รายงานผลการวิจัย เรื่อง...

116
รายงานผลการวิจัย เรื่อง กรรมวิธีการผลิตผืนระนาดเอกของ นายสมศักดิ เทศทอง นางสาวนุตประวีณ์ เตชะดี รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พุทธศักราช 2556

Upload: others

Post on 04-Feb-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รายงานผลการวจิยั เร่ือง

    กรรมวธีิการผลติผนืระนาดเอกของ นายสมศักดิ์ เทศทอง

    นางสาวนุตประวณ์ี เตชะด ี

    รายงานฉบับนีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต

    สาขาวชิาดนตรีไทย ภาควชิาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์

    พทุธศักราช 2556

  • นุตประวณ์ี เตชะดี 2556 : กรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง สาขาวชิาดนตรีไทย ภาควชิาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์ อาจารยท่ี์ปรึกษาหลกั : ผูช่้วยศาสตราจารยภ์าคม บ ารุงสุข

    บทคดัย่อ

    การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาประวติัของนายสมศกัด์ิ เทศทอง (2) เพื่อศึกษาวสัดุ อุปกรณ์ ท่ีใชใ้นการผลิตผนืระนาดเอก (3) เพื่อศึกษากรรมวิธีการผลิตผืนระนาดเอกของนายสมศกัด์ิ เทศทอง ประชากรท่ีใช้ในคร้ังน้ี คือ ช่างผลิตผืนระนาดเอก กลุ่มตวัอย่างในการวิจยัคร้ังน้ี คือ นายสมศกัด์ิ เทศทอง โดยการใช้วิธีการสุ่มตวัอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เน่ืองจากนายสมศกัด์ิ เทศทอง เป็นช่างท าผนืระนาดท่ีใชว้ถีิภูมิปัญญาชาวบา้นเคร่ืองมือแบบโบราณเขา้มาใชใ้นการท าผืนระนาดท่ีมีคุณภาพและเอกลกัษณ์เป็นของตนเอง ผลการวิจยัพบว่า (1) ประวติัของนายสมศกัด์ิ เทศทอง จากการศึกษาพบว่า นายสมศกัด์ิ เทศทอง เป็นนกัดนตรีไทยท่ีไดรั้บการถ่ายทอดจาก นายจ ารุณ อบแสง (ปู่ ) ไดรั้บการสืบทอดการผลิตเคร่ืองดนตรีจาก นายเถลิง เหมประยรู และไดรั้บการสืบทอดการผลิตผืนระนาดมาจาก นายภานุฐตั อาจมงักร ทั้งยงัผลิตผนืระนาดออกมาเป็นเอกลกัษณ์ของตนเอง จนเป็นท่ียอมรับของนกัดนตรีไทยและน ามาประกอบอาชีพได ้(2) การศึกษาวสัดุ อุปกรณ์ ท่ีใชใ้นการผลิตผืนระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง จากการศึกษาพบวา่ วสัดุ อุปกรณ์ ท่ีใชใ้นการผลิตผืนระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง การเลือกไมท่ี้น ามาผลิตโดยเลือกจาก เสียง ผิวเน้ือไม ้ลายบนเน้ือไม ้และสีบนเน้ือไม ้(3) กรรมวิธีการผลิตผืนระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง จากการศึกษาพบวา่ ในขั้นตอนการผลิตผืนระนาดเอก จะมีเคร่ืองมือท่ีช่ือว่า ท่ีวดัระยะการเจาะรู ท าให้การวดัระยะห่างในการเจาะรูได้ความเท่ียงตรง และขอร่างไม ้ท าใหก้ารวดัสัดส่วนการไสหลงัมีความโคง้มนท่ีเท่าๆกนัทุกลูกและมีความประณีตเป็นอยา่งมาก ซ่ึงเป็นเอกลกัษณ์เฉพาะตวัของช่าง ตอ้งอาศยัฝีมือและความช านาญของผูผ้ลิต

  • กติตกิรรมประกาศ ในการท าวจิยัฉบบัน้ี จะไม่ส าเร็จลุล่วงไปไดห้ากปราศจากค าปรึกษา และแนะน าท่ีดียิง่ของผูช่้วยศาสตราจารยภ์าคม บ ารุงสุข ประธานกรรมการสอบการวจิยั ท่ีไดก้รุณาตรวจสอบแกไ้ขและใหค้ าแนะน าต่างๆ ในการท าวจิยัดว้ยความเมตตาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคุณ นายสมศกัด์ิ เทศทอง ท่ีท่านไดส้ละเวลามาใหค้วามรู้ ขอ้มูล และค าแนะน าต่างๆแก่ผูว้ิจยัดว้ยความเตม็ใจและดว้ยความเมตตาเป็นอยา่งยิง่ในตลอดระยะเวลาการเก็บขอ้มูลภาคสนาม อีกทั้งยงัให้การตอ้นรับดว้ยอธัยาศยัท่ีดียิง่ ขอขอบพระคุณ นายอธิวฒัน์ ธีรตนัดิพฒัน์ท่ีท่านไดใ้หข้อ้มูลแหล่งการศึกษางานวจิยั และไดแ้นะน าในเร่ืองของความรู้เบ้ืองตน้เก่ียวกบักรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอกในคร้ังน้ี ใหข้า้พเจา้เขา้ใจถึงการผลิตผนืระนาดเอกก่อนการลงภาคสนามเก็บขอ้มูล ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่และครอบครัว ท่ีเป็นก าลงัส าคญัท่ีคอยช่วยเหลือในการจดัท างานวจิยัในคร้ังน้ี ทั้งยงัเป็นก าลงัใจท่ีดีท่ีท าใหผู้ว้ิจยัประสบความส าเร็จไดม้าจนถึงทุกวนัน้ี ขอขอบคุณนายวนัเฉลิม ยิง่ยง ท่ีคอยเป็นผูช่้วยในการถ่ายภาพ การบนัทึกวดิีโอ จนงานวจิยัมีความสมบูรณ์ ตลอดระยะเวลาการเก็บภาคสนาม

    นางสาวนุตประวณ์ี เตชะดี 19 มีนาคม 2556

  • ค ำน ำ

    งานวจิยัคร้ังน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิา 01385491หลกัและระเบียบวธีิการวจิยัทางดนตรี ของสาขาวชิาดนตรีไทย ภาควชิาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2556 สอนโดยผูช่้วยศาสตราจารยภ์าคม บ ารุงสุข ซ่ึงเป็นผลการศึกษาจากการเก็บขอ้มูล การสัมภาษณ์ เร่ืองราวต่างๆท่ีเก่ียวขอ้งกบักรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง ทั้งน้ีเพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้เก่ียวกบั กรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง เพื่อเป็นวทิยาทานใหแ้ก่ผูท่ี้มีความสนใจในกรรมวธีิการผลิตผืนระนาดเอกสามารถศึกษาคน้ควา้และน าไปต่อยอดทางการศึกษาต่อๆไปได ้ ผูว้จิยัหวงัวา่งานวจิยัฉบบัน้ีคงเป็นประโยชน์แก่ผูท่ี้สนใจเป็นอยา่งมาก อีกทั้งยงัเป็นการสืบสานดนตรีไทย โดยเฉพาะในเร่ืองของเคร่ืองดนตรีไทย และด ารงศิลปะแขน่งน้ีไวไ้ม่ให้เลือนหายไป เพื่อใหค้งอยูคู่่กบัประเทศไทย หากมีขอ้ผดิพลาดประการใด ขา้พเจา้ตอ้งขออภยัมา ณ ท่ีน้ีดว้ย

    นางสาวนุตประวณ์ี เตชะดี นิสิตชั้นปีท่ี 3

    สาขาวชิาดนตรีไทย ภาควชิาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์

  • สารบัญ หน้า

    บทคดัยอ่ กิตติกรรมประกาศ ค าน า บทที ่1 บทน า

    ความเป็นมาและความส าคญัของโครงการ 1 วตัถุประสงคข์องการวจิยั / โครงการ 3

    ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ 4 ขอบเขตของการวจิยั / โครงการ 4 ระเบียบและวธีิการวจิยั 4 ระยะเวลาการท าโครงการ 4 นิยามศพัทเ์ฉพาะ 5

