตาร์ทไม่ติด

รูปที3่.1ภาพเคื่องยนต ์

รายละเอียด คณะผู้จัดท าได้หาสาเหตุที่เครื่องยนต์เกิดการช ารุด หลังจากรู้สาเหตุคณะผู้จัดได้ท าการศึกษาข้อมูลและสืบค้นราคา สายพานไทมิ่ง และกระเดื่องกดวาล์ว และท าการตรวจเช็คอะไหร่ก่อน ว่าตรงตามท่ีต้องการหรือไม่ เมื่อได้อะไหร่ตามที่ต้องการก็ท าการเปล่ียนกระเดื่อกดวาล์ว และสายพานไทมิ่ง . 3.2 การใส่กระเดื่องกดวาล์ว

หน้า 12 หน้า 13

Page 22: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

รูปท่ี 3.2 การใส่กระเดื่องกดวาล์ว

รายละเอียด คณะผู้จัดท าได้ หาซ้ือกระเดื่องกดวาล์ว ของเครื่องยนต์ MITSUBISHI L200 จากนั้นเริ่มท าการใส่เข้ากับ แคมป์ชาฟ และท าการตั้งกระเดื่องกดวาล์ว วัดระยะห่างระห ว่างวาล์วและกระเดื่องกดวาล์วโดยการใช้ ฟิวเลอร์เกจ สอดตามขนาดที่ก าหนดให้พอดีไม่หลวมหรือแน่นจนเกินไปเพราะจะท าให้กิดเสียดังขณะติดเครื่องยน์ 3.3การติดตั้งสายพานไทมิ่ง

หน้า 14

Page 23: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

รูปท่ี 3.3 การตั้งสายพานไทมิ่ง

รายละเอียด ขั้นตอนการต้ังสายพานไทมิ่ง การใส่สายพาน

1. หมุน ให้มาร์กบนเฟืองตรงกับมาร์กบนเส้ือสูบ หรือตรงกับมาร์คที่เราท าไว้เองตอนต้น เพลาลูกเบี้ยวทั้ง 2 เพลา(ในเครื่องยนต์ DOHC)และเพลาข้อเหวี่ยงมาร์กต้องตรง

2. ใส่สายพาน ส าหรับสายพานเก่าใส่ให้ทิศทางเหมือนเดิมส าหรับสายพานใหม่ท่ีเป็นรุ่นเก่า จะมีทิศทางต้องใส่ให้ถูกทิศแต่สายพานรุ่นใหม่ใส่ด้านไหนก็ได้ จะให้ดีถ้าเครื่องยนต์ของเราหมุนซ้ายคือหมุนทวนเข็มนาฬิกาสายพานที่ใส่เข้าไปจะสามารถอ่านข้อความบนสายพานได้ เช่น 4PK920 (ยกตัวอย่างเฉยๆรหัสที่ให้เป็นรหัสของสายพานร่องวีไม่ใช่สายพานไทมิ่ง )ถ้า เครื่องยนต์หมุนขวา หรือตามเข็มนาฬิกาสายพานที่ใส่จะอ่านข้อความได้เป็น 029KP4 ข้อควรระวังคือสายพานห้ามหักสายพานเด็ดขาด การใส่สายพานจะต้องเช็คให้แน่ใจก่อนว่ามาร์ก เพลาข้อเหวี่ยงและเพลาลูกเบี้ยวทั้ง 2 เพลาตรงกับมาร์กบนตัวเส้ือสูบหรือไม่การ ใส่สายพานจะต้องให้ด้านที่ตรงข้ามกับรอกดันสายพานตึงท่ีสุด โดยที่มาร์กยังตรงอยู่ ฟันเฟืองบนสายพานจะลงร่องฟันเฟืองบนเพลาข้อเหวี่ยงและเพลาลูกเบี้ยวได้พอดีคล้องสายพานให้เหมือนเดิม 3. คลายน๊อตล๊อค ลอกดันสายพาน เพ่ือให้ดันสายพานให้ตึง 4. หมุน เฟืองเพลาข้อเหวี่ยงไปประมาณ 2 - 3 เฟือง เพื่อให้ด้านที่อยู่ตรงข้ามรอกดันสายพานตึงท่ีสุด จะสังเกตุเห็นว่ารอกดันสายพานขยับดันสายพานได้อีกนิดหนึ่ง สายพานจะตึงพอด ี5. ล๊อครอกดันสายพาน เพ่ือกันไม่ให้สายพานหย่อน 6. เช็คความถูกต้อง โดยการหมุมเพลาข้อเหวี่ยง 2 รอบ ถ้าหมุนไม่ไปแสดงว่ากระบอกสูบชนกับล้ิน ต้องตั้งมาร์กให้ตรงใหม่ เมื่อครบสองรอบก็หมุนให้มาร์กตัวใดตัวหนึ่งตรง 7. เช็คมาร์กที่เหลือทั้งหมดว่าตรงหรือไม่ เมื่อหมุนครบ 2 รอบ ถ้าไม่ตรงต้องตั้งมาร์กใหม่ ให้ตรง เพราะจะท าให้รถปัญญาอ่อน ก าลังตก สตาร์ทติดยาก ฯลฯ 8. ประกอบทุกอย่างเข้าคืน 9. ทดลองสตาร์ทเครื่อง เช็คเสียง ก าลัง เช็คทุกอย่าง

