ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน...

91
ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ จังหวัดสระแกว เจนจิราพร รอนไพริน งานนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา มิถุนายน 2558 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

Upload: others

Post on 12-Apr-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศจังหวัดสระแกว

เจนจิราพร รอนไพริน

งานนิพนธน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการเมืองการปกครอง

คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพามิถุนายน 2558

ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

Page 2: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย
Page 3: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

ประกาศคุณูปการ

งานนิพนธฉบับน้ีสําเร็จไดดวยดี เน่ืองจากไดรับความกรุณาใหคําปรึกษาและชวยแนะนําแกไขขอบกพรองตาง ๆ อยางดียิ่ง จากรอยตํารวจเอก ดร.วิเชียร ตันศิริคงคล อาจารยที่ปรึกษาหลักผูชวยศาสตราจารย ดร. ไพฑูรย โพธิสวาง ดร.จักรี ไชยพินิจ ดร.ไชยา กุฎาคารและ คุณวิภาวดีเวียงนนท ที่ไดกรุณาแนะนํา ทําใหผูวิจัยไดรับแนวทางในการศึกษาคนควางานนิพนธอยางถูกตองสมบูรณ จึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณผูจัดการ ธนาคารกรุงไทยจํากัด(มหาชน) สาขาอรัญประเทศ สาขาวัฒนานครสาขาสระแกว สาขาโรงเกลือ และสาขาตาพระยาที่อํานวยความสะดวกในการจัดเก็บขอมูล และขอขอบพระคุณพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวทั้ง 5 สาขาทุกทานที่ไดใหความกรุณาอนุเคราะหในการตอบแบบสอบถาม และแสดงความคิดเห็นใหการดําเนินการวิจัยสําเร็จดวยดี

คุณคาและประโยชนของงานนิพนธฉบับน้ี ผูวิจัยขอมอบบูชาพระคุณของบิดา มารดาและครูอาจารยทุกทาน

เจนจิราพร รอนไพริน

Page 4: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

56910336: สาขาวิชา: การเมืองการปกครอง; ร.ม. (การเมืองการปกครอง)คําสําคัญ ความพึงพอใจ/ พนักงาน/ ธนาคาร / สระแกว

เจนจิราพร รอนไพริน: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ จังหวัดสระแกว (JOB SATISFACTION OF EMPLOYEES OFKRUNGTHAI BANK PUBLIC COMPANY LIMITED ARANYAPRATHET BRANCH,SAKAEO PROVINCE.)คณะกรรมการการควบคุมงานนิพนธ: วิเชียร ตันศิริคงคล, ร.ด., จักรีไชยพินิจ, ร.ด., ไชยา กุฎาคาร, D.B.A., 83 หนา. ป พ.ศ. 2558.

การศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว และศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแก พนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ สาขาตาพระยา สาขาวัฒนานคร สาขาตลาดโรงเกลือ และสาขาสระแกว จํานวน 52คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาความถี่ คารอยละคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใชสถิติ t-Test และ One-wayANOVA และทําการทดสอบรายคู ดวยวิธี LSD

ผลการศึกษาพบวา 1. ผลการวิเคราะหระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ผลการวิจัยพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 3.68)เมื่อพิจารณาตามรายดาน พบวาดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือดานความมั่นคงในงาน ( = 4.23) รองลงมาคือ ดานลักษณะของงาน ( = 3.59) ดานเงินเดือนและสวัสดิการ ( = 3.56) ดานความกาวหนาในอาชีพ ( = 3.51) และ ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน ( = 3.50)ตามลําดับ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล พบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยทุกขอ

Page 5: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทยสารบัญสารบัญตารางสารบัญภาพ

งฉซฌ

บทที่1 บทนํา 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาคําถามการวิจัยวัตถุประสงคการวิจัยสมมติฐานการวิจัยขอบเขตการวิจัยประโยชนที่คาดวาจะไดรับนิยามศัพทเฉพาะ

1222344

2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 7แนวคิด ทฤษฎีความพึงพอใจแนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษยขอมูลทั่วไปของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)งานวิจัยที่เกี่ยวของกรอบแนวคิดการวิจัย

721323641

3 วิธีดําเนินการวิจัย 42ประชากรที่ใชในการศึกษาเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลการสรางเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลการวิเคราะหขอมูลสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

424343454545

Page 6: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา4 ผลการศึกษา 47

สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูลสวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามสวนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)จังหวัดสระแกวสวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

4748

5056

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 61สรุปผลอภิปรายผลขอเสนอแนะ

616366

บรรณานุกรมภาคผนวก

ภาคผนวก กภาคผนวก ขภาคผนวก ค

ประวัติยอของผูวิจัย

687071777982

Page 7: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา1234

5

6

7

8

9

10

11

12

การเปรียบเทียบทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ แม็กเกรเกอรจํานวนประชากรที่ใชในการศึกษาจํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวในภาพรวมคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานลักษณะของงานคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความมั่นคงในงานคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานเงินเดือนและสวัสดิการคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความกาวหนาในอาชีพคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามเพศวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามอายุวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามสถานภาพการสมรส

174148

50

51

52

53

54

55

56

57

57

Page 8: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา13

14

15

16

วิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามระดับการศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามระดับเงินเดือนวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามระยะเวลาในการปฏิบัติงานสรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย

58

58

5960

Page 9: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา12

กระบวนการสรางความพึงพอใจของผูปฏิบัติงานกรอบแนวความคิดในการวิจัย

1041

Page 10: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

บทที่ 1บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาพนักงานเปนทรัพยากรที่สําคัญขององคกรโดยถือเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดในการ

บริหารงานองคกรใหสามารถทางานบรรลุเปาหมายได ดังน้ันงานสําคัญอยางหน่ึงของผูบริหารก็คือการเอาใจใสและกระตุนใหผูปฏิบัติงานทุกคนทํางานอยางมีประสิทธิภาพสวนผูปฏิบัติงานก็ตองทํางานเพื่อตอบสนองความตองการขององคกรประสิทธิภาพการทํางานของแตละบุคคลแตกตางกันไปแมวาพวกเขาจะมีความสามารถเทาเทียมกันและอยูในสิ่งแวดลอมที่เหมือนกัน สิ่งหน่ึงที่เปนตัวกําหนดพฤติกรรมและผลงานของเขาก็คือความพึงพอใจในการทํางานที่เหมาะสมตรงกับความตองการของพนักงานและตรงตามวัตถุประสงคขององคกร (กรภัทร เจริญสุข, 2552, หนา 1)

ความพึงพอใจในการทํางานเปนการกระตุนปลุกเราใหพนักงานในองคกรมีกําลังใจมีความต้ังใจและเต็มใจที่จะปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถในองคกรธุรกิจ การจูงใจมีความจําเปนตอกระบวนการเพิ่มผลผลิตทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทั้งน้ีเพราะบุคคลที่ไดรับความพึงพอใจในการทํางานที่ถูกตองจะทํางานเต็มเวลาเต็มกําลังความสามารถและดวยความเต็มใจมีความมุงมั่นที่จะใหผลงานออกมาดีที่สุดและมีความรูสึกวาเปนสวนหน่ึงขององคกรตองการพัฒนาองคกรของตนใหบรรลุเปาหมาย (รมยชลี สุวรรณชัยรักษ, 2550, หนา 1)

การปรับโครงสรางองคกรเปนเร่ืองปกติของทุกองคกรถาองคกรไหนไมมีการปรับเปลี่ยนหรืออยูน่ิง ๆ ก็เหมือนกับองคกรหยุดน่ิงไมทันสมัย องคกรสมัยใหมตองมีความยืดหยุนพรอมที่จะปรับเปลี่ยนไปตามนโยบายขององคกรน้ัน ๆ สําหรับ บมจ.ธนาคารกรุงไทยซึ่งเปนธนาคารพาณิชยขนาดใหญอันดับสองของประเทศปจจุบันมีสาขาใหบริการทางการเงินครอบคลุมทั่วประเทศจึงตองมีการเตรียมพรอมรองรับการขยายตัวทางธุรกิจมากขึ้น มุงหารายไดดานอ่ืน ๆดวยการขยายรูปแบบบริการผานสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อเพิ่มศักยภาพใหเหมาะสมกับตลาดโดยพนักงานสาขาจะเปนผูใหบริการลูกคาโดยเนนงานดานบริการภายในสาขาเปนหลักและมีการขายผลิตภัณฑทางการเงินประเภทบัตรเครดิต ประกันชีวิต กองทุน ลิสซิ่ง สินเชื่อที่อยูอาศัยและบริการอ่ืน ๆ ที่ธนาคารไดคาธรรมเนียมในการใหบริการดานตาง ๆ เปนการเพิ่มรายไดใหกับสาขามากขึ้น

การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไดมีการปรับเปลี่ยนและเพิ่มเติมบทบาทหนาที่ในหลายหนาที่หลายตําแหนงทําใหวิถีชีวิตทัศนคติและพฤติกรรมในการปฏิบัติงานเปลี่ยนแปลงไปโดยพนักงานอยูสาขาตองทําหนาที่เพิ่มมากขึ้น ตองเรียนรูงานมากขึ้น ตองเรียนรูงานดานการขายผลิตภัณฑของ

Page 11: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

2

ธนาคารและตองรูจักลูกคาในแตละกลุมใหไดมากขึ้น การนําโครงการบริหารความสัมพันธลูกคามาใชอาจเปนเหตุใหพนักงานบางคนเห็นดวยและบางคนไมเห็นดวยกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและอาจทําใหขวัญกําลังใจของพนักงานมีทั้งดีขึ้นและลดถอยลงความพึงพอใจของพนักงานตอการเปลี่ยนแปลงขององคกรสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานประจําของพนักงานจึงเปนสิ่งสําคัญตอการเติบโตขององคกรซึ่งหากพนักงานไมเห็นดวยกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาวและเกิดความไมพึงพอใจในการทํางานยอมจะสงผลกระทบตอทั้งงานดานบริการและดานการขายผลิตภัณฑของธนาคารทําใหลูกคาเกิดความไมพึงพอใจไมไดรับความสะดวกในการใชบริการพนักงานทํางานไมเต็มความสามารถจะสงผลใหการดําเนินงานของธนาคารอาจไมเปนไปตามเปาหมายที่วางไวได

จากขอมูลที่ไดศึกษามาดังกลาวจึงทําใหผูวิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาความพึงพอใจในการทํางานของพนักงาน บมจ.ธนาคารกรุงไทย เน่ืองจากเปนธนาคารที่มีการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรนอยกวาเมื่อเทียบกับธนาคารอ่ืน ๆ เพื่อจะนําขอมูลที่ไดไปใชในการปรับปรุงระบบการจูงใจในการทํางานของธนาคารใหพนักงานมีความพึงพอใจในการทํางานและปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพซึ่งจะสงผลตอความเจริญเติบโตของบมจ.ธนาคารกรุงไทยตอไป

คําถามการวิจัย1. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)

จังหวัดสระแกว อยูในระดับใด2. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีปจจัยสวนบุคคล

แตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกันหรือไม

วัตถุประสงคการวิจัย1. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด

(มหาชน) จังหวัดสระแกว2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน

ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

สมมติฐานการวิจัย1. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีเพศแตกตางกัน มีความ

พึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

Page 12: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

3

2. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีอายุแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

3. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีสถานภาพการสมรสแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

4. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

5. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระดับเงินเดือนแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

6. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ขอบเขตการวิจัย1. ขอบเขตดานเน้ือหาศึกษาถึงความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว

ผูวิจัยไดนําทฤษฎีแรงจูงใจของเฮิรซเบิรก (Herzberg’s two - factors theory) มาเปนตัวแปรตามในการศึกษา โดยบูรณาการปจจัยจูงใจและปจจัยค้ําจุน มาสรุปรวมเปนตัวแปรที่ใชศึกษา 5 ดานไดแกลักษณะของงาน ความมั่นคงในงาน เงินเดือนและสวัสดิการ ความกาวหนาในอาชีพ และความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน สวนตัวแปรอิสระ ไดแก เพศ อายุสถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

2. ขอบเขตดานประชากรประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแก พนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขา

อรัญประเทศ สาขาตาพระยา สาขาวัฒนานคร สาขาตลาดโรงเกลือ และสาขาสระแกว จํานวน 52คน (ขอมูลพนักงาน, ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ณ เดือน มกราคม 2558)ศึกษาจากพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว 5 สาขา ทั้งจํานวน เน่ืองจากหลักเกณฑในการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางน้ัน หากประชากร มีจํานวนไมเกิน 100 คนใหศึกษาจากประชากร 100 % ดังน้ันในการวิจัยคร้ังน้ีจึงศึกษาจากพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกวทั้งจํานวน (ไพฑูรย โพธิสวาง, 2554, หนา 184)

3. ขอบเขตดานพื้นที่พื้นที่ที่ใชในการศึกษา ไดแก ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจํานวน 5

สาขา ไดแก สาขาสระแกว สาขาอรัญประเทศ สาขาตลาดโรงเกลือ สาขาวัฒนานคร และสาขา

Page 13: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

4

ตาพระยา4. ขอบเขตดานระยะเวลาระยะเวลาในการศึกษาต้ังแต การออกแบบการวิจัย การศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี

และงานวิจัยที่เกี่ยวของ การสรางเคร่ืองมือในการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลการสรุปและอภิปรายผลการศึกษา ต้ังแตเดือน ตุลาคม 2557 ถึงเดือน กุมภาพันธ 2558 รวม 5 เดือน

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ทําใหไดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด

(มหาชน) จังหวัดสระแกว และไดผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

2. ผลงานวิจัยที่ไดรับสามารถเปนขอมูลในการปรับปรุงความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของธนาคารกรุงไทย จังหวัดสระแกว เพื่อใหพนักงานมีความพึงพอใจในการทํางานและปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพตอไป

คํานิยามศัพทที่ใชในการวิจัยความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของบุคคลที่มีตอการ

ปฏิบัติงานของตนเอง ซึ่งเปนผลมาจากปจจัยตาง ๆ หรือสวนประกอบที่เกี่ยวของในงานหรือกิจกรรมน้ัน ๆ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคคลในองคการจะมีผลตอความสําเร็จของงานและองคการรวมทั้งความสุขของผูทํางานดวย

ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีตอการปฏิบัติงานของตนเองซึ่งเปนผลมาจากปจจัยตาง ๆ หรือสวนประกอบที่เกี่ยวของในงานหรือกิจกรรมน้ัน ๆ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคคลในองคการจะมีผลตอความสําเร็จของงานและองคการรวมทั้งความสุขของผูทํางานดวย

ปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจ หมายถึง องคประกอบของปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยบูรณาการจากทฤษฎีแรงจูงใจของเฮิรซเบิรก (Herzberg, 1959,pp.113-115) และไดแบงความพึงพอใจออกเปน 5 ดาน ไดแก ลักษณะของงาน ความมั่นคงในงานเงินเดือนและสวัสดิการ ความกาวหนาในอาชีพ และความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน

Page 14: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

5

ลักษณะของงาน หมายถึง ลักษณะของงานที่บุคคลกระทําใหสําเร็จลุลวงตามอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย สงเสริมใหผูทํามีโอกาสประสบผลสําเร็จไดแก ปริมาณงานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสม ตรงตามความถนัดและความเชี่ยวชาญ สามารถใชความคิดเปนของตนเองในการปฏิบัติงานได การปฏิบัติงานไมมีผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจทําใหมีความสุขในงานที่ไดรับมอบหมาย

ความมั่นคงในงาน หมายถึง ความรูสึกมั่นใจวา อาชีพที่ปฏิบัติอยูมีความมั่นคง ไดแกความภาคภูมิใจในชื่อเสียงของธนาคาร ความพึงพอใจและรูสึกมั่นใจวา อาชีพที่ปฏิบัติอยูมีความมั่นคง นโยบายและการบริหารของระดับผูบริหารทําใหธนาคารมีความมั่นคงและมีความ เหมาะสมทําใหธนาคารไดรับการยอมรับจากสังคมในปจจุบัน

เงินเดือนและสวัสดิการ หมายถึง สิ่งที่ไดตอบแทนจากการปฏิบัติงานอาจเปนผลตอบแทนที่เปน ตัวเงินหรือสวัสดิการตาง ๆ ไดแก เงินเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบมีความเหมาะสม มีการเพิ่มเงินเดือนประจําป มีสวัสดิการดานคาเบี้ยเลี้ยง พาหนะในการทํางาน มีผลตอบแทนเงินโบนัสประจําปและทางธนาคารไดมีสวัสดิการอ่ืน เชน เคร่ืองแบบที่ธนาคารจัดใหคาเชาบาน คารักษาพยาบาล เปนตน

ความกาวหนาในอาชีพ หมายถึง การมีโอกาสกาวหนาในการปฏิบัติงาน การไดมีโอกาสเลื่อนตําแหนงสูงขึ้นและการพิจารณาความดีความชอบประจําป ไดแก การไดรับโอกาสเลื่อนตําแหนงและเงินเดือนตามความสามารถและผลงานธนาคารไดเปดโอกาสไดพนักงานไดเขาประชุม ฝกอบรม และสัมมนาเพื่อเพิ่มความรูและประสบการณธนาคารสนับสนุนใหทานศึกษาตอเพื่อเพิ่มเติมคุณวุฒิ หลักเกณฑการโยกยายตําแหนงการเลื่อนตําแหนงและปรับเงินเดือนมีความยุติธรรม

ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน หมายถึง ความรูสึกผูกพันและบรรยากาศในการทํางานระหวางผูบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงานในการปฏิบัติหนาที่ ไดแกผูบังคับบัญชามีการใหคําแนะนําและแกไขปญหาในการทํางาน ผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานสามารถแยกความสัมพันธสวนตัวออกจากเร่ืองการทํางานได การมีความสามัคคี มีการทํางานเปนทีม มีการประชุม สรุป แกไขปญหาการทํางานรวมกันของสาขา เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการปฏิบัติงานและมีการพบปะสังสรรคระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานตามโอกาส

เพศ หมายถึง เพศของผูตอบแบบสอบถาม แบงเปนเพศชายและเพศหญิงอายุ หมายถึง อายุปจจุบันตามปปฏิทินของผูตอบแบบสอบถามสถานภาพการสมรส หมายถึง สถานภาพทางการสมรสของผูตอบแบบสอบถาม

แบงเปน โสด สมรส หมาย/ หยารางและแยกกันอยู

Page 15: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

6

ระดับการศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษาสูงสุดของผูตอบแบบสอบถามระดับเงินเดือน หมายถึง รายไดที่ผูตอบแบบสอบถามไดรับจากการประกอบอาชีพตอ

เดือนระยะเวลาในการปฏิบัติงาน หมายถึง ระยะเวลาในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่เขามา

ปฏิบัติงาน ณ ธนาคารกรุงไทย จังหวัดสระแกว

Page 16: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

7

บทที ่2แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ นําเสนอ ดังน้ี

1. แนวคิด ทฤษฎีความพึงพอใจ2. แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย3. ขอมูลทั่วไปของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ5. กรอบแนวคิดการวิจัย

แนวคิด ทฤษฎีความพึงพอใจ1. ความหมายของความพึงพอใจความพึงพอใจ (Satisfaction) เปนปจจัยที่สําคัญประการหน่ึงที่มีผลตอความสําเร็จของ

งานใหเปนไปตามที่เปาหมายที่วางไวอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนผลมาจากการไดรับการตอบสนองตอแรงจูงใจหรือความตองการของแตละบุคคลในแนวทางที่เขาพึงประสงค โดยมีผูใหความหมายและแนวคิดไวหลายทรรศนะดวยกัน ไดแก

Milton and James (1968, p. 364) ไดใหความหมายวา เปนผลรวมของทัศนคติตาง ๆที่แสดงออกตองาน โดยทัศนคติมีความสัมพันธกับงานที่ปฏิบัติและเกี่ยวของกับปจจัยตาง ๆ เชนคาจาง ความมั่นคง สถานการณทํางาน โอกาสที่จะไดรับความกาวหนา การไดรับการยอมรับนับถือความยุติธรรม ความสัมพันธทางสังคม การไดรับความเอาใจใส

Morse (1955, p. 27) ใหความหมายวา ทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถลดความเครียดของผูปฏิบัติงานใหนอยลง โดยถาผูปฏิบัติงานมีความเครียดในการทํางานก็จะทําใหเกิดความไมพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ซึ่งมีพื้นฐานเกิดมาจากความตองการของมนุษยที่ไมไดรับการตอบสนองจึงทําใหเกิดความเครียด ในขณะเดียวกันการไดรับการตอบสนองความตองการจะสามารถลดความเครียดได และจะสงผลใหเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานได

Strauss and Sayless (1960, pp. 142-143) ใหความหมายวา เปนความรูสึกพอใจในงานที่ตนปฏิบัติและมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จตามวัตถุประสงคของ

Page 17: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

8

องคการและความพอใจที่จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่องานน้ันใหผลตอบแทนทั้งทางวัตถุและจิตใจ ทั้งยังสามารถตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานของผูปฏิบัติงานไดดวย

กาญจนา ณ ลําพูน (2550, หนา 27) กลาววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนเร่ืองของความรูสึก เจตคติของบุคคลที่เกิดขึ้น ในการทํางานหรือกิจกรรม ซึ่งเปนผลมาจากปจจัยตาง ๆหรือสวนประกอบที่เกี่ยวของในงานหรือกิจกรรมน้ัน ๆ

รมยชลี สุวรรณชัยรักษ (2550, หนา 10) กลาววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจะทําใหบุคลากรเกิดความรูสึกภักดี เกิดความรูสึกเต็มใจและพอใจที่จะทํางานใหสําเร็จและบรรลุตามวัตถุประสงคขององคการ โดยความพึงพอใจเปนผลมาจากคาของงานและปจจัยแวดลอมของงานน้ัน ๆ ตลอดจนความรูสึกของบุคคลที่ปฏิบัติงานแลวไดรับการตอบสนองความตองการทั้งดานวัตถุและดานจิตใจที่สอดคลองกับความตองการของเขา

ศคงคราญ วองไวสกุลชัย (2551, หนา 19) กลาววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานหมายถึง ทัศนคติทางบวกและทางลบที่มีตอการทํางานของตนเอง ซึ่งเปนผลมาจากการไดรับการตอบสนองตามความตองการความคาดหวังจากการทํางานน้ัน ๆ

อรอุมา คมสัน (2551, หนา 9) กลาววา ความพึงพอใจในการทํางานหมายถึง ผลที่เกิดจากการปฏิบัติงานแลวไดรับผลตอบแทนที่ตอบสนองความตองการของพนักงานที่ปฏิบัติงานน้ันซึ่งผลตอบแทนน้ันเปนทั้งทางดานวัตถุและจิตใจซึ่งความพึงพอใจน้ันจะสงผลใหการปฏิบัติงานของพนักงานเปนไปดวยความเต็มใจและเต็มความสามารถของตนเองจะสงผลใหหนวยงานบรรลุวัตถุประสงคขององคกร

สุรเชษฐ ผการัตนสกุล (2552, หนา 16) กลาววา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานหมายถึง ความรูสึกนึกคิดในทางที่ดีของบุคคลที่มีตองานที่ทําอยูและองคประกอบอ่ืน ๆ ความรูสึกที่เกิดขึ้นจากการที่ไดรับการตอบสนองความตองการของบุคคลทั้งทางดานรางกายและจิตใจทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการทํางานจนบรรลุวัตถุประสงคขององคกรซึ่งอาจกลาวไดวาความพึงพอใจและไมพึงพอใจเปนเร่ืองที่เกี่ยวของกับความรูสึกนึกคิดและคานิยมของบุคคลซึ่งเปนเร่ืองที่ละเอียดออนความพึงพอใจอาจเปลี่ยนแปลงไดเมื่อเวลาหรือสถานการณแวดลอมอ่ืนเปลี่ยนแปลงซึ่งเปนหนาที่ของผูบริหารควรจะไดติดตามศึกษาอยูตลอดเวลาเพื่อจะแกไขปรับปรุงองคประกอบตาง ๆ ในการปฏิบัติงานใหเอ้ือหรือสนองความตองการของบุคลากรไดตลอดไปเพื่อใหองคกรดําเนินตามเปาหมายไดอยางเต็มที่

สรุปไดวา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของบุคคลที่มีตอการปฏิบัติงานของตนเอง ซึ่งเปนผลมาจากปจจัยตาง ๆ หรือสวนประกอบที่เกี่ยวของในงานหรือกิจกรรมน้ัน ๆ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคคลในองคการจะมีผลตอความสําเร็จของงาน