    บทที ่2 เอกสารและวรรณกรรมทีเ่กี่ยวข้อง 1. ความหมายของระนาดเอก 7 1.1 ความเป็นมาของระนาดเอก 9 1.2 ลกัษณะของผนืระนาดเอก 12 1.3 บทบาทของระนาดเอก 15 2. การผลิต 2.1 ความหมายของการผลิต 17 2.2 ไมท่ี้ใชท้ าผนืระนาดเอก 18 2.3 เชือกร้อยผนืระนาดเอก 23 2.4 ตะกัว่ถ่วงเสียง 24 2.5 วสัดุอุปกรณ์ในการผลิตผืนระนาดเอก 26 2.6 ขั้นตอนการผลิตผนืระนาดเอก 28 3. การสัมภาษณ์ 3.1 ความหมายของการสัมภาษณ์ 33 3.2 ขั้นตอนการสัมภาษณ์ 35

  • สารบัญ (ต่อ)

    หน้า 4. การสังเกต 43 4.1 ความหมายของการสังเกต 43 4.2 หลกัการสังเกต 45 5. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง 47 บทที ่3 วธีิการด าเนินงาน

    ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง 49 การคน้ควา้รวบรวมขอ้มูล 49 การเก็บขอ้มูลภาคสนาม 50 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั 50 วธีิการเก็บรวบรวมขอ้มูล 51 การวเิคราะห์ขอ้มูล 51

    บทที ่4 ผลการศึกษา 1. ประวติัช่างผูผ้ลิตผนืระนาดเอก 54 1.1 ประวติัส่วนตวัของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง 54 1.2 ประวติัการศึกษา 55 1.3 ประวติัการศึกษาทางดา้นดนตรี 55 1.4 ประวติัการท างาน 55 1.5 ประวติัดา้นการผติเคร่ืองดนตรี 56 2. วสัดุอุปกรณ์การผลิตผนืระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง 56 3. กรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง 68 ขั้นตอนท่ี 1 การเลือกไม ้ 70 ขั้นตอนท่ี 2 การไสหลงัลูกระนาด 71 ขั้นตอนท่ี 3 การเขา้กระสวนระนาดเอก 74 ขั้นตอนท่ี 4 การเจาะรูร้อยเชือก 76 ขั้นตอนท่ี 5 การควา้นทอ้งลูกระนาด 79

  • สารบัญ (ต่อ)

    หน้า ขั้นตอนท่ี 6 การลนไฟติดตะกัว่ 82 ขั้นตอนท่ี 7 การทากีวี ่ 83 ขั้นตอนท่ี 8 การร้อยเชือกผนืระนาดเอก 83 บทที ่5 สรุปผล อภิปราย ข้อเสนอแนะ สรุปผล 86 อภิปรายผล 91 ปัญหาและอุปสรรค 92 ขอ้ดีของการวจิยั 92 ขอ้เสียของการวจิยั 93 ขอ้เสนอแนะของงานวจิยั 93 บรรณานุกรม ภาคผนวก ก สถานท่ีผลิตผนืระนาดเอก 95

    ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ์ 99 ภาคผนวก ค ประวติัผูศึ้กษาวิจยั 102

  • สารบัญภาพ ภาพที ่ หน้า 1.ระนาดเอก 9 2.ผนืระนาดเอก 12 3.วงป่ีพาทยเ์คร่ืองใหญ่ 15 4.ไมไ้ผบ่ง 18 5.ไมชิ้งชนั 20 6.ไมพ้ะยงู 21 7.เชือกร้อยระนาดเอก 23 8.แผน่ตะกัว่ 24 9.นายสมศกัด์ิ เทศทอง 54 10.ท่อนไม ้ 57 11.เชือกร้อยผนืระนาดเอก 57 12.ตะกัว่ 58 13.กีวี ่ 58 14.กบไฟฟ้า 59 15.เคร่ืองขดักระดาษทราย 59 16.กระดาษทราย 60 17.เล่ือยวงเดือน 60 18.สวา่นไฟฟ้าขนาดเล็ก 61 19.สวา่นไฟฟ้าขนาดใหญ่ 61 20.เคร่ืองเจียร์ 62 21.ไมบ้รรทดักระสวน 62 22.ฉากเหล็ก 63 23.แท่นปากกา 63 24.ตลบัเมตร 64 25.ไมบ้รรทดั 64 26.ท่ีวดัระยะห่างการเจาะรู 65

  • สารบัญภาพ (ต่อ)

    ภาพที ่ หน้า 27.ตะปู 65 28.ปากกา 66 29.ส่ิว 66 30.คอ้นไม ้ 67 31.มีดจกัตอก 67 32.ขอร่างไม ้ 68 33.ท่อนไมก่้อนผา่เป็นท่อนๆ 69 34.ท่อนไมท่ี้ผา่แบ่งเป็นท่อนๆ 69 35.การคดัเลือกไม ้ 70 36.การไสเรียบเพื่อเปิดหนา้ไม ้ 70 37.การใชไ้มขี้ดเส้นขีดเพื่อท าการไสหลงั 71 38.การไสหลงัลูกระนาด 72 39.การขดัลูกระนาดดว้ยเคร่ืองเจียร์ 72 40.การขดัลูกระนาดดว้ยเคร่ืองขดักระดาษทราย 73 41.ลูกระนาดท่ีท าการไสหลงัและขดัผวิ 73 42.การวดัความยาวลูกระนาดเอก 74 43.การใชไ้มบ้รรทดักระสวนวดัผนืระนาด 75 44.การตดัหวั ตดัทา้ยลูกระนาด 75 45.การตรวจเช็คความยาวของผนืระนาด 76 46.การใชไ้มฉ้ากเหล็กวดัระยะห่าง 76 47.การวดัระยะห่างการเจาะรู 77 48.การใชต้ะปูตอกน าล่อง 77 49.การใชส้วา่นใหญ่เจาะรูดา้นล่าง 78 50.การใชส้วา่นเล็กเจาะรูดา้นบน 78 51.การวดัสัดส่วนส าหรับบากทอ้งลูกระนาด (1) 79

  • สารบัญภาพ (ต่อ)

    ภาพที ่ หน้า 52.การวดัสัดส่วนส าหรับบากทอ้งลูกระนาด (2) 79 53.การใชก้ระสวนวดัลากเส้น 80 54.การใชส่ิ้วบากทอ้งลูกระนาด 80 55.การใชเ้คร่ืองเจียร์แต่งทอ้งลูกระนาด 81 56.การใชมี้ดจกัตอกแต่งส่วนทอ้งลูกระนาด 81 57.การใชมี้ดจกัตอกแต่งส่วนทอ้งลูกระนาด 82 58.การทากีวี ่ 83 59.การร้อยเชือกผืนระนาดเอก 84 60.ผนืระนาดเอกท่ีเสร็จสมบูรณ์เม่ือแขวนบนรางระนาดเอก 84 61.ผนืระนาดเอกท่ีเสร็จสมบูรณ์เม่ือแขวนบนรางระนาดเอก (ดา้นขา้ง) 85 62.สถานท่ีแขวนผนืระนาด 96 63.สถานท่ีผลิตผนืระนาดเอกของ นายสมศกัด์ิ เทศทอง 96 64.โรงเก็บไม ้(1) 97 65.โรงเก็บไม ้(2) 97

  • บทที ่1 บทน ำ

    ควำมเป็นมำและควำมส ำคญัของโครงกำร ระนาดน่าจะเป็นเคร่ืองนตรีท่ีมีข้ึนในสมยัอยุธยา โดยน าเอากรับมาปรับปรุงให้มีขนาดลดหลัน่กนั สามารถน ามาตีให้เกิดเป็นท านองได้ มีขอ้สังเกตว่าแต่เดิมระนาดนั้นท ามาจากไมไ้ผ่ประเภทไมไ้ผ่บง ต่อมาจึงเปล่ียนเป็นไมเ้น้ือแข็งจ าพวกไมชิ้งชนั ไมม้ะหาด ไม้พะยูง เพื่อให้เกิดเสียงดงัตีง่ายข้ึนกวา่ไมไ้ผ ่ส าหรับตน้ก าเนิดระนาดเอก สมเด็จฯกรมพระยาด ารงราชานุภาพ (2464 : 19) ไดท้รงตั้งขอ้วฉิยัไวว้า่

