คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ ·...

27

Upload: others

Post on 06-Jul-2020

19 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !
Page 2: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

พระราชนิพนธ์แปล ในรัชกาลที่ ๖ (จากต้นฉบับของ วลิเลี่ยม เช็กเปียร ์

ชนใดไม่มีดนตรีกาล ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก อีกใครฟังดนตรีไม่เห็นเพราะ เขานั้นเหมาะคิดกบฎอัปลักษณ์ ฤๅอุบายเล่ห์ร้ายขมังนัก มโนหนักมืดมัวเหมือนราตรี อีกดวงใจย่อมด าสกปรก ราวนรกเช่นกล่าวมานี่ ไม่ควรใครไว้ใจในโลกนี้ เจ้าจงฟังดนตรีเถิดชื่นใจ

Page 3: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

Page 4: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ความหมายของสุนทรียศาสตร ์

ค าว่า "สุนทรียศาสตร์" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤตคือ "สุนทรียะ" (ความงาม, ความดี) และ "ศาสตร"์ (ความรู)้ ตรงกับค าในภาษาอังกฤษว่า aesthetics ซึ่งมีที่มาจากศัพท์ภาษากรีกโบราณ aisthētikós แปลว่า "การรับรู้"

สุนทรียศาสตร์ คือวิชาที่ว่าด้วยความซาบซึ้ง ในคุณค่าของความงาม ฉะนั้น วิชานี้จึงมีค่าหรือมีประโยชน์ต่ออารมณ์ ความรู้สึกภายในของความเป็นมนุษย์ เป็นการศึกษาเพ่ือสร้างรสนิยม (Taste) ในการพิจารณา และเลือกเสพ แต่สิ่งที่ดี ที่งาม ตลอดจนสามารถตัดสินค่าของความงามได้ในระดับหนึ่ง

Page 5: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

เจอค าถามปัญหาที่นักสุนทรียศาสตร์จะต้องค้นหาค าตอบ

อะไรคือสิ่งสวยงาม ?

เราจะตัดสินได้อย่างไรว่าอะไรงาม ?

เราใช้อะไรเป็นมาตรฐานในการตัดสินว่าอะไรงามหรือไม่งาม ?

Page 6: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

สุนทรียะและสุนทรียศาสตร์ Aesthetic หมายถึง ความนิยมความงามหรือความนิยมในความงาม เป็นอารมณ์ ความซาบซึ้งในคุณค่าของสิ่งงดงาม

Page 7: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ลักษณะของความงาม อัตนิยม /อัตวิสัย Subjectivism

ความงามขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเป็นผู้ตัดสิน อาจใช้ความรู้สึก

อัตนิยม /อัตวิสัย ความงามขึ้นอยู่กับความรู้สึกและอารมณ์ของผู้เสพ

Page 8: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ลักษณะของความงาม แบบปรนิยม /ประวิสัย Objectivism

ความงามที่ขึ้นอยู่กับบุคคลเป็นความงามแบบสัมบูรณ์

ปรนิยม /ประวิสัย มนุษย์จะต้องท าลายข้อจ ากัดของตน จึงจะสามารถเข้าถึงได้

ความงามเป็นลักษณะโลกแห่งมโนคติ Form

Page 9: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

เรียนรู้สัมผัสแห่งความงาม

การรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสเพื่อใหเ้กิดการเรียนรู้ซึ่งม ี๓ วิธ ีแบบโดยตั้งใจ (Intention or

Interesting) มีความสนใจและความตั้งใจที่จะมองเห็นโดยตรง แบบโดยไม่ตั้งใจ (Un – Intention or

Disinteresting) รับรู้ค่าความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติแบบไม่รู้ตัว แบบรสนิยม (Taste) เป็นความรู้สึก

ซาบซึ้งในคุณค่า สามารถเลือกในสิ่งที่ชอบเลือกสรรพคุณ ให้กับตนเองได้ มิใช่ความชอบตามกระแสนิยม

Page 10: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ลักษณะของความงาม แบบสัมพันธนิยม Relativism

ความงามเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสุนทรียวัตถ ุ

สัมพันธ์นิยม โดยมีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับอารมณ์

สถานที่ Space & Time) เวลา

Page 11: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ลักษณะของความงาม แบบธรรมนิยม Naturalism

ความงามเป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นจากการรังสรรค์จากธรรมชาติ

สิ่งที่เรียกว่า ศิลปะ ที่ยอมรับกันว่ามีความงาม ย่อมมาจากธรรมชาติ หรือสะท้องให้เห็นธรรมชาติมากที่สุด

ความงามตามธรรมชาติล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดลบันดาใจให้มนุษย์สร้างศิลปะขึ้นมา

Page 12: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

สุนทรียศาสตร์เชิงปรัชญา+เชิงพฤติกรรม

สุนทรียศาสตร์เชิงปรัชญา (Philosophical Aesthetics) เป็นการเรียนรู้โดยการสนทนา ถกเถียง บรรยาย อาศัยเรื่องความจริงที่สัมผัสได้ (Reality) ข้อเท็จจริงที่อธิบายได้ (Fact) และความจริงที่ไม่เปลี่ยนแปลง (Truth)

สุนทรียศาสตร์เชิงพฤติกรรม (Psychological Aesthetics) เป็นการปฏิบัติให้เกิดประสบการณ์สุนทรียะ เป็นการเรียนรู้ด้วยการฝึกฝน

Page 13: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

สุนทรียศาสตร์กับปรัชญาศิลปะ

การรับรู้ทางสุนทรียะมิได้เกิดจากผลงานศิลปะอย่างเดียว เพราะงานศิลปะเป็นผลจากสุนทรียะที่สร้างประสบการณ์สุนทรียะให้แก่เรา แต่ยังมีประสบการณ์สุนทรียะที่เกิดขึ้นเมื่อเราได้ไปสัมผัสรับรู้กับสิ่งอ่ืนๆ

นักปราชญ์ในแต่ละยุคแต่ละสมัยจะให้ความหมายของศิลปะแตกต่างกันไปจนเสมือนว่าศิลปะเป็นสิ่งที่เราไม่อาจจับความหมายที่แท้จริงได้ มีนักปราชญ์ที่ได้ให้ความหมายของศิลปะประกอบด้วย

Page 14: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ความหมายของ “ศิลปะ” Art

ศิลปะ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน ได้ให้ค าจ ากัดความ ศิลปะ เป็นค านาม หมายถึง ฝีมือ ฝีมือทางช่าง การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทือนใจให้เห็นเป็นเชิงประจักษ์

Page 15: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

อริสโตเติล ให้ทัศนะว่า ศิลปะ คือแบบจ าลองของสภาวะแห่งธรรมชาติและเป็นเสมือนกระจกเงาที่สะท้อนให้เห็นสภาวะธรรมชาติ ศิลปะมิใช่การถ่ายแบบรูปร่างภายนอกวัตถุเป็นการถ่ายแบบเนื้อแท้ภายในคือการเลียนแบบศิลปะ

เฮเกน ให้ทัศนะว่า ศิลปะ คือ สภาวะในห้วงลึกจิตใจส าแดงออกมาให้ปรากฏอยู่ในตัววัตถุซ่ึงจินตนาการทางศิลปะเป็นแรงผลักดัน ท าให้วัตถุธรรมดากลายเป็นศิลปวัตถุขึ้นมา

เฮเกน

อริสโตเติล

Page 16: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ให้ทัศนะ ศิลปะ คืออาการที่แสดงออกทางจินตนาการ เพื่อสนองความต้องการให้ส าเร็จ เช่นการเล่นของเด็กเป็นการแสดงออกทางจินตนาการ เมื่อพ้นวิสัยเด็กก็เลิกเล่นอย่างเด็ก แล้วหันมาสร้างความฝันแทนการเล่นใช้เวลาในการฝันโดยการสร้างสรรค์ศิลปะในการสร้างจิตส านึกกับจิตส านัก ซึ่งท างานร่วนกันกล่าวคือ ศิลปะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับความเพ้อฝันในภาวะแห่งสุนทรียภาพจะพบความกลมกลืนระหว่างความรู้สึกปกติและความรู้สึกซ่อนเร้นอยู่ภายในจิตใต้ส านึก