Page 18: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

9

และองคการรวมทั้งความสุขของผูทํางานดวยนอกจากน้ีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานยังเปนเคร่ืองหมายแสดงถึงประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานอีกดวย

2. องคประกอบของความพึงพอใจในการปฏิบัติงานความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนความรูสึกที่บุคคลมีตอลักษณะงานของตนเอง หาก

บุคคลมีความพึงพอใจสูงก็หมายความวาเขามีความรูสึกตองานในทางบวกมีความชอบและคานิยมที่ดีตองานคอนขางสูงนักวิชาการไดกลาวถึงองคประกอบของความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไวดังน้ี

สุรเชษฐ ผการัตนสกุล (2552, หนา 25-26) เสนอองคประกอบที่ทําใหเกิดความพึงพอใจในการทํางานไว 9 องคประกอบคือ

1. โครงสรางองคการ หมายถึง สิ่งที่แสดงใหเห็นถึงกิจกรรมตาง ๆ ภายในองคการและแสดงถึงความสัมพันธในลักษณะตาง ๆ ของหนวยงานในองคการ

2. ลักษณะงาน หมายถึง งานที่ปฏิบัติอยูเปนงานที่ตรงกับความรูความสามารถหรือตรงกับตําแหนงสายงานหรือไมเปนงานประจําปหรือชั่วคราวมีปริมาณมากหรือนอยเปนงานที่นาสนใจทาทายงายหรือยาก

3. ความมีอิสระในการทํางาน หมายถึง การปฏิบัติงานในหนาที่หรืองานที่ไดรับมอบหมายน้ันมีการตรวจตราหรือควบคุมอยางใกลชิดมีการเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานไดมีอิสระในการแกปญหาหรือรับผิดชอบ

4. ความสําเร็จในการทํางาน หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานหรือแกปญหาตาง ๆ ในงานใหบรรลุผลสําเร็จ

5. ความมั่นคงและความกาวหนาในการทํางาน หมายถึง โอกาสที่ผูปฏิบัติงานจะไดรับการพิจารณาความดีความชอบการเลื่อนเงินเดือนการเลื่อนตําแหนงการศึกษาตอการดูงานและฝกอบรมรวมถึงความมั่นคงที่ไดรับความคุมครองจากกฎหมาย

6. เงินเดือนและสวัสดิการ หมายถึง เงินเดือนและผลประโยชนตาง ๆ ที่ทางสํานักงานจัดหาไวใหเชนคาเบี้ยเลี้ยงที่พักอาศัยอาหารและคารักษาพยาบาล

7. การปกครองบังคับบัญชา หมายถึง การปกครองดูแลและกํากับใหเปนไปตามนโยบายที่ไดกําหนดการเอาใจใสตอการปฏิบัติงานการติดตามงานและใหคําปรึกษาแกผูใตบังคับบัญชา

8. สภาพการทํางาน หมายถึง สิ่งแวดลอมในการทํางานไดแกเพื่อนรวมงานอาคารสถานที่เคร่ืองมืออุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวกในการทํางาน

Page 19: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

10

9. สัมพันธภาพในการทํางาน หมายถึง การอยูรวมกันการทํางานรวมกัน พบปะสังสรรคปรึกษาหารือ การใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางเพื่อนรวมงานรวมทั้งสัมพันธภาพของพนักงานที่มีตอผูบริหารผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน

อรอุมา คมสัน (2551, หนา 15) กลาววา องคประกอบหรือปจจัยที่มีอิทธิพลตอความพอใจในงานน้ันสามารถแยกไดเปนปจจัยสิ่งแวดลอมและปจจัยเกี่ยวกับมนุษยเองดังน้ี

1. ปจจัยสิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งแวดลอมต้ังแตที่แคบที่สุดหรือระดับจุลภาคซึ่งถือปจจัยสิ่งแวดลอมในองคกรไปจนถึงสิ่งแวดลอมที่กวางที่สุดหรือระดับมหภาคซึ่ง ไดแก สภาพเศรษฐกิจสังคมและการเมืองในขณะน้ันในจํานวนปจจัยทั้ง 2 ประเภทน้ีปจจัยที่ไดรับความสนใจมากที่สุดไดแก ปจจัยระดับจุลภาคหรือปจจัยสภาพแวดลอมในองคกรซึ่งถือวางานกับสภาพแวดลอมและองคกรกับสภาพแวดลอมเปนปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอระดับของความพอใจมากนอยของคนทํางานโดยตรง

2. ปจจัยเกี่ยวกับตัวมนุษยเอง ไดแก ปจจัยดานประชากรเชนอายุเพศการศึกษาปจจัยดานบุคลิกภาพซึ่งถือคานิยมความตองการปฏิสัมพันธกับบุคคลอ่ืนและปจจัยความสามารถ เชน ความเฉลียวฉลาด ความชํานาญ เปนตน อยางไรก็ดีมีขอสังเกตวาปจจัยเหลาน้ีมิไดกําหนดระดับความพึงพอใจหรือไมนาพอใจเทาน้ัน

Kotler (1994, p. 690 อางถึงใน อรอุมา คมสัน, 2551, หนา 16-20) ไดกลาวถึงขบวนการสรางความพึงพอใจของผูปฏิบัติงานไววาถาผูปฏิบัติงานไดมากเมื่อปฏิบัติงานไดมากก็จะทําใหไดรับรางวัลมากขึ้นซึ่งจะนําไปสูความพึงพอใจแลวจะทําใหเกิดแรงจูงใจและการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น ๆ

Motivation Effort Performance Reward Satisfaction

ภาพที่ 1 กระบวนการสรางความพึงพอใจของผูปฏิบัติงานที่มา : Kotler (1994, p. 690 อางถึงใน อรอุมา คมสัน, 2551, หนา 16-20)

การที่ผูปฏิบัติงานจะเกิดความพึงพอใจในการทํางานมากนอยเพียงใดน้ันขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการทั้งที่เปนปจจัยที่มีอยูในการทํางานและปจจัยที่มีอยูในตัวผูปฏิบัติเองนักวิชาการและนักพฤติกรรมศาสตรหลายทานไดกลาวถึงปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอความพึงพอใจในงานประกอบดวย3 ปจจัยดังน้ี

Page 20: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

11

1. ปจจัยดานบุคคลจะประกอบไปดวยสิ่งตาง ๆ ดังตอไปน้ีคือ1.1 ประสบการณ จากการศึกษาในงานวิจัยพบวา ประสบการณในการทํางานมีสวน

เกี่ยวของกับความพึงพอใจในการทํางานบุคคลที่ทํางานนานจนมีความรูความชํานาญในงานมากขึ้นทําใหเกิดความพึงพอใจกับงานที่ทํา

1.2 เพศ แมวางานวิจัยหลายชิ้นจะแสดงวาเพศไมมีความสัมพันธกับความพึงพอใจในการทํางานก็ตามแตก็ขึ้นอยูกับลักษณะงานที่ทําดวยวาเปนงานลักษณะใดรวมทั้งเกี่ยวของกับระดับความทะเยอทะยานและความตองการทางดานการเงินเพศหญิงมีความอดทนที่จะทํางานที่ตองใชฝมือและงานที่ตองการความละเอียดออนมากกวาชาย

1.3 จํานวนสมาชิกในความรับผิดชอบกลุมที่ทํางานดวยกันมีผลตอความพึงพอใจในการทํางานซึ่งตองการความสามารถหลายอยางประกอบกันตองมีสมาชิกที่มีลักษณะในงานหลายดานและความปรองดองกันของสมาชิกในการทํางานก็มีสวนที่จะนําไปสูความสําเร็จในการทํางาน

1.4 อายุแมจะมีผลตอการทํางานไมเดนชัดแตอายุก็เกี่ยวของกับระยะเวลาและประสบการณในการทํางานผูที่มีอายุมากมักจะมีประสบการณในการทํางานนานดวยแตก็ขึ้นอยูกับลักษณะงานและสถานการณในการทํางานดวย

1.5 เวลาในการทํางาน งานที่ทําในเวลาปกติจะสรางความพึงพอใจในการทํางานมากกวางานที่ตองทําในเวลาที่บุคคลอ่ืนไมตองทํางานเพราะเกี่ยวกับการพักผอนและการสังสรรคกับผูอ่ืนดวย

1.6 เชาวปญญา ปญหาเร่ืองเชาวปญญากับความพึงพอใจในการทํางานขึ้นอยูกับสถานการณและลักษณะงานที่ทําในบางลักษณะไมพบความแตกตางระหวางเชาวปญญากับความพึงพอใจในการทํางานแตในลักษณะงานบางอยางพบวามีความแตกตางกันงานบางชนิดไมเหมาะสมกับความสามารถของคนงานจึงทําใหเกิดความเบื่อหนายในการทํางาน

1.7 การศึกษากับความพึงพอใจในการทํางานน้ันมีผลการวิจัยไมเดนชัดนักจากงานวิจัยบางแหงพบวา การศึกษาไมแสดงถึงความแตกตางระหวางความพึงพอใจในการทํางานแตมักจะขึ้นอยูกับงานที่ทําวาเหมาะสมกับความรูความสามารถของเขาหรือไม

1.8 บุคลิกภาพ ปญหาเร่ืองบุคลิกภาพกับความพึงพอใจงานน้ันอยูที่เคร่ืองมือวัดบุคลิกภาพที่ไมเที่ยงตรงสิ่งหน่ึงที่เห็นไดชัดเจนก็คือ คนที่มีอาการของโรคประสาทมักจะไมพอใจในการทํางานมากกวาคนที่ปกติทั้งน้ีอาจจะเปนเพราะความไมพึงพอใจในการทํางานเปนเหตุใหเกิดโรคประสาทไดเพราะตองเครียดกับภาวะของความไมพึงพอใจในการทํางาน

1.9 ระดับเงินเดือน จากงานวิจัยหลายชิ้นพบวา เงินเดือนมีสวนในการสรางความพึงพอใจในการทํางานเงินเดือนที่มากพอแกการดํารงชีพตามสถานภาพทําใหบุคคลไมตองด้ินรนมาก

Page 21: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

12

นักที่จะไปทํางานเพิ่มนอกเวลาทํางานและเงินเดือนยังเกี่ยวของกับการสามารถจัดหาปจจัยอ่ืนที่สําคัญแกการดํารงชีวิตอีกดวยผูที่มีเงินเดือนสูงจึงมีความพึงพอใจในการทํางานสูงกวาผูที่มีเงินเดือนตํ่า

1.10 แรงจูงใจในการทํางาน แรงจูงใจเปนการแสดงออกถึงความตองการของบุคคลโดยเฉพาะแรงจูงใจจากปจจัยตัวผูทํางานเองก็จะสรางความพึงพอใจในการทํางานความสนใจในงานบุคคลที่สนใจในงานที่ตัวเองถนัดและพอใจจะมีความสุขและความพึงพอใจในการทํางานมากกวาบุคคลที่มีศูนยความสนใจในชีวิตไมไดอยูที่งาน

2. ปจจัยดานงานจะประกอบไปดวยสิ่งตาง ๆ ดังตอไปน้ีคือ2.1 ลักษณะของงาน ไดแก ความนาสนใจในตัวงาน ความแปลกของงาน โอกาสที่จะ

เรียนรูและศึกษางานโอกาสที่จะทําใหงานสําเร็จ การรับรูหนาที่รับผิดชอบ การควบคุมการทํางานและวิธีทํางานการที่ผูทํางานมีความรูสึกตองานที่ทําอยูวาเปนงานที่สรางสรรคเปนประโยชนทาทายเปนตน สิ่งเหลาน้ีจะทําใหผูปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจในการทํางานมีความตองการที่จะปฏิบัติงานน้ัน ๆ และเกิดความผูกพันกับงาน

2.2 ทักษะในการทํางาน ความชํานาญในงานที่ทํามักจะตองพิจารณาควบคูไปกับลักษณะงานฐานะทางอาชีพความรับผิดชอบเงินเดือนที่ไดรับตองพิจารณาไปดวยกันจึงจะเกิดความพึงพอใจในงาน