    “เหตุท่ีเกิดระนาดนั้น เห็นจะมาแต่กระบอกเพลงของชาวป่า คือ ตกัระบอกไมไ้ผ่ไวข้า้งหน่ึงเอากระทุง้กบัแผ่นดินให้เกิดเสียงกอ้งออกมาจากกระบอก กระบอกขนาดยาวสั้นต่างกนั เสียงท่ีกอ้งก็สูงต ่าผิดกนั พวกชาวป่ามี ข่า เป็นตน้ รู้เคา้ว่าตดักระบอกอย่างให้ก้องเป็นเสียงได้ ก็เกิดกระบอกเพลงข้ึน ใช้กระบอกเพลงหลายๆอนักระทุง้ตามจงัหวะให้เกิดเป็นเพลงล าน า จึงมีช่ือเรียกกนัวา่ “เพลงกระบอก” ต่อมามีผูคิ้ดท ากระบอกเพลงให้เป็นเสียงต่างกนัไดด้ว้ยกระบวนเหลาไมก้ระบอกให้หนาและบางผิดกนั จึงอาจท ากระบอกเพลงให้เบาและไพเราะข้ึน อย่างกระบอกเพลงท่ีพวกชวาเรียกว่า อุงคลุง หรือ องักะลุง (Angklung) คือใช้กระบอกย่อมๆเรียงกนัราวละสองสามกระบอก ถือราวไกวด้วยมือให้กระบอกกระทบกนักอ้งเป็นเสียงต่างๆ มาอีกขั้นหน่ึงจึงเกิดความคิดตดัไมไ้ผม่าเหลาเป็นซีก แลว้ร้อยเชือกหรือวางเรียงบนราง ใชร้างเป็นเคร่ืองให้เกิดกอ้ง และถ่วงซีกระนาดว้ยตะกัว่ผสมข้ีผึ้งไดค้รบ 7 เสียง อยา่งเช่น ฆอ้งวงไม ้16 อนัก็อาจจะตีให้เกิดเสียงต่างๆจะท าเป็นล าน าได”้

  • 2

    ระนาดจดัเป็นเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองตี ผลิตข้ึนจากวสัดุท่ีมีอยูใ่นธรรมชาติ ธนิต อยูโ่พธ์ิ (2510 : 16) กล่าวไวว้า่

    “ระนาด เป็นค าไทยแผลงหรือยึดเสียงมาจากค าวา่ ราด เช่นเดียวกบัค าวา่ เรียด แผลงเป็น ระเนียด, ราว เป็น ระราว, ราบ เป็นระนาบ และราด เป็นระนาด ยงัมีค าพูดกนัมาจนติปากว่า ป่ีพาทย ์ราด ตะโพน แสดงวา่แต่ก่อนค าน้ียงัมิไดย้ึดเสียงและถ้ายึดเสียง หรือแผลงตามวิธีข้างต้นก็อาจพูดได้ว่า ป่ีพาทย์ ระนาด ตะโพน ค าวา่ ราด ก็หมายความวา่วางเรียง แผอ่อกไป ท าใหก้ระจายออกไป”

    เคร่ืองดนตรีทุกชนิดประกอบดว้ยส่วนประกอบหลกัเพียง 2 ส่วน คือ ตวัก าเนิดเสียง

    (generator) ตวัก าธรเสียง (resontor) เอกสิทธ์ิ สุนิมิตร (2549 : 23) ไดก้ล่าวไวว้า่

    “ส่วนประกอบท่ีส าคญัของระนาดเอกคือ ผืนระนาด ซ่ึงเป็นตวัก าเนิดเสียง ผืนระนาดก็คือ การน าลูกระนาดท่ีมีขนาดต่างๆกนัตั้งแต่ลูกใหญ่สุดเรียงไปจนถึงลูกเล็กสุด เจาะรูร้อยเชือกเข้าไวเ้ป็นแผ่นเดียวกัน ตามหลักการผลิตลกระนาด ธรรมดาจะใชไ้มซ่ึ้งมีอยูใ่นบา้นเรามาท า แต่สมยัโบราณมานั้นนิยมใชไ้ม้ไผ่บงน ามาเหลาเป็นลูกระนาด เช่น ผืนระนาดเอกท่ีมีช่ือว่า “จ าปา” ของท่านครูหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ระนาดไมไ้ผ่บงนั้นมีอายยืนยาวหลายสิบปี บางผนือยูถึ่งเกือบร้อยปี แต่ก็อยูท่ี่การดูแลรักษาดว้ย” จากการศึกษาคน้ควา้ขอ้มูล ผูว้จิยัไดศึ้กแนวทางการวจิยัเก่ียวกบักรรมวธีิการผลิตผืน

    ระนาดเอก ผูว้จิยัไดร้วบรวมขอ้มูลท่ีเก่ียวกบักรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอก มีดงัน้ี 1.อารีรัตน์ สวรรยาวิจิตร (2540 : 18) ไดท้ าการวิจยัเร่ืองความเช่ือในการน าไมม้าสร้างผืน

    ระนาด จากการวจิยัพบวา่ ในการน าไมช้นิดต่างๆมาสร้างเคร่ืองดนตรี จะมีความเช่ือในเร่ืองช่ือของพนัธ์ไมท่ี้น ามาสร้าง โดยถือวา่เป็นส่ิงท่ีเป็นมงคลศกัด์ิสิทธ์ิในการสร้างผืนระนาด การใชไ้มม้ะหาดและพะยูงเป็นเร่ืองความเช่ือ แต่ไมท้ั้ งสองชนิดน้ีมีความเหมาะสมในการสร้างพอสมควร ทั้งน้ีข้ึนอยูก่บัช่างท่ีเหลาไมว้า่มีความช านาญมากนอ้ยเพียงใด

  • 3

    2.ชนนี มุลนี (2556 : 81) ไดท้ าการวิจยัเร่ือง ศึกษากรรมวิธีการผลิตผืนระนาดเอกของช่างมานพ อยูส่วสัด์ิ จาการวิจยัพบวา่ ในขั้นตอนการผลิตผืนระนาดเอก มีการน าเอาทางมะพร้าวมาใช้ในการวดัความยาวแทนไมบ้รรทดั ท าให้การวดัลูกระนาดมีความเท่ียงตรงมีความประณีตเป็นอยา่งมาก ซ่ึงเป็นเอกลกัษณ์เฉพาะตวัของช่าง ตอ้งอาศยัฝีมือและความช านาญของผูผ้ลิต

    3.พสธร จนัทร์สอาด (2555 : 7) ไดท้ าการวิจยัเร่ือง กรรมวิธีการผลิตผืนระนาดทุม้ของนาย

    แสวง ป่ินช้าง จากการวิจยัพบว่ากรรมวิธีการผลิตผืนระนาดทุม้ ผืนระนาดท่ีผลตออกมาแต่ละผืนนั้นมีคุณภาพท่ีเป็นท่ียอมรับของนกัดนตรีไทยทัว่ไป เน่ืองจากผืนระนาดของนายแสวง ป่ินชา้ง นั้นมีความสวยงาม มีคุณภาพ เสียงดี ดงักงัวาน และมีความประณีตในการท าอยา่งมาก

    4.เมธีพล ขาวบาง (2541 : 3) ไดท้ าวิจยัเร่ือง การผลิตผืนระนาดทุม้ของช่างสมชยั ช าพาลี

    จากการวจิยัพบวา่ ไมท่ี้ใชท้ าผนืระนาดทุม้ของช่างสมชยั ช าพาลี นั้นมีหลายชนิด เช่น ไมไ้ผบ่งหรือไมไ้ผต่ง ไมชิ้งชนั ไมม้ะหาด แต่ในกรณีน้ี ทางช่างสมชยั ช าพาลี ไดท้ าการผลิตผืนระนาดทุม้โดยใชไ้มป้ระดู่ส้ม

    ขา้พเจา้มีความประสงคท่ี์จะศึกษากรรมวิธีการผลิตผืนระนาดเอกของนายสมศกัด์ิ เทศทอง ซ่ึงผนืระนาดเอกน้ีเป็นส่วนหน่ึงของเคร่ืองดนตรีไทยท่ีมีช่ือวา่ “ระนาดเอก” ขา้พเจา้เลือกหวัขอ้การท าวจิยัน้ี เน่ืองจากขา้พเจา้มีความสนใจในกรรมวิธีการผลิตผืนระนาดเอกของนายสมศกัด์ิ เทศทอง และเน่ืองจากปัจจุบนัมีขอ้มูลเก่ียวกบักรรมวิธีการผลิตผืนระนาดเอกน้อย ขา้พเจา้จึงเลือกศึกษาวิธีการผลิตผืนระนาดเอก เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่วิธีการผลิตเคร่ืองดนตรีไทยและเป็นหลกัฐานทางการศึกษาต่อไป

    วตัถุประสงค์ของกำรวจิัย / โครงกำร

    1.เพื่อศึกษาประวติัของนายสมศกัด์ิ เทศทอง 2.เพื่อศึกษาวสัดุ อุปกรณ์ ท่ีใชใ้นการผลิตผนืระนาดเอก

    3.เพื่อศึกษากรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอกของนายสมศกัด์ิ เทศทอง