ซิกมันต ์ฟรอยด์

Page 17: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

คือศิลปะแห่งความงามเป็นศิลปะที่ตอบสนองความต้องการทางด้านจิตใจ และความรู้สึกนึกคิดที่ติดตราตรึงใจประทับใจ และสะเทือนใจแก่ผู้พบเห็น เป็นผลงานที่ถูกสร้างขึ้นจากสิ่งแวดล้อมและอารมณ์คุณค่าทางสุนทรียภาพ

วิจิตรศิลป์แบ่งออกเป็นแขนงต่างๆได้ ๓ แขนง

๑. ทัศนศิลป์ คือความงามจากรูปลักษณะ รับสัมผัสทางตาได้แก่ ประติมากรรม ภาพพิมพ์ หัตถกรรม และสถาปัตยกรรม

๒. โสตศิลป์ คือความงามได้จากการฟังและการอ่านรับสัมผัสทางหู ได้แก่ ดนตรี วรรณกรรม

๓. โสตทัศนศิลป์ คือความงามด้วยการแสดงมีการมองเห็นพร้อมกับได้ยินเสียง รับสัมผัสได้ทางตาและหู ได้แก่ นาฏกรรม ภาพยนตร์ โทรทัศน์

ประเภทศิลปะแบ่งเป็น ๒ ประเภท ๑. ประเภทวิจิตรศิลป์

Page 18: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

ฐานศาสตร์ทางการเห็น ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ เป็นต้น

ฐานศาสตร์ของการได้ยิน ว่าด้วยเรื่องของดนตรี การใช้เสียงอย่างมีระบบ เกี่ยวเนื่องกับตัวโน้ต

ฐานศาสตร์ของการเคลื่อนไหว ว่าด้วยเรื่องละครและการแสดงต่าง ๆ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวโดยใช้ความคิดและการสร้างสรรค ์

รูปแบบของการสร้างสรรค์งานศิลปะ แบ่ง 3 ฐาน

Page 19: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

คือศิลปะที่มุ่งประโยชน์ทางใช้สอยเป็นอันดับแรก แล้วจึงมุ่งน าเอาความงามด้านศิลปะเข้าไปช่วยตกแต่งให้งานที่ใช้สอยนั้นน่าดู น่าชม และน่าใช้สอยมากขึ้น

ประยุกต์ศิลป์แบ่งออกเป็นแขนงต่างๆได้ ๖ แขนง

สถาปัตยกรรม คือการออกแบบก่อสร้าง ด้านที่พักอาศัย

อุตสาหกรรมศิลป์ เป็นศิลปะที่สนองความต้องการในด้านความสุขสบาย เป็นการคิดค้นกรรมวิธีที่จะท าให้ผลผลิตที่มีประโยชน์ใช้สอย

มัณฑนศิลป์ คือศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการตกแต่งหรือเรียกว่าศิลปะการตกแต่ง

๒ ประเภทประยุกต์ศิลป์

Page 20: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

น้องนิ่ม”นศ.เจ้าของงานศิลปะ “พระพุทธรูปอุลตร้าแมน”

Page 21: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

หัตถกรรมศิลป์ คือศิลปะที่ท าด้วยมือเป็นส่วนใหญ่งานที่ท าจึงต่างกันตามความพอใจของผู้ท า

ศาสนศิลป์ คือศิลปะที่สร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาที่มีต่อค าสอนศาสนา เป็นงานศิลปะที่แสดงออกถึงความจงรักภักด ี

พาณิชย์ศิลป์ คือศิลปะการโฆษณาการจัดสถานที่เพ่ือแสดงสินค้าการตกแต่งห้างร้าน รวมถึงการถ่ายภาพเพื่อโฆษณาด้วย

Page 22: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

สุนทรียศาสตร์ในทัศนะพุทธปรัชญา

ความงามเชิงพุทธศาสนาแบ่งเป็น ๒ ระดับคือ.