2.3 ฐานะทางวิชาชีพ จากการศึกษาวิจัยพบวา ประมาณคร่ึงหน่ึงของเสมียนมีความพึงพอใจในการทํางานแตจะมีถึงรอยละ 17 ที่พบวา ถามีโอกาสก็อยากจะเปลี่ยนงานในสภาวะที่เศรษฐกิจดีมีงานใหเลือกทําจะมีการเปลี่ยนงานบอยเพื่อจะเลื่อนเงินเดือนเลื่อนฐานะของตนเองดังน้ันตําแหนงทางการงานที่มีฐานะวิชาชีพสูง เชน การเปนเจาของกิจการผูจัดการจะมีความพึงพอใจในการทํางานสูงกวาระดับอาชีพที่มีฐานะทางอาชีพตํ่ากวา ความจริงแลวตองพิจารณาควบคูไปกับความอิสระในงานความภาคภูมิใจในงานประกอบไปดวยทั้งน้ีก็เพราะฐานะทางอาชีพนอกจากขึ้นอยูกับบุคคลน้ันเปนผูพิจารณาความสําคัญแลวยังขึ้นอยูกับบุคคลอ่ืนในสังคมเปนผูพิจารณาตัดสินดวยในแตละสังคมแตละหนวยงานใหความสําคัญของฐานะทางวิชาชีพแตกตางกันไประยะเวลาที่ผานไปความคิดเห็นเกี่ยวกับฐานะทางวิชาชีพก็เปลี่ยนไปดวย

2.4 ขนาดของหนวยงาน ความพึงพอใจในการทํางานในหนวยงานขนาดเล็กจะดีกวาเมื่อเปรียบเทียบกับหนวยงานขนาดใหญ หนวยงานขนาดเล็กพนักงานมีโอกาสรูจักกันทํางานคุนเคยกันไดงายกวาหนวยงานใหญทําใหพนักงานมีความรูสึกเปนกันเองและรวมมือชวยเหลือกันขวัญในการทํางานดีทําใหเกิดความพึงพอใจในการทํางาน

Page 22: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

13

2.5 ความหางไกลของบานและที่ทํางาน การที่บานหางไกลทําใหการเดินทางไมสะดวกตองต่ืนแตเชามืดรถติดและเหน็ดเหน่ือยจากการเดินทางจะมีผลตอความพึงพอใจในการทํางาน คนที่จะเปนคนจังหวัดหน่ึงแตตองไปทํางานในอีกจังหวัดหน่ึงสภาพของทองถิ่นความเปนอยูภาษาไมคุนเคยทําใหเกิดความไมพึงพอใจในการทํางานเน่ืองจากการปรับตัวและการสรางความคุนเคยตองใชระยะเวลานาน

2.6 สภาพทางภูมิศาสตร ในแตละทองถิ่นแตละพื้นที่มีสวนสัมพันธกับความพึงพอใจในการทํางาน คนงานในเมืองใหญมีความพึงพอใจในการทํางานนอยกวาคนงานในเมืองเล็กทั้งน้ีเน่ืองจากความคุนเคยความใกลชิดระหวางคนงานในเมืองเล็กมีมากกวาในเมืองใหญทําใหเกิดความอบอุนและมีความสัมพันธกัน

2.7 โครงสรางของงาน หมายถึง ความชัดเจนของงานที่สามารถอธิบายชี้แจงเปาหมายของงานรายละเอียดของงานตลอดจนมาตรฐานในการปฏิบัติงาน หากโครงสรางของงานชัดเจนยอมสะดวกแตผูปฏิบัติงานสามารถปองกันมิใหเกิดความบิดพลิ้วในการทํางานดวย นอกจากน้ียังพบวางานใดที่มีโครงสรางของงานดีรูวาจะทําอะไรและดําเนินการอยางไรสภาพการณควบคุมจะงายขึ้น

3. ปจจัยดานการจัดการจะประกอบไปดวยสิ่งตาง ๆ ดังตอไปน้ีคือ3.1 ความมั่นคงในงาน สรุปจากการศึกษาคนควาสวนใหญจะพบวา พนักงานมีความ

ตองการงานที่มีความแนนอนมั่นคงแมวาในปจจุบันบุคคลจะสนใจเร่ืองความมั่นคงนอยลงก็ตามแตบริษัทที่ประสบความสําเร็จในการบริหารงาน เชน บริษัทญ่ีปุนก็ยังคิดถึงความมั่นคงของงานคือมีการจางงานตลอดชีวิต จากการสํารวจโดยการสอบถามเกี่ยวกับความตองการความมั่นคงของงานปรากฏวารอยละ 80 ตองการงานที่มีความมั่นคงพนักงานของบริษัทและโรงงานตองการจะอยูทํางานจนถึงวัยเกษียณแมวาเขาจะไมมีเงินเก็บพอที่จะเลี้ยงตัวในวัยชราก็ตามก็ยังยินดีจะอยูจนถึงทํางานไมไหว ความมั่นคงในงานถือเปนสวัสดิการอยางหน่ึงโดยเฉพาะในวันที่พนจากการทํางานแลวและเปนความตองการของพนักงานนอกจากความตองการอยางอ่ืนของพนักงานซึ่ง ไดแกความสนใจในงานที่ตนเองถนัดและมีความสามารถ ไมทํางานที่หนักและมากจนเกินไป งานที่ทําใหความกาวหนาและไดรับรางวัลตอบแทนจากความต้ังใจทํางาน

3.2 รายรับ ฝายบริการตองคิดอยูเสมอวาพนักงานจะมีความพึงพอใจในการทํางานน้ันควรจะทําใหรายรับของพนักงานสามารถดํารงอยูในสภาวะเศรษฐกิจในปจจุบันได

3.3 ผลประโยชน เชนเดียวกับรายรับฝายบริหารของบริษัทและโรงงานเห็นวาการไดรับผลประโยชนเปนสิ่งชดเชยและสรางความพึงพอใจในงานได แตจากการศึกษาซึ่งก็พบเชนเดียวกับรายรับพนักงานบางสวนอาจใหความสนใจนอยกวาความมั่นคงในงานและ

Page 23: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

14

ความกาวหนาในการทํางานทั้งน้ีอาจเปนเพราะการจายคารักษาพยาบาล คาเลาเรียนบุตรคาประกันสังคมและประกันชีวิตตาง ๆ ถูกจัดอยูในดานความมั่นคงและสวัสดิการในการทํางาน

3.4 โอกาสกาวหนา โอกาสที่จะมีความกาวหนาในการทํางานมีความสําคัญสําหรับอาชีพหลายอาชีพ เชน การขาย เสมียน พนักงาน และบุคคลที่ใชฝมือและความชํานาญงานแตมีการศึกษาสูงและอยูในตําแหนงสูง จากการศึกษาพบวาคนสูงวัยใหความสนใจกับโอกาสกาวหนาในงานนอยกวาคนที่ออนวัยอาจเปนเพราะวาคนสูงวัยไดผานโอกาสความกาวหนามาแลว

3.5 อํานาจตามตําแหนงหนาที่ หมายถึง อํานาจที่หนวยงานมอบใหตามตําแหนงเพื่อควบคูสั่งการผูใตบังคับบัญชาหรือผูรวมงานใหปฏิบัติงานที่มอบหมายใหสําเร็จงานบางอยาง มีอํานาจตามตําแหนงที่เดนชัด งานบางอยางมีอํานาจที่ไมเดนชัดทําใหผูทํางานปฏิบัติงานยากและอึดอัดอํานาจตามตําแหนงหนาที่จึงมีผลตอความพึงพอใจในการทํางาน

3.6 สภาพการทํางาน พนักงานมีความคิดเห็นแตกตางกันมากมายในเร่ืองสถานการณและสภาพการทํางาน มีพนักงานที่ทํางานในสํานักงานที่ใหความสําคัญกับสภาพของการทํางานความพอใจในการทํางานมาจากสาเหตุของสภาพในที่ทํางาน

3.7 เพื่อนรวมงาน เพื่อนรวมงานเปนสวนหน่ึงที่จัดเขาในปจจัยที่เกิดความพึงพอใจในการทํางานความสัมพันธที่ดีระหวางเพื่อนรวมงานทําใหคนเรามีความสุขในที่ทํางาน สัมพันธภาพระหวางเพื่อนจึงเปนความสําคัญและเปนปจจัยที่ทําใหเกิดความพึงพอใจในการทํางาน

3.8 ความรับผิดชอบ จากการศึกษาพบวา พนักงานที่มีขวัญและกําลังใจดีจะมีความรับผิดชอบในงานสูงความพอใจในการทํางานมีความสัมพันธระหวางความรับผิดชอบรวมกับปจจัยอ่ืน เชน อายุ ประสบการณ เงินเดือน และตําแหนงดวย

3.9 การนิเทศงาน สําหรับพนักงานการนิเทศก็คือ การชี้แนะในการทํางานจากหนวยงาน ดังน้ันความรูสึกตอผูนิเทศก็มักจะเนนความรูสึกที่มีตอหนวยงานและองคกรดวย จากการศึกษากรณีฮอรธอรนพบวา ขวัญและเจตคติของพนักงานขึ้นอยูกับความสัมพันธกับผูนิเทศงานการสรางความเขาใจที่ดีระหวางผูนิเทศงานและพนักงานจะเกิดบรรยากาศที่ดีในการทํางาน

3.10 การสื่อสารกับผูบังคับบัญชา การศึกษาหลายแหงพบวา พนักงานมีความตองการที่จะรูวาการทํางานของตนเปนอยางไรจะปรับปรุงการทํางานของตนอยางไรขาวสารจากบริษัทหนวยงานตาง ๆ จึงมีความสําคัญสําหรับผูปฏิบัติงานงานของตนจะกาวหนาตอไปหรือไมพนักงานมักจะไดขาวของหนวยงานนอยกวาที่ตองการ

3.11 ความศรัทธาในตัวผูบริหาร พนักงานที่ชื่นชมความสามารถของผูบริหารจะมีขวัญและกําลังใจในการทํางานเปนผลใหเกิดความพึงพอใจในการทํางานดวยความศรัทธาในดานความสามารถและความต้ังใจที่ผูบริหารมีตอหนวยงานทําใหพนักงานหนวยงานทํางานอยางมี

Page 24: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

15

ประสิทธิภาพและเกิดความพอใจในการทํางานในหนวยงานดวย3.12 ความเขาใจกันระหวางผูบริหารกับพนักงาน ความเขาใจดีตอกันทําใหพนักงาน

เกิดความพึงพอใจในการทํางานสรุปไดวา องคประกอบที่ทําใหเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานน้ัน มีหลาย

องคประกอบดวยกัน ทั้งองคประกอบจากภายในบุคคลเอง และองคประกอบจากสภาพแวดลอมภายนอก

3. ทฤษฎีสําหรับการสรางความพึงพอใจ3.1 ทฤษฎีความตองการ ของมาสโลว (Maslow, 1970, pp. 40-45)ทฤษฎีความตองการของมาสโลว เปนทฤษฎีหน่ึงที่สนใจศึกษาถึงความตองการของ

มนุษย และไดเสนอทฤษฎีความตองการตามลําดับขึ้นขึ้นมา โดยมีสาระสําคัญคือ มนุษยจะมีความตองการอยูตลอดเวลาไมมีที่สิ้นสุด ตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู และความตองการของคนจะมีลักษณะเปนลําดับขึ้นจากตํ่าไปหาสูงตามลําดับความสําคัญ โดยมนุษยจะเกิดความตองการในลําดับที่สูงขึ้นมา ซึ่งความตองการของมนุษยจะเปนตัวผลักดันในมนุษยกระทําในสิ่งตาง ๆ เพื่อใหไดสิ่งที่ตองการขึ้นมา มาสโลวไดแยกลําดับขั้นความตองการของมนุษยออกเปน 5 ลําดับขั้น ดังน้ี

ขั้นที่ 1 ความตองการทางกายภาพ (Physiological needs) หมายถึง ความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษยที่มนุษยจะขาดไมได ไดแก ความตองการดานปจจัย 4 คือ อาหาร เคร่ืองนุงหมยารักษาโรค ที่อยูอาศัย ซึ่งเปนความตองการที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษย หากมนุษยไดรับการตอบสนองตอความจําเปนขั้นพื้นฐานจนเปนที่พอใจแลวมนุษยจะมคีวามตองการในลําดับสูงขึ้นอีก และจะเปนสิ่งกระตุนพฤติกรรมของมนุษยตอไป