  • 4

    ประโยชน์ทีค่ำดว่ำจะได้รับ

    1.ไดข้อ้มูลประวติัของนายสมศกัด์ิ เทศทอง 2.ไดข้อ้มูลวสัดุ อุปกรณ์ ท่ีใชใ้นการผลิตผนืระนาดเอก

    3.ไดก้รรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอกของนายสมศกัด์ิ เทศทอง

    ขอบเขตของกำรวจิัย / โครงกำร การศึกษาคน้ควา้ในคร้ังน้ีศึกษาเฉพาะกรรมวธีิการผลิตผืนระนาดเอกของนายสมศกัด์ิ เทศทอง โดยเร่ิมจากขั้นตอนแรกของการผลิตจนถึงขั้นตอนสุดทา้ยของการผลิตผืนระนาดเอกจนเสร็จสมบูรณ์

    ระเบียบและวธิีกำรวจิัย 1.คน้ควา้รวบรวมขอ้มูลท่ีเก่ียวกบักรรมวธีิการผลิตผนืระนาดเอก 2.เก็บขอ้มูลภาคสนาม 3.เรียบเรียงขอ้มูล 4.วเิคราะห์ขอ้มูล 5.สรุปขอ้มูล

    ระยะเวลำกำรท ำโครงกำร ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2556 – เดือนกุมภาพนัธ์ 2557

  • 5

    นิยำมศัพท์เฉพำะ การไสเรียบ คือ การกบไสบรรทดัมาเหลาไมท่ี้เตรียมไวส้ าหรับท าลูกระนาดใหมี้ความเรียบเท่าๆกนัในทุกดา้นก่อนจะน าไปท าในขั้นตอนต่อไป การไสหลงัลูกระนาด คือ การน ากบไสบรรทดัมาเหลาไมท่ี้เตรียมไวส้ าหรับท าลูกระนาดใหมี้ความเรียบเท่าๆกนัในทุกดา้นก่อนจะน าไปท าในขั้นตอนต่อไป ไมก้ระสวน คือ ไมท่ี้ใชใ้นการวดัรูปหรือเป็นแม่แบบของผนืระนาด

  • บทที ่2 เอกสารและวรรณกรรมที่เกีย่วข้อง

    การศึกษากรรมวธีิการผลิตผืนระนาดเอกของนายสมศกัด์ิ เทศทอง ไดศึ้กษาเอกสารท่ีเก่ียวขอ้งเพื่อใชเ้ป็นแนวทางในการวจิยั ดงัน้ี 1. ความหมายของระนาดเอก 1.1 ความเป็นมาของระนาดเอก 1.2 ลกัษณะของผนืระนาดเอก 1.3 บทบาทของระนาดเอก 2. การผลิต 2.1 ความหมายของการผลิต 2.2 ไมท่ี้ใชท้ าผนืระนาดเอก 2.3 เชือกร้อยผนืระนาดเอก 2.4 ตะกัว่ถ่วงเสียง 2.5 วสัดุอุปกรณ์ในการผลิตผืนระนาดเอก 2.6 ขั้นตอนการผลิตผนืระนาดเอก 3. การสัมภาษณ์ 3.1 ความหมายของการสัมภาษณ์ 3.2 ขั้นตอนการสัมภาษณ์ 4. การสังเกต 4.1 ความหมายของการสังเกต 4.2 หลกัการสังเกต 5. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง

  • 7

    1.ความหมายของระนาดเอก ระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีความหมายท่ีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ข้อมูลเก่ียวกับความหมายของระนาดเอกไว ้ดงัน้ี ธนิต อยูโ่พธ์ิ ( 2510 : 16 ) ไดใ้หค้วามหมายของระนาดเอกไวว้า่

    “ระนาดจดัเป็นเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองตี ผลิตข้ึนจากวสัดุท่ีมีอยูใ่นธรรมชาติ ไมไ้ผแ่ละไมเ้น้ือแขง็ ค าวา่ “ระนาด” นั้นเป็นค าไทยแผลงหรือยดืเสียงมาจากค าวา่ “ราด” เช่นเดียวกบัค าว่า เรียด แผลงเป็น ระเนียด, ราว เป็น ระนาว, ราบ เป็น ระนาบ และราด เป็น ระนาด ยงัมีค าพูดกันมาจนติดปากว่า “ป่ีพาทย์ ราด ตะโพน” แสดงว่าแต่ก่อนค าน้ียงัมิได้ยืดเสียงและถ้ายืดเสียง หรือแผลงตามวิธีขา้งบนก็อาจพูดไดว้า่ “ป่ีพาทย ์ระนาด ตะโพน” ค าว่า “ราด” ก็หมายความว่าวางเรียงแผอ่อกไป ท าใหก้ระจายออกไป”

    สงบศึก ธรรมวหิาร ( 2545 : 157 ) ไดใ้หค้วามหมายของระนาดเอกไวว้า่

    “เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีวิวฒันาการมาจากกรับ โดยประดิษฐ์ไมก้รับให้มีขนาดลดหลัน่กนั เจาะรูร้อยเชือกแลว้น าไปแขวนบนรางไม ้เพื่อช่วยอุม้เสียงให้เกิดความไพเราะ ลกัษณะของระนาดค่อยเปล่ียนแปลงข้ึนเร่ือยๆ มีเสียงไพเราะยิ่งข้ึนจนถือวา่เป็นเสียงมาตรฐานในวงดนตรีไทย ระนาดรางหน่ึงจะมี 21 ลูก ค าวา่ระนาดเป็นค าไทย แผลงมาจากค าว่า “ราด” หมายถึง การวางเรียงแผ่ออกไป นับเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีส าคญัของวงป่ีพาทยไ์ทย ท าหนา้ท่ีแปลลูกฆอ้งให้เป็นท านองเต็ม มีกลเม็ดสลับซับซ้อน มีเก็บ สบดั ขยี้ ฯลฯ ผูเ้ล่นจะต้องมีความสามารถ มีความช านาญ เพราะระนาดเอกมีเสียงเด่น และเป็นเสียงน าในวงป่ีพาทย”์

  • 8

    รองศาสตราจารย ์ดร.เฉลิมศกัด์ิ พิกุลศรี (2548:13) ไดใ้ห้ความหมายของระนาดเอกไวว้่า “เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีการวิวฒันาการมาจากกรับ โดยการน าเอากรับท่ีมีขนาดเล็กบา้ง ใหญ่บา้ง สั้ นบา้ง ยาวบา้ง น ามารวมกนัเป็นชุด จึงทีระดบัเสียงท่ีแตกต่างกนั ระนาดเอกน้ีรักดนตรีนิยมเรียกสั้นๆวา่ “ระนาด” ส่วนประกอบของระนาดเอก มีอยู ่3 ส่วนใหญ่ๆคือ ราง ผนื และไมตี้” อษัฎาวุธ สาคริก ( 2550 : 54 ) ไดใ้ห้ความหมายของระนาดเอกไวว้า่ “เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีพฒันามาจากการน าไมก้รับหรือหินขนาดต่างๆกนัมาวางเรียงแล้ว กระทบ เคาะ ตี ให้เกิดเสียง ต่อมาจึงสร้างกล่องข้ึนรองรับ เพื่อใหเ้กิดเสียงท่ีกงัวานไพเราะยิง่ข้ึน” พงษศิ์ลป์ อรุณรัตน์ ( 2554 : 63 ) ไดใ้หค้วามหมายของระนาดเอกไวว้า่

    “ระนาดนั้นมีการสันนิษฐานว่า “ราด” เพราะมีค าท่ีพูดกนัติดปากเรียกวงดนตรีส าหรับการประโคมว่า “ป่ีพาทย์ ราก ตะโพน” ซ่ึงหมายถึงวงป่ีพาทย์ท่ีประกอบดว้ยป่ี ส่วนค าวา่พาทยน์ั้นตามความหมายของภาษาค าเมืองทางภาคเหนือของไทยและภาษาพม่า หมายถึง วงดนตรี ส่วนค าว่าราดนั้นน่าจะเป็นระนาด ตะโพนก็คือกลองดังท่ีกล่าวไวแ้ล้ว ค าน้ีจึงหมายถึง วงดนตรีประเภทป่ีพาทย์นั้นเอง”

    “ระนาดน่าจะเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีข้ึนในสมยัอยุธยา โดยน าเอากรับมา

    ปรับปรุงใหมี้ขนาดลดหลัน่กนัสมมารถน ามาตีให้เกิดเป็นท านองได ้มีขอ้สังเกตวา่แต่เดิมผืนระนาดนั้นท ามาจากไมไ้ผ ่และเภทไมไ้ผ่บง ต่อมาจึงเปล่ียนเป็นไมเ้น้ือแขง็จ าพวกไมชิ้งชนั ไมม้ะหาด ไมพ้ะยงู เพื่อให้เสียงดงัและตีง่ายข้ึนกวา่ไมไ้ผ”่