หน้า 15

Page 24: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

รูปท่ี 3.4 การตั้งมาร์คสายพานไทมิ่ง

Page 25: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

บทที่4

การทดสอบและสรุปผลการทดลอง

รูปท่ี 4.1 ภาพการทดสอบ

ผลการทดลองของเครื่องยนต์ดีเซล Missu L200 สรุปได้ว่าเครื่องยนต์สามารถสาตร์ทติด

ได้จริงแต่ไม่สามารถตาร์ทได้นาน กว่า 8 นาทีเพราะเครื่องยนต์ยังไม่ได้ติดตั้งหม้อน้ า จะท าให้เครื่องยนต์ร้อนเร็วกว่าเครื่องยนต์อ่ืน เนื่องจากไม่มีระบบระบายความร้อน จึงท าให้ไม่สามารติ ดเครื่องยนต์ได้นานเหมือนเครื่องท่ีมีระบบระบายความร้อน

หน้า 16

Page 26: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

บทที่ 5

สรปุผลโครงการ

5.1 สรุปผลการด าเนินงาน

5.1.1 สามารถซ่อมเครื่องยนต์ดีเซลให้กับรุ่นน้องน าไปเป็นส่ือการเรียนใน วิชาสาขาช่างยนต์ 5.1.2 สามารถบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ให้สามารถสตาร์ทติดได้และสามารถทดลองใช้เป็นส่ือการสอนได้จริง

5.1.3 ตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ในโรงเรียนว่าสามารถใช้งานได้จริง

5.2 ข้อเสนอแนะ 5.2.1 ควรจะใส่หม้อน้ าเพ่ือนให้สามารถระบายความร้อนเพื่อที่จะให้เครื่องยนต์สามารถสตาร์ทได้ เป็นเวลานาน 5.2.2 ควรจะหาอะไหล่บางจุดที่ยังไม่ครบมาใส่ให้ครบเพื่อให้เป็นส่ือการสอนที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

หน้า 17

Page 27: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

เอกสารอ้างอิง

1. http://www.st.ac.th/engin/piece.html 2. http://th.asiaonline.com/en/article?article=Rocker_arm 3. http://www.optraclub.com/board/forum_posts.asp?TID=16237&PN=1 4. http://www.rtc.ac.th/ktlearning/tm149/tm/COURSE/Page/worksheet.html

Page 28: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ภาคผนวก ก. รูปแสดงการด าเนินงาน

หน้า 18

Page 29: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

รูปภาพ การปฏิบัติงาน

หน้า 19

Page 30: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

รูปภาพ เคร่ืองยนต ์

หน้า 20

Page 31: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ภาคผนวก ข. ตาราง

หน้า 21

Page 32: โครงการ เครื่องยนต์ดีเซล€¦ · บทที่ 1. บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

ตารางปฏิบัติงาน ตารางท่ี ค.1 ตารางแผนงาน

ล าดับที ่

กิจกรรม

ช่วงเวลาการปฏิบัติงาน

เม.ย.(54) พ.ค.(54)

26 27 28 29 30 1 2 3 4 5 6 7 8

1 วางแผนโครงการ

2 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 3 ลงมือซ่อมเครื่องยนต์

4 ทดสอบเครื่องยนต ์

5 เก็บรวบรวมข้อมูล

6 จัดท ารายงานสรุปผล ตารางท่ี ค.2 ตารางงบประมาณ

ล าดับที ่ รายการ จ านวน ราคาต่อหน่วย (บาท) จ านวนเงิน (บาท)

1 สายพานไทมิ่ง 1 ชุด 420.00 420.00

2 กระเดื่องกดวาล์ว 1 ชุด 800.00 800.00

3 รีเลย์หัวเผา 1 ชุด 360.00 360.00

4 รูปเล่ม 1เล่ม 250.00 250.00

5 แผ่นพับ 50 ชุด 50.00 50.00

6 อ่ืน ๆ - 300.00 300.00 รวม 2,180.00

หน้า 22 หน้า 23