ขั้นที่ 2 ความตองการทางดานความปลอดภัย (Safety needs) หมายถึง ความมั่นคงปลอดภัยทั้งรางกายและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ไดแก ความปลอดภัยจากสิ่งตาง ๆ รอบดานปลอดภัยจากอุบัติเหตุ โจรผูราย ปองกันใหตนพนจากภัยอันตรายตาง ๆ หรือถูกแยงชิงทรัพยสินของตนหรือตองการใหตนมีความมั่นคงในการทํางาน มีหลักประกันตาง ๆ ในการทํางานหรือประกอบอาชีพ การมีบําเหน็จบํานาญมีเงินชดเชยในการเลี้ยงชีพ

ขั้นที่ 3 ความตองการทางดานสังคม (Social needs) หมายถึง การตองการที่เปนลักษณะนามธรรมมากขึ้น ไดแก ความตองการเขาไปมีสวนรวมกับสังคมหรือเปนที่ยอมรับในสังคม เปนสวนหน่ึงของสังคม สามารถมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ รวมถึงการมีสถานภาพทางสังคมที่สูงขึ้นไปดวย

Page 25: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

16

ขั้นที่ 4 ความตองการการยกยองนับถือ ยอมรับ (Esteem needs) หมายถึง ความตองการที่จะมีเกียรติยศ ชื่อเสียง ไดรับการเคารพยกยองในสังคม ตองการใหผูอ่ืนยอมรับนับถือวาเปนบุคคลที่มีคุณคา มีความรูความสามารถ ความตองการเชนน้ีมีความเขมขนสูงกวาความตองการทางสังคม

ขั้นที่ 5 ความตองการที่จะประสบความสําเร็จสมหวังของตัวเอง (Self actualizationneeds) หมายถึง ความตองการที่จะประสบความสําเร็จสมหวังในชีวิตที่อยากทํา อยากเปนสิ่งที่ตนหวังไว ฝนไว ไดทําสิ่งที่ตนเองตองการและมีความสุขกับสิ่งน้ัน ถือวาเปนความตองการสูงสุดของมนุษย มนุษยจะเกิดความตองการถึงขั้นน้ีไดก็ตอเมื่อไดรับการตอบสนองในลําดับตน ๆ มา

จากแนวคิดของมาสโลวน้ี สามารถนํามาเปนแนวทางเพื่อบงชี้ใหเห็นถึงความพึงพอใจในการทํางานของบุคคลที่ขึ้นอยูกับความตองการระดับตนถึงระดับสูงสุด ซึ่งเปนไปอยางตอเน่ืองจากขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 5 แตแนวความคิดน้ียังมีจุดออนอยูเพราะคนแตละคนอาจจะมีความตองการไมเปนไปตามลําดับที่มาสโลวเสนอไว และลําดับขึ้นความสําคัญอาจเหลื่อมล้ํากันหรืออาจเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนไป เชน ชวงภาวะสงคราม ความตองการความปลอดภัย อาจจะมีความสําคัญมากกวาความตองการขั้นพื้นฐาน เปนตน

3.2 ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ แม็กเกรเกอร (McGragor)ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ แม็กเกรเกอร (กาญจนา ณ ลําพูน, 2550, หนา 29-30)

เปนแนวคิดเกี่ยวกับการจูงใจคนในองคกรโดยไดต้ังสมมติฐานเกี่ยวกับการจูงใจคนมี 2 วิธี คือ1.วิธีเดิม (Tradition) หรือ ทฤษฎี X2. วิธีแบบมนุษยสัมพันธ หรือ ทฤษฎี Yทฤษฎีน้ีมีสาระสําคัญคือ ขอสมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษยแลวจะเปน

ลักษณะ ดังตารางที่ 1

Page 26: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

17

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ แม็กเกรเกอร

ทฤษฎี X ทฤษฎี Y1. มนุษยมีนิสัยขี้เกียจ พยายามหลีกเลี่ยงการทํางานใหมากที่สุด

1. มนุษยมีพื้นฐานแลว สามารถพัฒนาได มีความรับผิดชอบงานได มีจิตใจที่ควบคุมตนเองไดในการกระทําสิ่งตาง ๆ ใหบรรลุเปาหมายขององคกรได

2. มนุษยขาดความทะเยอทะยาน ไมประสงคจะรับผิดชอบงาน เปนผูตามมากกวาผูนํา

2. มนุษยจะไมเฉื่อยชา และสามารถกํากับตัวเองได มีความคิดสรางสรรค ในงานถาไดรับการจูงใจอยางเหมาะสม ทั้งในการยกยองนับถือและการใหชื่อเสียงเกียรติยศ

3. มนุษยมีความเห็นแกตัว ไมยินดียินรายกับความตองการขององคกรและสวนรวมหน่ึงขององคกร

3. มนุษยมีความพยายามในการจัดสภาพของบุคคลและมีความตองการในการปฏิบัติงานโดยผูปฏิบัติงานจะกลายเปนสิ่งเดียวกันกับเปาหมายขององคกร

4. มนุษยมีนิสัยไมชอบการเปลี่ยนแปลง5. มนุษยไมฉลาดนัก มักถูกหลอกงาย

ที่มา: กาญจนา ณ ลําพูน (2550, หนา 30)

แนวความคิดในทฤษฎี X จะตองใชวิธีจูงใจและปฏิบัติ ดังน้ี คือ1. ฝายจัดการตองเปนผูจัดสวนประกอบตาง ๆ ขององคกรทั้งหมด ไมวาจะเปนคน เงิน

และวัสดุเคร่ืองมือ เคร่ืองใชตาง ๆ2. ฝายจัดการมีหนาที่ควบคุมการใชวิธีการจูงใจ และปรับพฤติกรรมของคนให

สอดคลองกับความตองการขององคกร3. ฝายจัดการจะตองทําการควบคุมคนงานหรือพนักงานอยางใกลชิด มิฉะน้ันคนงานจะ

ขี้เกียจทํางาน ไมกระตือรือรน ขาดความรับผิดชอบ และชอบใหมีการกํากับสั่งการอยูตลอดเวลา ซึ่งมีการจูงใจที่เหมาะสมคือ การใชการจูงใจแบบการใหรางวัลและการลงโทษ

Page 27: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

18

การจูงใจตามหลักของทฤษฎี X จะสามารถตอบสนองไดเฉพาะในระดับความตองการทางกายภาพ (ขั้นที่ 1 ของมาสโลว) และ ความตองการความปลอดภัยเทาน้ัน (ขั้นที่ 2 ของมาสโลว)เพราะคนสวนใหญตองการการถูกควบคุมและตองการบังคับขูขวัญ เพื่อที่ไดทํางานใหบรรลุผลตามเปาหมายขององคกร

แนวความคิด ในทฤษฎี Y จะมีวิธีการจูงใจและปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาคือ กํากับสั่งการผูใตบังคับบัญชาอยางเครงครัด ทําใหผูใตบังคับบัญชาขาดความคิดริเร่ิมและจะนําไปสูความเบื่อหนายตอผูบังคับบัญชาและองคกรได

แนวความคิดในทฤษฎี Y จะปลอยใหผูใตบังคับบัญชาทํางานตามความรู ความสามารถของตนเองอยางอิสระ โดยผูบังคับบัญชาจะเปนเพียงผูใหการสนับสนุน ชี้แนะและอํานวยความสะดวกเทาที่จําเปนเทาน้ัน ซึ่งจะทําใหผูใตบังคับบัญชาเกิดความรูสึกพึงพอใจในการทํางาน

เมื่อนําเอาแนวความคิดของทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ แม็กเกรเกอรมาประยุกตกับแนวความคิดของตามลําดับขั้นของมาสโลว แลวอาจกลาวไดวา วิธีการจูงใจคนน้ัน ตามทฤษฎี Xจะสามารถตอบสนองความตองการขั้นตน ๆ สวนแบบทฤษฎี Y จะสามารถตอบสนองความตองการในลําดับขั้นสูง ๆ เพราะตองอาศัยกลยุทธในการจูงใจ

3.3 ทฤษฎีสองปจจัยของเฮิรซเบิรก (Herzberg’s two - factors theory)ทฤษฎีสองปจจัยของเฮิรซเบิรก (Herzberg, 1959, pp.113-115 อางถึงใน นวรัตน

วิบูลยศรี, 2550, หนา 13-14) เปนทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทํางานของบุคคลในองคกรทฤษฎีน้ีมีชื่อเรียกแตกตางกันบางทีก็เรียกวา Motivation - Maintenance theory และ Dualfactor theory ที่มาของทฤษฎีน้ีมาจากเฮิรซเบอรกและคณะ ไดศึกษาคนควาเมื่อประมาณปค.ศ. 1959 โดยวิธีการสัมภาษณนักบัญชีและวิศวกร 200 คนจากภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมที่เมืองพิทสเบิรก มลรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกาไดขอสรุปวาคนเรามีความตองการที่แยกจากกันโดยอิสระอยู 2 ประเภทที่ไมขึ้นอยูระหวางกันและมีผลกระทบตอพฤติกรรมของคนในการทํางานดวยการคนพบวาเมื่อคนมีความรูสึกไมพอใจตองานก็จะพูดถึงสภาพแวดลอมการทํางานในทางลบเมื่อคนมีความรูสึกที่ดีตอการทํางานพวกเขาจะพูดถึงงานในทางบวกเฮิรซเบอรกไดจําแนกประเภทของสองปจจัยคือ ปจจัยจูงใจและปจจัยค้ําจุน ประเภทปจจัยจูงใจ (Motivation factor) เปนปจจัยที่สามารถจูงใจคนใหทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้นสวนประเภทปจจัยค้ําจุน (Hygiene factor) เปนปจจัยที่อยูในสภาพแวดลอมของการทํางานและทําหนาที่ปองกันไมใหบุคคลเกิดความเบื่อหนายหรือไมพึงพอใจในการทํางาน ดังน้ี

Page 28: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

19

1. ปจจัยจูงใจ (Motivation factors) มี 5 ประการคือ1.1 ความสําเร็จในงานที่ทํา (Achievement) หมายถึง การที่บุคคลมีความสามารถใน

การแกปญหาตาง ๆ การรูจักปองกันปญหาที่เกิดขึ้นคร้ันผลงานสําเร็จจึงเกิดความรูสึกพอใจในผลงานที่ทําสําเร็จน้ันเปนอยางยิ่ง

1.2 การไดรับความยอมรับนับถือ (Recognition) หมายถึง การไดรับการยอมรับนับถือจากผูบังคับบัญชาเพื่อนรวมงานผูมาขอคําปรึกษาและจากบุคคลในหนวยงานหรือบุคคลทั่วไปการยอมรับนับถือน้ีอาจอยูในรูปของการยกยองชมเชยแสดงความยินดีการใหกําลังใจหรือแสดงออกอ่ืนใดที่ทําใหเห็นถึงการยอมรับในความสามารถ

1.3 ลักษณะของงานที่ปฏิบัติ (Work itself) หมายถึง งานที่นาสนใจงานที่ตองอาศัยความคิดริเร่ิมสรางสรรคทาทายใหลงมือทําหรือเปนลักษณะงานที่ทําต้ังแตตนจนจบไดโดยลําพังผูเดียว

1.4 ความรับผิดชอบ (Responsibility) หมายถึงความพึงพอใจที่เกิดจากการที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบงานใหม ๆ และมีอํานาจรับผิดชอบอยางเต็มที่ไมมีการตรวจหรือควบคุมอยางใกลชิด

1.5 ความกาวหนา (Advancement) หมายถึง การไดเลื่อนระดับขั้นการเลื่อนตําแหนงใหสูงขึ้นมีโอกาสไดศึกษาเพื่อหาความรูเพิ่มเติมไดรับการฝกอบรมและดูงาน

2. ปจจัยค้ําจุน (Hygiene factor) มี 9 ประการคือ2.1 เงินเดือน (Salary) หมายถึง เงินเดือนและการเลื่อนขึ้นเงินเดือนในหนวยงานน้ัน

เปนที่พอใจของบุคคลที่ทํางาน2.2 โอกาสที่จะไดกาวหนาในอนาคต (Possibility growth) หมายถึง การที่บุคคล

ไดรับการแตงต้ังเลื่อนตําแหนงภายในหนวยงานการไดรับการพัฒนาความรูความสามารถและทักษะจากการปฏิบัติงาน

2.3 ความสัมพันธกับผูบังคับบัญชาผูใตบังคับบัญชาเพื่อนรวมงาน (Interpersonalrelation superior, subordinate, peers) หมายถึง การติดตอไมวาจะเปนปฏิกิริยาหรือวาจาที่แสดงถึงความสัมพันธอันดีตอกันสามารถทํางานรวมกันมีความเขาใจซึ่งกันและกันอยางดี