    จากความหมายของนกัวิชาการท่ีไดก้ล่าวมาขา้งตน้ พอสรุปไดว้่า ระนาดเอก เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีวิวฒันาการมาจาก กรับ น ามาวางเรียงกนัโดยมีขนาดท่ีแตกต่างกนัออกไป ในสมยัก่อนระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีความนิยมเป็นอยา่งมาก เน่ืองจากวสัดุท่ีน ามาท าระนาดนั้นท าข้ึนจากไมไ้ผ ่เป็นวสัดุท่ีหาง่าย ในปัจจุบนันิยมใชไ้มเ้น้ือแข็งผลิตระนาดเพราะมีความคงทน ไม่สึกกร่อนง่าย อีกทั้งระนาดเอกยงัมีบทบาทท่ีส าคญัในการเป็นผูน้ าวงดนตรีไทย เช่น วงป่ีพาทยเ์คร่ืองห้า วงป่ีพาทยเ์คร่ืองคู่ วงป่ีพาทยเ์คร่ืองใหญ่ วงป่ีพาทยน์างหงส์ วงมโหรี รวมทั้งการน าเอาระนาเอกเขา้ไปร่วมบรรเลงกบัวงดนตรีร่วมสมยัอยา่งแพร่หลาย

  • 9

    1.1 ความเป็นมาของระนาดเอก ระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีประวติัของการเกิดเคร่ืองดนตรีชนิดน้ี ซ่ึงมีนกัวชิาการหลายท่านไดใ้หข้อ้มูลเก่ียวกบัระนาดเอกไว ้ดงัน้ี

    ภาพท่ี 1 ระนาดเอก (http://www.xetamall.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94

    %E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81-11737.html เขา้ถึงวนัท่ี 18 ธนัวาคม 2556) ปัญญา รุ่งเรือง ( 2517 : 26 ) ไดก้ล่าวถึงความเป็นมาของระนาดเอกไวว้า่

    “ส าหรับวิวฒันาการของระนาดไทยนั้น พอจะคน้เร่ืองราวจากหลกัฐานตามศิลาจารึก และจากหนงัสือท่ีเขียนข้ึนจากในสมยัต่างๆเช่น ในสมยัสุโขทยัจะมีค าวา่ “ตีพาทย”์ ปรากฏอยู่ในศิลาจารึก มีผูรู้้ไดอ้ธิบายความหมายของค าน้ีไวว้า่ ตีพาทย ์คือ บรรเลงพาทย ์ค าว่าพาทย์หรือวาทย์น้ี หมายถึง เคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองตีและเคร่ืองเป่าประกอบกนัเช่น ในวงป่ีพาทยเ์คร่ืองห้าประกอบดว้ย ป่ี ฆอ้ง กลอง ตะโพน และฉ่ิง (วงป่ีพาทยเ์คร่ืองห้าแบบน้ี เป็นวงเคร่ืองห้าแทท่ี้บรรเลงกนัสมยัสุโขทยั คือ ไม่มีระนาด) ดงันั้นค าว่าตีพาทยใ์นจารึกน้ีตอ้งหมายถึงเคร่ืองตีเคร่ืองเป่า ค าว่าพาทยใ์นท่ีน้ีจะหมายถึง ระนาดได้หรือไม่ ไม่ทราบ แต่เขา้ใจว่าระนาดน่าจะมีใชแ้ลว้”

    http://www.xetamall.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81-11737.html%20เข้าถึงhttp://www.xetamall.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81-11737.html%20เข้าถึง

  • 10

    “อย่างไรก็ตาม ยงัมีหลกัฐานจากหลกัฐานจากหลกัศิลาจารึก ท่ีไดม้าจากวดัชา้งลอ้ม อ าเภอเมืองจงัหวดัสุโขทยั เม่ือ พ.ศ.1927 มีขอ้ความวา่ “พาทคู่น่ิงให้ขาสองเรือนตีบ าเรอแกพระเจ๋า คองสองอนน กลองสามอนน ตแรสงงขเขาควาย แตงใหไว ถวายแกพระเจ๋า...........................” ซ่ึงอ่านเป็นภาษาปัจจุบนัไดว้า่มีการถวาย พาทยคู์่หน่ึง ให้ขา้สองเรือนตีบ าเรอแก่พระเจา้ ฆอ้งสองอนั กลองสามอนั แตร สังข ์เขาควาย แต่งใหไ้วถ้วายแก่พระเจา้..........................น่ีแหละครับ ขอ้ความตอนน้ีแสดงชัดทีเดียวว่า “พาทย์” กับ “ฆ้อง” เป็นเคร่ืองดนตรีคนละส่ิง และ “พาทย”์ ก็คือ “ระนาด” นัน่เอง ในสมยัเดียวกนัน้ีไดมี้การน าเคร่ืองมารวมกนัเป็นวง”

    มนตรี ตราโมท ( 2528 : 55 ) ไดก้ล่าวถึงความเป็นมาของระนาดเอกไวว้า่

    “ตามประวติัศาสตร์เช่ือถือกนัวา่ สืบเน่ืองมาจากอู่ทองและ สืบเน่ืองมาจากทวาราวดี ดว้ยทวาราวดีนั้นนกัประวติัศาสตร์ก็กล่าวว่า ชาวเมืองพูดภาษามอญมีวฒันธรรมอย่างมอญ โดยมากมอญนั้นเคร่ืองดนตรีเขามีระนาดอยู่ ไทยอาจจะได้ระนาดมาตั้งแต่สมยัอู่ทอง และมาอยู่ในอยุธยา ยงัไม่ไดร้วมกบัสุโขทยัก็ได ้คร้ันเม่ือสุโขทยัมาข้ึนอยูก่บัอยุธยาวงป่ีพาทยก์็ไดส้ัมพนัธ์กนัเขา้ใจวา่ในตอนน้ีเองท่ีท าให้ป่ีพาทยส์มยัอยุธยาเกิดมีระนาดข้ึนเป็นเคร่ืองห้าอย่างท่ีเราปฏิบติักนัอยู่ในสมยัน้ี”

    สุจิตต ์วงษเ์ทศ ( 2532 : 97 ) ไดก้ล่าวถึงความเป็นมาของระนาดเอกไวว้า่

    “ระนาดมีการพฒันาการมาจากกระบอกไมไ้ผใ่นตระกูล “เกราะ – โกร่ง – กรับ” ระนาดยุดแรกเร่ิมตั้งแต่คร้ังดึกด าบรรพ์นั้ นจะมีกระบอกไม้ไผ่คล้ายลูกระนาดวางเรียงเพียง 2-3 กระบอกเท่านั้น คนตีระนาดตอ้งนัง่เหยียดขาทอดยาวลงกบัพื้นดิน แลว้เอากระบอกระนาดวางพาดบนขาทั้งสองขา้ง บางคร้ังขุดหลุมดินท่ีหวา่งขาเพื่อใหมี้เสียงกอ้งดงัมากข้ึนเม่ือใชไ้มตี้”

  • 11

    สิริรัตน์ ประพฒัน์ทอง( 2542 : 57-58 ) ไดก้ล่าวถึงความเป็นมาของระนาดเอกไวว้า่ “เคร่ืองดนตรีท่ีสร้างจากไม ้เป็นเร่ืองไม่สามารถหาหลกัฐานยนืยนัไดเ้น่ืองจากเป็นวตัถุท่ีเส่ือมสลายไปตามกาลเวลา แต่เราพบการใชอ้ยา่งต่อเน่ือง จากรายงานทางประวติัศาสตร์ ท่ีพบวา่มีเคร่ืองดนตรีท่ีสร้างจากไมอ้ยูท่ ัว่เอเชียตะวนัออกเฉียงใต”้