ความงามเชิงรูปธรรม แบ่งได้ 3 ประเด็นคือ

ความงามของพุทธธรรม(หลักธรรมค าสอน เช่น อริยสัจ วิธีคิดแบบโยโสมนสิการ)

ความงามของมนุษย์ (ความงามทางรูปกายเช่น การแต่งผม แต่งตัว)

ความงามของสิ่งแวดล้อม (ความงามภายนอกตัวมนุษย์ เช่นป่าไม้ ทะเล)

ความงามเชิงนามธรรม เป็นความงามในคติภพหรืออุดมคติ เช่นชีวิตหลังความตาย นรก สวรรค์ ที่ใครท าดีก็จะถึงสวรรค์

Page 23: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

สุนทรียศาสตร์วรรณกรรมศาสนา

ความเชื่อทางศาสนาที่จะเชื่อมการแสดงภาพทางศาสนา ดุริยางค์ดนตรีอันเกี่ยวกับการบรรเลงเป็นท านองเพลงในพิธี วรรณคดีอันเกี่ยวด้วยถ้อยค าส าหรับสวดสดุดี และนาฎกรรมอันเกี่ยวกับการแสดงเรื่องราวบูชาเทพเจ้าในงานเทศกาล เหล่านี้เป็นศิลปะแต่เดิมมามีก าเนิดมาจากศาสนาทั้งสิ้นกล่าวจ าเพาะด้านวรรณคดีวรรณกรรม

Page 24: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

บทสวด บทอ้อนวอน บทสดุดี บทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ พระสูตรต่างๆ

คัมภีร์ของศาสนา ในพระไตรปิฏกซ่ึงแบ่งเป็น ๓ ภาค คือ วินัยปิฏก สุตตันตปิฏก อภิธรรมปิฏก

ประวัติศาสดาและสาวก ส าหรับพุทธศาสนาได้บันทึกประวัติศาสดา เช่น พระปฐมสมโพธิกถา มหาเวสสันดรชาดก มหาชาติค าหลวง กาพย์มหาชาติ เ

ค าสอนศาสนา วรรณกรรมที่เป็นค าสอนของพุทธศาสนาชาดกต่างๆ ไตรภูมิกถา ลิลิตพระลอ กามนิต วาสิฏฐี ใต้ร่มกาสาวพัสตร์ พุทธวิธีครองใจคน

วรรณกรรมแสดงความรุ่งเรืองของศาสนา ศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหง นางนพมาศ โคลงนิราศหริภุญไชย บุณโณวาทค าฉันท์

วรรณกรรมศาสนาแยกออกได้ ๕ ประเภท

Page 25: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

สุนทรียศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร

ความงามเป็นสิ่งเร้าที่ท าให้มนุษย์เกิดความรู้สึกพึงพอใจในด้านบวกจึงนับว่ามีประโยชน์หลายประการ

ส่งเสริมกระบวนการคิด การตัดสินความงามอย่างสมเหตุสมผล

ช่วยกล่อมเกลาให้เป็นผู้มีจิตใจอ่อนโยน มองโลกในแง่ดีอย่างมเีหตุผล

เสริมสร้างประสบการณ์เพื่อการด ารงอยู่อย่างสันติสุข

ส่งเสริมแนวทางแสวงหาความสุขต่างๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม

ส่งเสริมให้เห็นความส าคัญบูรณาการให้เห็นประโยชน์กับชีวิตประจ าวันด้วยเหตุผลและความรู้สึกที่สอดคล้องกัน

Page 26: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

สุนทรียศาสตร์มีประโยชน์ ต่อการด าเนินชีวิตทั้งทางร่างกายและจิตใจ ความงามเป็นสิ่งเร้าที่ท าให้มนุษย์เกิดความรู้สึกพึงพอใจ

Page 27: คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า€¦ · คนจะงาม งามน้ าใจ หรือ ใบหน้า !

จบการน าเสนอ