2.4 สถานะทางอาชีพ (Status) หมายถึง อาชีพน้ันเปนที่ยอมรับนับถือของสังคมมีเกียรติและมีศักด์ิศรี

2.5 วิธีการปกครองบังคับบัญชา (Supervision technical) หมายถึง ผูบังคับบัญชามีความรูความสามารถในการปกครองไมมีอคติยุติธรรมรวมทั้งมีความสามารถเปนผูนําทางวิชาการและเทคโนโลยีได

Page 29: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

20

2.6 นโยบายและการบริหาร (Company policy and administration) หมายถึง การจัดการและบริหารงานขององคการที่มีประสิทธิภาพ

2.7 สภาพเงื่อนไขในการทํางาน (Working conditions) หมายถึง สภาพทางกายภาพของงานเชนแสงเสียงอากาศชั่วโมงการสอนรวมทั้งลักษณะสิ่งแวดลอมอ่ืน ๆ เชนอุปกรณหรือเคร่ืองมือตาง ๆ

2.8 ความเปนอยูสวนตัว (Personal life) หมายถึง ความรูสึกที่ดีหรือไมดีอันเปนผลที่ไดรับจากงานในหนาที่ของเขาเชนการที่บุคคลตองถูกยายที่ทํางานไปในที่แหงใหมซึ่งหางไกลจากครอบครัวทําใหเขาไมมีความสุขและไมพอใจกับการทํางานในที่แหงใหม

2.9 ความมั่นคงในงาน (Job security) หมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่มีตอความมั่นคงในการทํางานและความยั่งยืนของอาชีพหรือความมั่นคงขององคการ

เฮิรซเบิรก (Herzberg) มีความเห็นวาสิ่งที่ตรงขามกับความพึงพอใจ (Satisfaction)ไมใชความไมพึงพอใจ (Dissatisfaction) การขจัดสิ่งที่ทําใหเกิดความไมพึงพอใจออกไปไดไมจําเปนวาจะทําใหเกิดความพึงพอใจขึ้นมาแทนที่เปนแตเพียงทําใจใหเปนกลางคือยังยินดีที่จะทํางานตอไปตามความคิดเห็นน้ีเปนความเห็นวาสิ่งที่ตรงขามกับความพึงพอใจคือ ไมมีความพึงพอใจ (No satisfaction) และสิ่งที่ตรงขามกับความไมพึงพอใจคือ ไมมีความไมพึงพอใจ(No dissatisfaction) ทฤษฎีสองปจจัยสงผลตอพฤติกรรมการทํางานคือ ปจจัยจูงใจและปจจัยค้ําจุนโดยปจจัยจูงใจจะเปนสิ่งกระตุนใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพและมีผลตอความพึงพอใจในงานที่ทําสวนปจจัยค้ําจุนจะเปนสิ่งปองกันหรือค้ําจุนไมใหบุคลากรเบื่องานและเกิดความทอถอยไมอยากทํางาน

สําหรับในการวิจัยเร่ืองน้ี ผูวิจัยไดนําทฤษฎีแรงจูงใจของเฮิรซเบิรก (Herzberg’s two-factors theory) มาเปนตัวแปรตามในวิจัยเร่ืองน้ี โดยไดบูรณาการปจจัยจูงใจและปจจัยค้ําจุน มาสรุปรวมเปนตัวแปรที่ใชศึกษา 5 ดาน ไดแก ลักษณะของงาน ความมั่นคงในงาน เงินเดือนและสวัสดิการ ความกาวหนาในอาชีพ และความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน ซึ่งในแตละตัวแปรสามารถใหความหมาย ได ดังน้ี

1. ลักษณะของงาน หมายถึง ลักษณะของงานที่บุคคลกระทําใหสําเร็จลุลวงตามอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย สงเสริมใหผูทํามีโอกาสประสบผลสําเร็จไดแก ปริมาณงานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสม ตรงตามความถนัดและความเชี่ยวชาญ สามารถใชความคิดเปนของตนเองในการปฏิบัติงานได การปฏิบัติงานไมมีผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจ ทําใหมีความสุขในงานที่ไดรับมอบหมาย

Page 30: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

21

2. ความมั่นคงในงาน หมายถึง ความรูสึกมั่นใจวา อาชีพที่ปฏิบัติอยูมีความมั่นคง ไดแกความภาคภูมิใจในชื่อเสียงของธนาคาร ความพึงพอใจและรูสึกมั่นใจวา อาชีพที่ปฏิบัติอยูมีความมั่นคง นโยบายและการบริหารของระดับผูบริหารทําใหธนาคารมีความมั่นคงและมีความ เหมาะสมทําใหธนาคารไดรับการยอมรับจากสังคมในปจจุบัน

3. เงินเดือนและสวัสดิการ หมายถึง สิ่งที่ไดตอบแทนจากการปฏิบัติงานอาจเปนผลตอบแทนที่เปน ตัวเงินหรือสวัสดิการตาง ๆ ไดแก เงินเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบมีความเหมาะสม มีการเพิ่มเงินเดือนประจําป มีสวัสดิการดานคาเบี้ยเลี้ยง พาหนะในการทํางาน มีผลตอบแทนเงินโบนัสประจําปและทางธนาคารไดมีสวัสดิการอ่ืน เชนเคร่ืองแบบที่ธนาคารจัดใหคาเชาบาน คารักษาพยาบาล เปนตน

4. ความกาวหนาในอาชีพ หมายถึง การมีโอกาสกาวหนาในการปฏิบัติงาน การไดมีโอกาสเลื่อนตําแหนงสูงขึ้นและการพิจารณาความดีความชอบประจําปไดแกการไดรับโอกาสเลื่อนตําแหนงและเงินเดือนตามความสามารถและผลงานธนาคารไดเปดโอกาสไดพนักงานไดเขาประชุมฝกอบรม และสัมมนาเพื่อเพิ่มความรูและประสบการณธนาคารสนับสนุนใหทานศึกษาตอเพื่อเพิ่มเติมคุณวุฒิ หลักเกณฑการโยกยายตําแหนงการเลื่อนตําแหนงและปรับเงินเดือนมีความยุติธรรม

5. ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน หมายถึง ความรูสึกผูกพันและบรรยากาศในการทํางานระหวางผูบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงานในการปฏิบัติหนาที่ ไดแกผูบังคับบัญชามีการใหคําแนะนําและแกไขปญหาในการทํางานผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานสามารถแยกความสัมพันธสวนตัวออกจากเร่ืองการทํางานได การมีความสามัคคี มีการทํางานเปนทีม มีการประชุม สรุป แกไขปญหาการทํางานรวมกันของสาขา เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการปฏิบัติงานและมีการพบปะสังสรรคระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานตามโอกาส

แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษยคนเปนปจจัยสําคัญยิ่งของการจัดการ เพราะคนเปนผูปฏิบัติงานทุกอยางขององคการ

หากไมมีคน หรือคนไมมีคุณภาพ การจัดการใหบรรลุเปาหมายขององคการยอมดําเนินไปไดโดยยากยิ่ง การจะไดคนดีมีคุณภาพเขามาทํางานยอมขึ้นอยูกับการจัดการงานบุคคลที่ดี วัตถุประสงคของการจัดการงานบุคคลก็เพื่อใหไดคนที่มีความรูความสามารถมาปฏิบัติงานและควบคุมดูแลใหปฏิบัติงานบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายขององคการ หากการจัดการงานบุคคลไมดี องคการจะไดคนไมดี ขาดความรูความสามารถในการทงาน สรางปญหาใหแกผูบริหารและสรางปญหาใหแกองคการเปนอันมาก

Page 31: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

22

1. ระบบการจัดการงานบุคคลการจัดงานบุคคลแบงออกเปน 2 ระบบใหญ ๆ คือ การบริหารบุคคลระบบคุณธรรม

(Merit system) และการบริหารบุคคลระบบอุปถัมภ (Patronage system) ซึ่งมีหลักการดังตอไปน้ี(กาญจนา ณ ลําพูน, 2550, หนา 8-10)

1.1 ระบบคุณธรรม (Merit system)บางคนเรียกระบบคุณวุฒิ หรือระบบคุณความดี หรือระบบความสามารถ ไมวาจะ

เรียกชื่อใดก็ตามระบบน้ีมีหลักการอยู 4 ประการ ดังน้ี1.1.1 หลักความเสมอภาค (Equality of opportunity) เร่ิมต้ังแตการรับคนเขาทํางาน

ก็ตองต้ังอยูบนหลักแหงความเสมอภาค มิใชวาตองเปนพรรคพวก เปนญาติเปนใครก็ตาม ถามีคุณสมบัติตามที่หนวยงานน้ันตองการก็ยอมมีสิทธิสมัครสอบแขงขันเขาทํางานได และเมื่อเขามาเปนคนงานหรือพนักงานแลวก็ตองมีความเสมอภาคในการเลื่อนตําแหนง เชน บางตําแหนงทํางานในระดับ 3 มา 2 ปแลว มีสิทธิเลื่อนใหดํารงตําแหนงในระดับ 4 ได ทั้งน้ี ขึ้นอยูกับความสามารถเปนสําคัญ สิทธิน้ีตองเสมอภาคกับทุกคน หรือในการทํางานหากทํางานที่อยูในระดับความรับผิดชอบที่เทียบกันไดก็ตองไดรับคาตอบแทนที่เทาเทียมกัน

1.1.2 หลักความสามารถ (Competence) คนดีที่มีความสามารถเทาน้ันที่จะเขามาทํางานได และมีโอกาสกาวหนา เวลาจะรับคนเขาทํางานก็ยึดหลักวาหาคนที่ดีที่สุดเทาที่จะหาได จึงตองมีการสอบแขงขันกัน เวลาบรรจุก็บรรจุคนที่สอบไดที่ 1 กอนเพราะถือวาเปนผูมีความสามารถเหนือกวาผูอ่ืน การเลื่อนเงินเดือน เลื่อนระดับ ก็พิจารณาจากผูมีความสามารถ มีคุณสมบัติเหมาะสมกอน

1.1.3 หลักความมั่นคง (Security on tenure) ในระบบคุณธรรมมีการใหหลักประกันวาเมื่อเขามาทํางานจะไมถูกออกจากงานงาย ๆ มีกฎหมายระบุไวชัดเจนวา การเลิกจางจะทําไดในกรณีใดบาง เชน ตาย ลาออก ฯลฯ ความมั่นคงอาจรวมถึงการใหสวัสดิการ การใหไดรับบําเหน็จบํานาญดวย ทําใหผูทํางานรูสึกมั่นคงในการประกอบวิชาชีพ ไมตองหวงพะวงวาเมื่อออกจากงานแลวจะลําบาก

1.1.4 หลักความเปนกลางทางการเมือง (Political neutrality) งานราชการประจําเปนงานที่ตองกระทําตอเน่ืองกันไป จึงตองมีหลักประกันวาขาราชการจะไมถูกบีบบังคับจากอิทธิพลของฝายการเมืองที่อาจผลัดเปลี่ยนกันเขามาบริหารประเทศ ถาใหฝายการเมืองมามีอิทธิพลคนดีมีความสามารถก็จะหนีหายไมอยูรับราชการ ในทางหลักการจึงมีขอกําหนดไววาขาราชการประจําจะเขาไปเกี่ยวของกับขาราชการการเมืองไดแคไหนอยางไร หลักขอน้ีเนน ดานราชการมากกวาธุรกิจ

Page 32: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

23

จะเห็นวาแนวความคิดของระบบคุณธรรมสอดคลองกับแนวคิดตามระบอบประชาธิปไตย สําหรับประเทศไทยเราการบริหารงานบุคคลก็ยึดระบบคุณธรรมดวย แตเน่ืองจากพฤติกรรมตาง ๆ ปลอยปละละเลยเปนระบบอุปถัมภกันมานานจึงตองคอย ๆ เปลี่ยน มิใชเปลี่ยนอยางทันทีทันใด ทั้งน้ี เพราะคานิยมของคนไทยหลายอยางเปนอุปสรรคตอการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม เชน คานิยม การเอ้ือเฟอชวยเหลือคนที่รูจักคุนเคยก็อาจสงเสริมใหเกิดการเลนพรรคเลนพวกได เปนตน

1.2 ระบบอุปถัมภ (Patronage system)ระบบอุปถัมภมีชื่อเรียกหลายชื่อดวยกัน บางคนเรียกระบบพรรคพวก ระบบเลนพวก