    “จากการศึกษาทางประวติัศาสตร์ พบว่ามนุษยใ์นยุคก่อนประวติัศาสตร์เม่ือ 7,000 ปี มาแลว้นั้น ไดน้ าหินมาท าเป็นเคร่ืองดนตรีชนิดต่างๆ จากการขุดคน้แหล่งโบราณคดีประวติัศาสตร์ทางภาคใตข้องไทย พ.ศ. 2520 ท่ีแหล่งโบราณคดีริมฝ่ังคลองกลาย อ าเภอ ท่าศาลา จงัหวดันครศรีธรรมราช พบระนาดหินเหล่าน้ีอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม จ านวน 6 อัน เม่ือน ามาทดลองตีได้เสียงโน้ตต่างกัน 5 เสียง สามารถบรรเลงได้ ซ่ึงก็ไม่ได้พบแต่เฉพาะในไทย ในเวียดนามเองก็พบเคร่ืองดนตรีประเภทน้ีเช่นกัน ระนาดหินเหล่าน้ีอาจไม่ได้ท าข้ึนเพื่อเป็นเคร่ืองดนตรีโดยตรง แต่ถูกคน้พบดว้ยความบงัเอิญของมนุษยใ์นยุคสมยันั้นท่ีอาจบงัเอิญเคาะแลว้เกิดมีเสียงไพเราะ เม่ือเคร่ืองมือเหล่านั้นพน้สภาพการใชง้านก็น ามาดดัแปลงเป็นเคร่ืองดนตรี”

    พงษศิ์ลป์ อรุณรัตน์ ( 2554 : 63 ) ไดก้ล่าวความเป็นมาของระนาดเอกไวว้า่

    “เคร่ืองดนตรีไทยในกลุ่มฆะนะท่ีมีบทบาทมากคือ ระนาดเอก ซ่ึงปรากฏอยู่ในวงป่ีพาทยแ์ละวงมโหรี ระนาดเอกน้ีแต่เดิมเรียกวา่ “ระนาด” ภายหลงัมีการสร้างระนาดท่ีมีเสียงต ่าข้ึนจึงเรียก “ระนาดทุ้ม” และเรียกระนาดท่ีมีแต่เดิมว่า “ระนาดเอก” ในภูมิภาคน้ีพบเคร่ืองดนตรีท่ีมีรูปร่างเหมือนกบัระนาดเอกอยู่หลายแห่ง เช่น อินโดนีเซียมีระนาดท่ีเรียกว่า กมับงั(Gambang) พม่ามีระนาดท่ีเรียกว่า ปัตตาหล่าร์(Pattala) แสดงให้เห็นว่าระนาดเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีอยู่แพร่หลายในภูมิภาคน้ีไม่ไดรั้บอิทธิพลมาจากอินเดียอย่างเคร่ืองดนตรีประเภทอ่ืนๆ อาจเพราะภูมิภาคใดท่ีมีไมไ้ผ่และไมเ้น้ือแข็งท่ีมีความกลวงของเน้ือไมต้ามธรรมชาติย่อมมีเคร่ืองดนตรีประเภทตีอยู่ด้วย แมแ้ต่ทวีปอฟัริกาเองก็ยงัปรากฏเคร่ืองดนตรีท่ีมีรูปร่างเหมือนระนาดเอก เรียกวา่ มาลิมบลา้(Marimbra)”

  • 12

    จากความหมายของนักวิชาการท่ีได้กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า ระนาดเอกมีการพฒันาการมาจากกระบอกไมไ้ผใ่นตระกูล “เกราะ – โกร่ง – กรับ” ระนาดยุดแรกเร่ิมตั้งแต่คร้ังดึกด าบรรพน์ั้นจะมีกระบอกไมไ้ผค่ลา้ยลูกระนาดวางเรียงเพียง 2-3 กระบอกเท่านั้น ในสมยัสุโขทยัจะมีค าว่า “ตีพาทย์” ปรากฏอยู่ในศิลาจารึก มีผูรู้้ได้อธิบายความหมายของค าน้ีไวว้่า ตีพาทย์ คือ บรรเลงพาทย ์ค าวา่พาทยห์รือวาทยน้ี์ หมายถึง เคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองตีและเคร่ืองเป่าประกอบดงันั้นค าวา่ตีพาทยใ์นจารึกน้ีตอ้งหมายถึงเคร่ืองตีเคร่ืองเป่า ค าวา่พาทยใ์นท่ีน้ีจะหมายถึง ระนาดได้หรือไม่ ไม่ทราบ แต่เขา้ใจว่าระนาดน่าจะมีใช้แลว้ แต่ตามประวติัศาสตร์จะพบระนาดเอกในวงป่ีพาทย ์ตั้งแต่สมยัอยธุยาเป็นตน้มา 1.2 ลกัษณะของผนืระนาดเอก จากการศึกษาความหมายของลกัษณะผนืระนาด นกัวชิาการหลายท่านไดใ้หค้วามหมายไว้ดงัน้ี

    ภาพท่ี 2 ผนืระนาดเอก

    (http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/sornchai_p/ranad/sec02p02.html เขา้ถึงวนัท่ี 19 ธนัวาคม 2556)

    สุจิตต์ วงษ์เทศ ( 2542 : 172 ) ได้กล่าวถึงลักษณะของผืนระนาดเอกไวว้่า “ส าหรับวิวฒันาการของผืนระนาดนั้น ยงัหาวิวฒันาการไดไ้ม่ชดัเจนนกัท่ีพอจะมีหลกัฐานการกล่าวถึงผืนระนาดก็คือ ในหนงัสือร้องร าท าเพลง ดนตรีนาฏศิลป์ชาวสยามไดไ้วว้่า ผืนระนาดรุ่นแรกๆ มีเคา้มูลเหลืออยู่ในภาคตะวนัออกของแอฟริกาและมีหลกัฐานเก่าอยู่บนภาพจ าหลกัหินท่ีศาสนสถานจนัทิปะนะตะรันในชวา เม่ือพุทธศตวรรษท่ี 14 หรือ ราวหลงั พ.ศ.1300”

    http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/sornchai_p/ranad/sec02p02.html%20เข้าถึงวันที่%2019%20ธันวาคม%202556http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/sornchai_p/ranad/sec02p02.html%20เข้าถึงวันที่%2019%20ธันวาคม%202556

  • 13

    เอกสิทธ์ิ สุนิมิตร ( 2549 : 21 ) ไดก้ล่าวถึงลกัษณะของผนืระนาดเอกไวว้า่

    “ผืนระนาดนบัเป็นส่วนประกอบท่ีส าคญัท่ีสุดของระนาด เพราะเป็นส่ิงท่ีท าใหเ้กิดเสียงในขณะท่ีตี ผืนระนาดมีวิวฒันาการมาจากกรับเสภา โดยการน ากรับท่ีมีขนาดต่างกนัมาวางเรียงแลว้เคาะจึงเกิดเป็นเสียงต่างๆข้ึน มีทั้งเสียงสูงและเสียงต ่า ผืนระนาดมีอยู่ 2 ชนิดดว้ยกนั ชนิดแรกคือผืนระนาดท่ีผลิตข้ึนจากไมไ้ผ่ และชนิดท่ีสองคือ ผนืระนาดท่ีผลิตข้ึนจากไมเ้น้ือแขง็”

    “ในสมยัก่อนระนาดก็เป็นเพียงเคร่ืองตีกระบอกไมไ้ผ ่โดยเป็นท่ีนิยมของ

    กลุ่มชนชั้นทัว่ๆไปแต่ก็มิได ้หยุดย ั้งในพฒันาการ ดงัจะเห็นความเคล่ือนไหวเพิ่มกระบอกให้ตีเป็นเสียงสูงต ่าไดห้ลายเสียงมากข้ึน แลว้ผา่กระบอกออกเป็นซีก วางเรียงให้มีล าดับเสียงสูงต ่าลดหลั่นกันไป จนกลายเป็นแบบแผนระนาดอย่างท่ีเป็นอยูทุ่กวนัน้ี”

    อษัฎาวธุ สาคริก ( 2550 : 57 ) ไดก้ล่าวถึงลกัษณะของผนืระนาดเอกไวว้า่

    “ในอดีตนิยมใชไ้มไ้ผบ่ง น ามาผ่าซีก เรียกว่า การเกรียกไม ้แลว้น าไปแช่น ้าเป็นเวลาหลายเดือน เพื่อปรับความช้ืนของเน้ือไมแ้ละป้องกนัมอดปลวก จากนั้นจึงน ามาอบแห้ง เรียกวา่ การคาไฟ จนกระทัง่แห้งสนิทแลว้ จึงน ามาเหลาข้ึนรูปให้ไดข้นาดยาวสั้ นตามตอ้งการ เจาะรูร้อยเชือก แล้วเทียบเสียง โดยการใช้ผงตะกัว่ผสมข้ีผึ้งบริสุทธ์ิจนไดท่ี้หลอมป้ันเป็นลูกกลม ติดแต่งบริเวณหัวและทา้ยของลูกระนาดเพื่อให้ได้ระดับเสียงตามตอ้งการ ปัจจุบนันิยมใช้ไม้เน้ือแข็ง เช่น พะยูง ชิงชนั ประดู่ มาเหลาท าผนืระนาดแทนไมไ้ผบ่ง”