ระบบศักดินา เปนระบบที่มีพฤติกรรมในการบริหารงานบุคคลตรงกันขามกับระบบคุณธรรมระบบอุปถัมภน้ีมีวิวัฒนาการมาต้ังแตสมัยยุโรป มีระบบศักดินา มีเจาขุนมูลนาย ซึ่งไดรับมอบหมายจากพระเจาแผนดินใหดูแลกิจการตาง ๆ มีขาทาสบริวารที่เลี้ยงไวเมื่อจะต้ังคนใหทํางานก็ต้ังจากบริวาร เปนดังน้ีสืบเน่ืองกันมาเร่ือย ๆ

ในสหรัฐอเมริการะบบน้ีแพรหลายมากในสมัยประธานาธบิดีแอนดรูว แจ็กสัน(Andrew Jackson) เมื่อไดดํารงตําแหนงก็ปลดคนเกา ๆ ที่ประธานาธิบดีจอรจ วอชิงตัน (GeorgeWashington) ต้ังไวออก แลวเอาพวกของตนเขาแทน ระบบน้ีอยูไดที่การเลี้ยงคน การแตงต้ังคนใหดํารงตําแหนงตาง ๆ เปนสินนํ้าใจ ระบบน้ีมีประโยชนในการควบคุมนโยบายระดับประเทศ จึงเหมาะที่จะใชกับขาราชการการเมืองเทาน้ัน เพราะการเมืองน้ันตองอาศัยความสนับสนุนจากพรรคพวกเปนสําคัญ เมื่อวางนโยบายไวอยางไรก็สั่งคนของตนใหชวยทําตามน้ัน ในระบบธุรกิจควรหลีกเลี่ยงใหไกล มิฉะน้ันจะประสบความลมเหลวเพราะธุรกิจมีการแขงขันกันมาก

2. กระบวนการของการจัดการงานบุคคลงานของผูบริหารที่เกี่ยวกับคนมีขอบเขตต้ังแตการวางแผนรับคนเขาทํางานจนถึงการทํา

ใหพนจากงาน ขอบขายของการจัดการงานบุคคลที่สําคัญมีเพียง 4 ลักษณะ คือ การใหไดมา การบํารุงรักษา การพัฒนา และการใหพนจากงาน แตถาพิจารณาใหละเอียดลงไป กระบวนการจัดการงานบุคคลอาจแบงเปนขั้นตอน ดังน้ี (กาญจนา ณ ลําพูน, 2550, หนา 11-25)

2.1 การวางแผนกําลังคนและตําแหนง2.1.1 การวางแผนกําลังคนการวางแผนกําลังคน คือ การคาดคะเนไวลวงหนาวาหนวยงานน้ัน ตองการคน

จํานวนเทาใดจึงจะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ในกรณีที่ธุรกิจขยายตัวเพิ่มขึ้นก็ศึกษาวิเคราะหวาคนที่ตองการเพิ่มขึ้นน้ันเปนคนประเภทใด มีความรูความชํานาญทางใด สามารถไดจากแหลงไหน ซึ่งเปนหนาที่ของฝายบุคคล

Page 33: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

24

การวางแผนกําลังคนประกอบดวยการวิเคราะหงาน การพรรณนาลักษณะของงานการระบุคุณสมบัติของคนงาน การประเมินคาของงาน และการกําหนดอัตราคาจาง เพื่อนํามาเปนขอมูลในการกําหนดกําลังคนและตําแหนง

2.1.2 การกําหนดตําแหนงการวางแผนวาจะรับคนเขามาจะตองกําหนดตําแหนงวาจะใหมาทํางานใน

ตําแหนงอะไร มีความรับผิดชอบอยางไร ไดรับคาจางแรงงานเทาใดตําแหนงคือ กลุมของหนาที่ความรับผิดชอบที่สัมพันธและคลายคลึงกันเปรียบได

กับสามเหลี่ยมดานเทา 3 ดาน ดานที่หน่ึงคือ หนาที่ความรับผิดชอบ ดานที่สองคือ คุณสมบัติของผูดํารงตําแหนง สวนดานที่สามคือ คาจาง ซึ่งทั้ง 3 อยางน้ีตองไดสัดสวนสัมพันธกัน

วัตถุประสงคในการกําหนดตําแหนงมีอยู 2 ประการใหญ ๆ ไดแก การสามารถใชคนใหตรงกับงาน (Put the right man on the right job) และการใหไดความเปนธรรมในเร่ืองคาจางแรงงาน น่ันคือ ทํางานมากไดคาจางมาก ทํางานนอยไดคาจางนอยตามสัดสวน

2.2 การแสวงหาบุคคลหลักการแสวงหาบุคคลเขามาทํางานคือ หาคนดีมีความสามารถที่สุดเทาที่จะทําได

(Find the best man available) ทั้งน้ีโดยต้ังอยูบนรากฐานแหงความเสมอภาค การสรรหาคัดเลือกบุคคลเขามาทํางานตองกระทําอยางมีมาตรฐาน เชน สอบตําแหนงเดียวกันควรจะยากงายเทา ๆ กันเปนตน กระบวนการในการรับคนเขาทํางานน้ีเรามักเรียกรวมกันไปวา การสรรหาบุคคลเขาทํางานแตที่จริงแลวแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ การสรรหา การเลือก และการบรรจุ

2.2.1 การสรรหา (Recruitment)การสรรหา เร่ิมจากการปดประกาศชักชวนใหผูมีคุณสมบัติตามที่ตองการมาสมัคร

ใหมากที่สุด สําหรับประเทศไทย ไมมีปญหาในเร่ืองชักชวนใหคนมาสมัครเขารับราชการ แตในบางประเทศ เชน ประเทศอังกฤษ คนไมนิยมเขารับราชการแมวาจะมีเงินเดือนดีมีความกาวหนาและมีความมั่นคง ดังน้ันจึงตองมีการโฆษณาชักจูงโดยวีการตาง ๆ เชน สงคนไปตามโรงเรียนและวิทยาลัยตาง ๆ ชี้แจงใหเห็นวางานมีความกาวหนาอยางไร การสรรหามักทําเปนกระบวนการ ดังน้ี

2.2.1.1 เสาะแสวงหาแหลงผูมีความรู เชน ในสถานศึกษาตาง ๆ ในบริษัทหางราน รัฐวิสาหกิจ แลวรวบรวมทําบัญชีชื่อไว

2.2.1.2 ชักจูงใหมาสมัครโดยวิธีตาง ๆ เชน สงคนไปชักชวน ปดประกาศรับสมัครไวในที่ชุมนุมชน ที่สถานศึกษา โฆษณาทางวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ จดหมาย สงประกาศรับสมัครไปยังผูมีความรูตามที่รวบรวมชื่อไวในขั้นที่ 1

Page 34: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

25

โดยวิธีสรรหาดังกลาวขางตน จะเปนการเปดวงเลือกใหกวาง อันเปนหลักสําคัญของการสรรหาจะทําใหไดคนที่ดีมีความรูความสามารถมาสมัครมาก ๆ เพื่อจะไดพิจารณาเลือกเอาคนที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุดในขั้นตอนตอไป

2.2.2 การเลือก (Selection)การเลือกเปนกระบวนการขั้นตอเน่ืองจากการสรรหา มีวัตถุประสงคในการคัดเอา

คนดีและเหมาะสมที่สุดมาทํางาน คนอยางไรจึงจะเปนคนที่ดีและเหมาะสมที่สุดน้ันมีอยู 2แนวความคิด ดังน้ี

แนวความคิดฝายที่หน่ึง มีทัศนะวาคนที่มีหัวดี มีแววดี ฝกใหทําอะไรก็จะทําไดดีทั้งน้ัน ถือวาคุณวุฒิอยูที่ตัวตน จึงสรรหาคนหนุมสาวที่เพิ่งสําเร็จการศึกษา มีหัวดี มีแววดี มีความรูทั่วไปกวางขวาง รอบรูเฉลียวฉลาดมาทํางานต้ังแตขั้นตน ๆ แลวจัดการฝกอบรมพัฒนาเพื่อเลื่อนตําแหนงสูง ๆ ขึ้นไปในอนาคต การสรรหาคนตามแนวความคิดน้ีจึงสรรหามาเปน เจเนอรัลลิสต(Generalist) โดยสรรหาคนที่ยังไมตองเปนงานมาฝกเพื่อใชงานในอนาคต เปนการสรรหาคนกอนมีประสบการณเขามาหาประสบการณในองคการ

แนวความคิดดังกลาวน้ีมีตนกําเนิดมาจากประเทศอังกฤษซึ่งเปนประเทศที่ปกครองโดยกษัตริยและมีระบบขุนนาง จึงสรรหาคนมาเปนลูกหมอต้ังแตขั้นตน ๆ และพัฒนาใหอยูในตําแหนงหนาที่เดียวตลอดชีวิตเปนอาชีพในทางน้ัน ๆ ไปเลย

แนวความคิดฝายที่สอง มีทัศนะวาคนเราจะเกงไปเสียทุกอยางไมไดแตละคนจะถนัดแตละอยาง และถาฝกคนใหทําไดหลายอยางก็จะไมเกง จึงตองสรรหาคนมาใหเหมาะสมกับงานโดยถือวาคุณวุฒิอยูที่งาน จึงกําหนดคุณวุฒิที่ตองการสําหรับแตละงานไวแลวสรรหาคนที่มีคุณวุฒิตามที่กําหนดไวน้ันมาทํางานเฉพาะอยาง การสรรหาคนตามแนวความคิดน้ีจึงสรรหามาเปนสเปเชียลลิสต (Specialist) โดยสรรหาคนที่เปนงานแลวมีประสบการณมาทํางาน

แนวความคิดหลังน้ีมีตนกําเนิดมาจากประเทศอังกฤษสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนประเทศประชาธิปไตยและมีความเจริญทางธุรกิจ จึงสรรหาคนที่เปนงานและมาทํางานเฉพาะกิจสรรหาคนมาจากนอกองคการเขามาทุกระดับไมจํากัดอายุ การสรรหาคนตามแนวความคิดน้ีตองทํากันบอยมาก เพราะจะมีคนยายงานโดยถูกดึงตัวกันไปมาอยูเร่ือย ๆ

เมื่อไดสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติตามตองการมาสมัครแลว จากน้ันก็ดําเนินการเลือกใหไดผูที่มีความรูความสามารถเหมาะสมที่สุด ซึ่งมีขั้นตอนที่สําคัญ ๆ ดังน้ี

1. การตรวจสอบคุณสมบัติ ไดแก ตรวจสอบวามีคุณสมบัติการศึกษาตรงตามที่ตองการหรือไม ขาดคุณสมบัติพื้นฐานตามที่กฎหมายกําหนดหรือไม เชน เคยตองโทษเปนโรคติดตอตองหาม เปนบุคคลลมละลายหรือไม เปนตน

Page 35: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

26

2. วัดความรูความสามารถ มีหลายวิธี ที่นิยมใชกันทั่วไปคือการสอบซึ่งแยกเปนสอบขอเขียน สอบภาคปฏิบัติ บางองคการอาจพิจารณาจากประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานเดิมนอกจากน้ี ก็อาจวัดความรูความสามารถโดยการคัดเลือกเพื่อประเมินคุณภาพบุคคลวาเหมาะสมที่จะรับเขาทํางานหรือไม การคัดเลือกอาจพิจารณาเฉพาะบุคคลเดียวหรือคัดเลือกจากกลุมบุคคลก็ได

มีขอสังเกตวาวิธีการคัดเลือกน้ันเปนวิธีที่อาจนําไปสูระบบอุปถัมภหรือเลนพวกไดงาย จึงไมนิยมใช เวนแตกรณีพิเศษจริง ๆ เทาน้ัน เชน การคัดเลือกบุคคลเขาดํารงตําแหนงสูงและสําคัญ โดยทั่วไปแลวนิยมใชวิธีการสอบซึ่งเปนวิธีวัดคนไดดีที่สุดสะดวกที่สุด และเปนธรรมที่สุดในขณะน้ี