    ส าเร็จ ค าโมง ( 2554 : 30 ) ไดก้ล่าวถึงลกัษณะของผนืระนาดเอกไวว้า่

    “ผืนระนาดประกอบดว้ย ลูกระนาด จ านวน 21 ลูก ร้อยหวัทา้ยเรียงล าดบัจากลูกท่ีให้ระดบัเสียงทุม้ต ่าท่ีสุดไปหาลูกท่ีให้ระดบัเสียงสูงข้ึนไปจนถึงลูกท่ีให้ระดบัเสียงแหลมท่ีสุดดว้ยเส้นเชือก

    เรียกลูกแรกของผนืซ่ึงใหร้ะดบัเสียงต ่าท่ีสุดวา่ “ลูกตน้”

  • 14

    เรียกลูกสุดทา้ยของผนื ซ่ึงระดบัเสียงแหลมท่ีสุดวา่ “ลูกยอด” ลูกระนาดแต่เดิมนิยมใช้ไม้ไผ่บง หรือไม้ไผ่ตงท า ภายหลงัมาจึงใช้ไม้

    ชิงชนั ไมม้ะหาด ไมพ้ะยงู มาเหลาเป็นแผน่คลา้ยแผน่ไมไ้ผ ่ท าเป็นลูกระนาด ระนาดเอกบางผืนอาจมีถึง 22 ลูก เรียกลูกท่ี 22 นั้นว่า ลูกหลีกหรือลูก

    หลิบ”

    พงษศิ์ลป์ อรุณรัตน์ ( 2554 : 65 ) ไดก้ล่าวถึงลกัษณะของผนืระนาดเอกไวว้า่

    “เดิมทีระนาดเอกมีจ านวน 21 ลูก แต่ปัจจุบนัอาจมีถึง 22 ลูก เพื่อความสะดวกในการบรรเลงในวงมโหรีและวงป่ีพาทยม์อญ โดยลูกตน้ (ยาวท่ีสุด) ยาวประมาณ 39 ซม. กวา้งราว 5 ซม. และหนา 1.5 ซม. ส่วนลูกต่อมามีขนาดลดหลัน่กนัไปจนถึงลูกท่ี 21 หรือ ลูกยอด (สั้นท่ีสุด) มีขนาด 29 ซม. ส าหรับลูกท่ี 22 นั้นมีช่ือเรียกว่า “ลูกหลีก” หรือ “ลูกหลิบ” ลูกระนาดทุกลูกจะตืดข้ึงผสมกับตะกั่วส าหรับถ่วงเสียงเพื่อใหไ้ดเ้สียงตอ้งการใตลู้ก รวมทั้งมีการควา้นตบแต่งเสียงแต่ละลูกดว้ย” จากความหมายของนักวิชาการท่ีได้กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่าผืนระนาดเป็น

    ส่วนประกอบท่ีส าคญัท่ีสุดของระนาด มีวิวฒันาการมาจากกรับเสภา โดยการน ากรับท่ีมีขนาดต่างกนัมาวางเรียงแล้วเคาะจึงเกิดเป็นเสียงต่างๆข้ึน มีทั้งเสียงสูงและเสียงต ่า เดิมทีระนาดเอกมีจ านวน 21 ลูก แต่ปัจจุบนัอาจมีถึง 22 ลูก เพื่อความสะดวกในการบรรเลงในวงมโหรีและวงป่ีพาทย์มอญ สมยัก่อนนิยมใชไ้มไ้ผบ่งมาท าผนืระนาด แต่ในปัจจุบนันิยมใชไ้มเ้น้ือแขง็ เช่น ไมชิ้งชนั ไมพ้ยงุ ไมม้ะหาด

  • 15

    1.3 บทบาทของระนาดเอก

    จากการศึกษาบทบาทของระนาดเอก นกัวชิาการหลายท่านใหค้วามหมายไว ้ดงัน้ี

    ภาพท่ี 3 วงป่ีพาทยเ์คร่ืองใหญ่

    (http://mintmontana.wordpress.com/2013/01/08/%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%E0%B8%97%E0%B8%A2/ เขา้ถึงวนั 19 ธนัวาคม 2556)

    วมิลศรี อุปรมยั ( 2527 : 70 ) ไดก้ล่าวถึงบทบาทของระนาดเอกไวว้า่ “ระนาดเอกยงัเป็น

    เคร่ืองดนตรีหลกัในการน าไปผสมวง เช่น วงป่ีพาทยเ์คร่ืองหา้ ป่ีพาทยเ์คร่ืองคู่ ป่ีพาทยดึ์กด าบรรพ ์ป่ีพาทยม์อญ ป่ีพาทยน์างหงส์ หรือแมก้ระทัง่ในวงมโหรีเคร่ืองใหญ่ก็ใชร้ะนาดเอกเป็นหลกัทั้งส้ิน”

    พนูพิศ อมาตยกุล ( 2529 : 6 ) ไดก้ล่าวถึงบทบาทของระนาดเอกไวว้า่

    “ระนาดเอกจึงเร่ิมมีบทบาทเขา้มาสู่วงป่ีพาทยไ์ทยอยา่งแทจ้ริงในสมยักรุงศรีอยุธยา และนั่นก็คือการเกิดป่ีพาทยเ์คร่ืองห้าข้ึน อนัประกอบด้วยระนาดเอก ด าเนินท านองฆ้องวง ด าเนินท านองป่ี ด าเนินท านองกลอง กรับ ฉ่ิง เป็นผูคุ้มจงัหวะ กลายเป็นป่ีพาทย์เคร่ืองห้า ใช้การได้ทุกโอกาสมาจนถึงทุกวนัน้ี และเน่ืองจากการคิดสร้างระนาดไมข้องคนไทยเราน้ีมีโอกาสท่ีจะบรรเลงไดม้ากเสียง (21 ลูก ส าหรับระนาดเอก) ใชไ้มตี้ 2 อนั อนัละมือ ดงันั้นจึงเกิดเทคนิคการใช้มือปฏิบติัต่อระนาดเอกแขนงข้ึนมากมายเกินจะพรรณนาไดต้ามเวลาท่ีผา่นมา ในท่ีสุดระนาดเอกเยกลายเป็นตวัเอก หรือพระเอกของวงดนตรีไทยไปในท่ีสุด เพราะสามารถท าให้เกิดเสียงมากแบบ มากในเน้ือหาอารมณ์ เกินกวา่เสียงดนตรีอ่ืนๆจะท าได ้ระนาดจึงกลายเป็นตวัน าในการบรรเลงเพลงไทยไปในท่ีสุด”

    http://mintmontana.wordpress.com/2013/01/08/%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%E0%B8%97%E0%B8%A2/%20เข้าถึงhttp://mintmontana.wordpress.com/2013/01/08/%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%E0%B8%97%E0%B8%A2/%20เข้าถึง

  • 16

    ชาตรี เฉลิมยคุล ( 2546 ) ไดก้ล่าวถึงบทบาทของระนาดเอกไวว้า่

    “ระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีรู้จกักนัเป็นอยา่งดีในหมู่ของนกัดนตรีไทย เคร่ืองดนตรีชนิดน้ีใช้ประกอบอยู่ในวงป่ีพาทย ์เรามกัจะได้ยินค าทกัทายในหมู่ดนตรีไทยวา่ “งานน้ีใครตีระนาด” หรือบทบาทในภาพยนตร์โหมโรง ซ่ึงมีบทบาทท่ีผูแ้สดงเป็นขนุอินพดูวา่ “วงโนน้มนัเอาใครลงระนาด” จากค าพูดดงักล่าวน้ีแสดงให้เห็นว่าระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีทุกคนให้ความส าคญัและสนใจเป็นพิเศษมากกวา่เคร่ืองดนตรีชนิดอ่ืนท่ีประกอบในวงป่ีพาทย ์ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะวา่ ระนาดเอก ถูกจดัใหท้ าหนา้ท่ีเป็นผูน้ าในการบรรเลงวงป่ีพาทย ์ส่วนเคร่ืองดนตรีชนิดอ่ืนๆท่ีประกอบอยู่ในวงนั้นจะท าหนา้ท่ีเป็นผูต้ามในการบรรเลง ถา้เปรียบกบัตวัแสดงละครแลว้ ถือวา่ระนาดเอกเปรียบเสมือน ตวัพระเอกของเร่ืองเลยทีเดียว”

    เอกสิทธ์ สุนิมิต ( 2549 : 14 ) ไดก้ล่าวถึงบทบาทของระนาดเอกไวว้า่

    “ในปัจจุบนัน้ีมีผูนิ้ยมน าระนาดเอกมาบรรเลงประสมวงกบัเคร่ืองดนตรีสากล ท าให้เกิดสีสันและแนวดนตรีแบบใหม่ข้ึนโดยเฉพาะวงฟองน ้ า ซ่ึฃเกิดจากการสร้างสรรคข์องนกัดนตรีระดบัฝีมือ คือ อาจารยบ์รูส แกสตัน ชาวอเมริกนั นกัระนาดฝีมือเอกของวงการดนตรีไทย ครูบุญยงค์ เกตุคง ไดคิ้ดน าเอาระนาเอกมาประสมวงกบัเคร่ืองสากล รวมทั้งครูชยัยุทธ โตสง่า เคยมีประการณ์ทางดนตรีร่วมสมัยคร้ังส าคัญท่ีควรบันทึกไวใ้นท่ีน้ีคือ ได้ร่วมแสดงเด่ียวระนาดเอก ในบทประพนัธ์ระนาดเอกคอนแชร์โตร่้วมกบัวงบางกอกซิมโฟนีออร์เคสตร้า ซ่ึงนบัว่าเป็นการผสมผสานระหว่างดนตรีตะวนัตกกบัเนตรีตะวนัออกไดอ้ยา่งลงตวั ทั้งยงัเป็นบทบาทในการประสมวงของระนาดเอกอีกดา้นหน่ึงอีกดว้ย”

    อษัฎาวธุ สาคริก ( 2550 : 54 ) ไดก้ล่าวถึงบทบาทของระนาดเอกไวว้า่ “ระนาดเอกของไทย

    มีบทบาทส าคญัเป็นผูน้ าวงในวงดนตรีไทย และวงดนตรีประเภทต่างๆ เช่นป่ีพาทยเ์คร่ืองหา้ ป่ีพาทยเ์คร่ืองคู่ ป่ีพาทยเ์คร่ืองใหญ่ ป่ีพาทยน์างหงส์ มโหรี แมก้ระทัง่วงดนตรีร่วมสมยัท่ีมกัจะน าระนาเอกเขา้มาร่วมบรรเลงอยา่งแพร่หลาย”

  • 17

    จากความหมายของบทบาทท่ีนกัวชิาการหลายท่านไดก้ล่าวมาขา้งตน้ พอสรุปไดว้า่ ระนาดเอกเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีรู้จกักนัเป็นอยา่งดีในหมู่ของนกัดนตรีไทย เคร่ืองดนตรีชนิดน้ีใชป้ระกอบอยู่ในวงป่ีพาทย ์ระนาดเอกเร่ิมมีบทบาทเขา้มาสู่วงป่ีพาทยไ์ทยอยา่งแทจ้ริงในสมยักรุงศรีอยธุยา และถูกจดัใหท้ าหนา้ท่ีเป็นผูน้ าในการบรรเลงวงป่ีพาทย ์ส่วนเคร่ืองดนตรีชนิดอ่ืนๆท่ีประกอบอยูใ่นวงนั้นจะท าหนา้ท่ีเป็นผูต้ามในการบรรเลง ถา้เปรียบกบัตวัแสดงละครแลว้ ถือวา่ระนาดเอกเปรียบเสมือน ตวัพระเอกของเร่ือง

    2. การผลติ 2.1 ความหมายของการผลติ วรลกัษณ์ หิมะกลสั ( มปป : 54 ) ไดก้ล่าวถึงความหมายของการผลิตไวว้า่ “การผลิต(Production) หมายถึง กระบวนการรวบรวมเอาปัจจยัการผลิตซ่ึงไดแ้ก่ ท่ีดิน แรงงาน ทุน วตัถุดิบ และเทคโนโลยต่ีางๆมาผลิตเป็นสินคา้และบริการ” วชิยั แหวนเพชร (อา้งในประไพพรรณ ตั้งสังวรธรรมะ 2555 : 25 ) ไดก้ล่าวถึงความหมายของการผลิตไวว้า่ “การผลิต หมายถึง การแปรสภาพวตัถุดิบใหเ้ป็นสินคา้ หรือผลผลิต และบริการ ตามกระบวนการผลิต โดยมีขอ้มูลพื้นฐานมาจาก การพยากรณ์ การคาดการณ์ การวเิคราะห์” อรรธพล อรรธโกวทิ ( 2555 : 22 ) ไดก้ล่าวถึงความหมายของการผลิตไวว้า่

    “การผลิตหมายถึง การใช้ทรัพยากรหรือปัจจยัการผลิตใดๆ ในทางท่ีจะก่อให้เกิดสินคา้หรือบริการข้ึน การผลิตตามความหมายน้ีเป็นกระบวนการในการแปลงทรัพยากรหรือปัจจยัการผลิตดว้ยวิธีการต่างๆ เพื่อให้ไดม้าซ่ึงส่ิงท่ีจะใชส้อบสนองความต้องการของมนุษย์ ปัจจัยในการผลิตในท่ีน้ีได้แก่ ปัจจัยประเภทแรงงานซ่ึงหมายถึง แรงกายและแรงความคิดของมนุษย ์ท่ีดิน คือ พื้นแผน่ดินและทรัพยากรต่างๆ เช่น น ้า หิน ทราย อากาศ ป่าไม ้ฯลฯ ทุน ซ่ึงเป็นส่วนท่ีมนุษยส์ร้างเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการผลิตสินคา้ ได้แก่ เคร่ืองจกัร อาคารส านักงาน โรงงาน โกดงั สนามบิน ผูป้ระกอบการ เป็นผูอ้อกความคิดและตดัสินใจว่าจะผลิตอะไร จ านวนเท่าไหร่ จะผลิตอยา่งไร หรือจะเลือกท่ีไหนเป็นแหล่งผลิต”

  • 18

    จากความหมายของการผลิตท่ีนกัวิชาการหลายท่านไดก้ล่าวมาขา้งตน้ พอสรุปไดว้่า การผลิตหมายถึง การใชท้รัพยากรหรือปัจจยัการผลิตใดๆ ในทางท่ีจะก่อให้เกิดสินคา้หรือบริการข้ึน การผลิตตามความหมายน้ีเป็นกระบวนการในการแปลงทรัพยากรหรือปัจจยัการผลิตดว้ยวิธีการต่างๆ เพื่อใหไ้ดม้าซ่ึงส่ิงท่ีจะใชส้อบสนองความตอ้งการของมนุษย ์ 2.2 ไม้ทีใ่ช้ท าผนืระนาดเอก ไมท่ี้ใชท้ าผนืระนาดเอกไดแ้ก่ ไมไ้ผบ่ง ไมชิ้งชนั ไมพ้ะยงู ไมม้ะหาด ซ่ึงไมแ้ต่ละชนิดมีคุณสมบติัดงัต่อไปน้ี 2.2.1 ไม้ไผ่บง

    ภาพท่ี 4 ไมไ้ผบ่ง

    ( http://bamboo-supun.tarad.com/product.detail_524109_th_2356678 เขา้ถึงวนัท่ี 20 มกราคม 2557 )

    โชติ สุวตัถ ์( 2508 : 10 ) ไดก้ล่าวถึงคุณสมบติัของไมไ้ผบ่งไวว้า่ “ไมช้นิดน้ีน่าจะมีก าเนิดในพม่า ตามช่ือท่ีกล่าวขา้งตน้ เป็นไผข่นาดใหญ่ สูงกวา่ 100 ฟุต ลกัษณะตน้แขง็แรง และใช้ประโยชน์ไดม้าก”

    เฉลียว วชัรพุกก ์( 2522 : 44 ) ไดก้ล่าวไวว้า่ “ไผบ่ง (Bambusa tulda) พบตามป่าดิบริมน ้ า ทัว่ไปพบมากทางภาคเหนือและตะวนัออกเฉียงเหนือ ลกัษณะเป็นไมใ้หญ่ เน้ือล าหนา แขง็แรง ความยาวปลอ้งประมาณ 30 ซม.”

    http://bamboo-supun.tarad.com/product.detail_524109_th_2356678

  • 19

    สอาด บุญเกิด ( 2528 : 90 ) ไดก้ล่าวถึงคุณสมบติัของไมไ้ผบ่งวา่ “ไผบ่งเป็นไผท่ี่อยูใ่นป่าช้ืนมีใบเขียวตลอดปี ข้ึนเป็นกอโดยธรรมชาติจะสูง 20-30 เมตร เส้นผา่ศูนยก์ลางของล าปลอ้ง 12-20 ซม. ขอ้ของปลอ้งเห็นไดช้ดัเจนเน้ือหนามีความแขง็แรง”

    เตม็ สมิตินนัทน์ ( 2544 ) �