3. การสัมภาษณ เปนการเรียกผูสมัครมาพบพูดคุยเพื่อดูบุคลากลักษณะ กิริยาทาทาง การพูดจา ตลอดจนดูไหวพริบและเชาวปญญา การแกปญหาเฉพาะหนาและทัศนคติ บางตําแหนงอาจไมตองวัดความรูความสามารถเพียงแตเชิญมาสัมภาษณก็เพียงพอแลว โดยเฉพาะผูผานงานมามากหรือผูที่จะบรรจุเขาทํางานในตําแหนงสูง ๆ ซึ่งจะพิจารณาจากประวัติการศึกษาและประวัติการทํางาน

4. การตรวจสอบคุณภาพ เพื่อกลั่นกรองเอาแตคนที่มีสุขภาพสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจโดยใหแพทยเปนผูตรวจโดยตรง เชน ตรวจเลือด ตรวจปอด หัวใจ เปนตน เพราะตําแหนงงานบางตําแหนงอาจตองการผูที่มีรางกายแข็งแรงสมบูรณเปนกรณีพิเศษ การตรวจสุขภาพจะชวยใหคัดเลือกไดคนที่เหมาะสม

5. การใหทดลองปฏิบัติหนาที่ เปนขั้นสุดทายของกระบวนการเลือกสรร กลาวคือเมื่อเลือกไดคนมาแลวก็ใหทดลองทํางานจริง ๆ สักชั่วระยะเวลาหน่ึงกอน ถาพิสูจนตนเองวาทํางานได ความประพฤติดี จึงจะรับไวเปนการถาวร

2.2.3 การบรรจุ (Placement)ตามปกติการบรรจุจะเรียงตามลําดับที่สอบได (Rule of one) แตบางกรณีอาจ

ยืดหยุนได เพื่อใหไดคนที่เหมาะสมกับตําแหนงยิ่งขึ้น โดยใชวิธีใหเลือก 2 หรือ 3 คนแรก เมื่อเรียกบรรจุแลวใหทดลองปฏิบัติงานในชวงระยะเวลาหน่ึง เมื่อเห็นวาเปนผูที่มีความรูความสามารถและทํางานใหไดตามที่ตองการจึงบรรจุเปนการถาวรตอไป

เมื่อบรรจุบุคคลเขาทํางานแลวระยะหน่ึง ยอมมีการเปลี่ยนแปลงตําแหนงหรือโยกยาย หรือโอนไปรับหนาที่การงานใหมซึ่งถือวาเปนเร่ืองปกติ การเปลี่ยนแปลงตําแหนงมีความหมายรวมไปถึงการเลื่อนตําแหนงใหสูงขึ้น การลดขั้น การโยกยาย โอน และการงดจางชั่วคราว

Page 36: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

27

วัตถุประสงคในการเปลี่ยนแปลงตําแหนงมีหลายประการ เชน เพื่อปรับปรุงโครงสรางขององคการใหเหมาะสมยิ่งขึ้น เพื่อปรับปรุงคนใหเหมาะสมกับงาน เพื่อปรับปรุงใหมีการปฏิบัติงานตามนโยบายและขอบังคับขององคการ หรือเพื่อลดตนทุนของบริษัท เปนตน

1. การเลื่อนตําแหนง (Promotion) เปนการใหรางวัลแกผูที่ปฏิบัติงานดีมีความสามารถ เปนการแสดงถึงความสําเร็จและความกาวหนาของการทํางานของผูที่ไดเลื่อนตําแหนง ทําใหสถานภาพสูงขึ้นและรายไดสูงขึ้นดวย

2. การโยกยายหรือการโอน (Transfer) เปนการเปลี่ยนตําแหนงบุคคลคนหน่ึงไปยังอีกตําแหนงหน่ึง อาจเกิดขึ้นในแผนกงานเดียวกันหรือระหวางแผนกงานก็ได โดยที่คาจางหนาที่การงานและความรับผิดชอบอยูในระดับเดียวกัน สาเหตุของการโยกยายอาจจะเกิดจากความตองการขององคการหรือจากความตองการของตัวพนักงานเอง

3. การลดขั้น (Demotion) เปนการลงโทษพนักงานวิธีหน่ึง โดยเปลี่ยนแปลงตําแหนงใหตํ่าลง ซึ่งเปนการลดสถานภาพและรายไดลงจากเดิม

4. การงดจางชั่วคราว (Lay-off) เมื่อบริษัทเกิดภาวะขาดทุนอยูเปนเวลานานทําใหจําเปนตองยุบแผนกงานบางแผนก หรือจําเปนตองงดจางคนงานชั่วคราว การงดจางชั่วคราวอาจแปรเปลี่ยนไปเปนการงดจางถาวรก็ได

2.3 การบํารุงรักษาและการจัดสวัสดิการ2.3.1 กาบํารุงรักษาเมื่อไดบุคคลมาทํางานแลว ผูบริหารมีหนาที่ตองบํารุงรักษาบุคคลใหอยูกับ

องคการนานที่สุด และตลอดเวลาที่อยูก็ใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด การบํารุงรักษาบุคคลตองอาศัยสิ่งจูงใจหลายชนิด ที่สําคัญมี 5 ประการ ดังน้ี

1. สิ่งจูงใจที่เปนวัตถุ เชน เงิน สิ่งของ ควรมอบใหในโอกาสอันเหมาะสม พรอมทั้งสรรเสริญถึงคุณความดีไปดวย ที่ใชกันมาก ไดแก การเพิ่มเงินเดือนเปนกรณีพิเศษ เงินโบนัสเบี้ยขยัน เงินสวนแบงกําไร และการใหถือหุนในบริษัท

2. สิ่งจูงใจที่เปนโอกาส ใหโอกาสมีชื่อเสียง มีอาจประจําตัวมากขึ้น ไดตําแหนงสูงขึ้น มีโอกาสกาวหนาและมีโอกาสไปศึกษาตอ

3. สิ่งจูงใจที่เปนสภาพของการทํางานซึ่งอาศัยวัตถุเปนหลัก เชน มีหองทํางานสวนตัว มีโตะเหมาะสมกับตําแหนง วัตถุอยางอ่ืนที่แสดงถึงความดีความชอบ การใหสวัสดิการตาง ๆ ตามความจําเปน

Page 37: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

28

4. สิ่งจูงใจที่เปนสภาพของการทํางาน ไดแก บรรยากาศในที่ทํางานมีความรักใครกลมเกลียวกัน ไมมีการแบงแยกเปนหมูเหลาหรือทะเลาะกัน ทุกคนอยูในฐานะเทาเทียมกัน ทั้งในดานสังคม เศรษฐกิจ และการศึกษา

5. การบํารุงขวัญหรือสรางกําลังใจในการทํางาน ใหพนักงานทุกคนเกิดความรักบริษัท เกิดความรูสึกวาตนมีสวนรวมอยางสําคัญในการสรางชื่อเสียงและกําไรใหบริษัท ใหแกหนวยงาน เมื่อบริษัทมีชื่อเสียงมีความมั่นคง พนักงานก็ยิ่งมีกําลังใจในการทํางานมากตามไปดวย

2.3.2 การจัดสวัสดิการการจัดสวัสดิการเปนการเสริมสรางขวัญและกําลังใจในการทํางานสวนหน่ึง

ผูบริหารที่ดีตองคํานึงถึงสภาพความเปนอยู ความเดือดรอน และความตองการความชวยเหลือบางประการของบุคคล การจัดสวัสดิการเบื้องตนที่ตองคํานึงถึงกอนเร่ืองอ่ืน คือ สนองตอบความตองการ ในเร่ืองที่คนสวนใหญเดือดรอนมากที่สุดในหนวยงานเสียกอนอาจแบงแยกสวัสดิการออกได 5 ประเภท ดังน้ี

1. สวัสดิการดานเศรษฐกิจ เชน การจายเงินชวยเหลือบุตร คาเชาบาน เงินทุนกูยืมการจัดรานสหกรณ การจําหนายสินคาราคาถูก จัดรถรับสง เปนตน

2. สวัสดิการดานการศึกษา เชน ใหทุนการศึกษา หรือทุนฝกอบรมสัมมนา ศึกษาดูงานตางประเทศ เปนตน

3. สวัสดิการดานการสังคมสงเคราะห เชน จัดกองทุนชวยเหลือคนงานในคราวเดือดรอน ชวยคารักษาพยาบาล จัดสถานที่พยาบาลให เปนตน

4. สวัสดิการดานนันทนาการ เชน จัดสโมสร สนามกีฬา จัดทัศนาจรในประเทศหรือตางประเทศเปนตน

5. สวัสดิการดานการสรางความมั่นคง เชน บําเหน็จบํานาญ ประกันชีวิต สมาคมฌาปนกิจศพ โครงการจัดหาที่อยูอาศัย เปนตน

หลักการจัดสวัสดิการที่ดีตองจัดใหเปนเร่ืองเบาใจ ไมใชทําใหหนักใจ และตองจัดรวมกันระหวางผูบริหารกับบุคคลในองคการ

2.4 การประเมินผลการปฏิบัติงานการนําระบบคุณธรรมซึ่งประกอบดวยหลักความเสมอภาค หลักความสามารถ หลัก

ความมั่นคง และหลักความเปนกลางทางการเมืองมาใชในการจัดการงานบุคคลน้ัน จําเปนอยางยิ่ งที่จะตองมีเคร่ืองมือมาวัดคาบุคคลในองคการแตละคนมีพฤติกรรมเปนอยางไร เร่ิมต้ังแตการเขามาทํางานก็อาจจะมีการประเมินผลอยางงาย ๆ โดยการสอบขอเขียนเพื่อวัดความรู ความสามารถความถนัด และสอบสัมภาษณเพื่อดูบุคลิกภาพและทัศนคติ เมื่อเขามาทํางานแลวจะตองพิจารณา

Page 38: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

29

ตอไปอีกวาผูปฏิบัติงานมีความสามารถเหมาะสมกับงานที่ทําหรือไม สมควรจะไดเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนงหรือควรที่จะปรับปรุงผลงานใหดีขึ้นอยางไร ซึ่งขั้นตอนเหลาน้ีสวนหน่ึงจะรูไดจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน ฉะน้ันการประเมินผลการปฏิบัติงานจึงเปนเคร่ืองมืออยางหน่ึงที่ชวยค้ําจุนระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล

การประเมินผลการปฏิบัติงาน จึงหมายถึงการประเมินวาคนทํางานไดผลเทามาตรฐานที่กําหนดไดหรือดอยกวา หรือสูงกวามาตรฐานที่กําหนด และคุมคาเงินเดือนที่กําหนดไวสําหรับตําแหนงน้ัน ๆ หรือไม

2.4.1 สิ่งที่ตองการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคคลการประเมินผลการปฏิบัติงานอาจแยกพิจารณาไดเปน 2 สวน คือ1. การประเมินผลงานที่ปฏิบัติ ทั้งในแงของปริมาณและคุณภาพ ไดแก งานที่

ไดรับมอบหมายแลวเสร็จตามกําหนดเวลา ทํางานไดมาก ผลงานมีคุณภาพไดมาตรฐานตามที่กําหนดไว

2. ประเมินคุณลักษณะของผูปฏิบัติงาน เชน ความรวมมือในการทํางาน ความสามัคคี มนุษยสัมพันธ ความเสียสละ ความอดทน และการรักษาวินัย ฯลฯ

โดยปกติจะประเมินควบคูกันไปทั้งสองอยาง นอกจากน้ียังอาจกําหนดคุณลักษณะเฉพาะที่จะใชประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีลักษณะพิเศษแตกตางไปจากงานอ่ืน ๆ เชน การรักษาความลับ ความแข็งแรงอดทนตอความยากลําบาก ความสามารถในการพูดจาเสนอรายงาน เปนตน

2.4.2 วัตถุประสงคของการประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ละเอียดถี่ถวน และเที่ยงตรงจะสามารถนําไปใช

เปนเคร่ืองมือประกอบการพิจารณาเปรียบเทียบวาผูปฏิบัติงานคนใดมีความสามารถเหมาะสมกวากันในการที่จะเลื่อนใหดํารงตําแหนงสูงขึ้นไป

1. การเลื่อนตําแหนง ขอมูลที่ไดจากการประเมินจะเปนประโยชนในการพิจารณาเปรียบเทียบวาผูปฏิบัติงานคนใดมีความสามารถเหมาะสมกวากันในการที่จะเลื่อนใหดํารงตําแหนงสูงขึ้นไป

2. การเลื่อนเงินเดือน ขอมูลทีไ่ดจากการประเมินจะบงชี้วาผูปฏิบัติคนหน่ึง ๆ มีผลงานที่ปฏิบัติไดจริงถึงเกณฑมาตรฐานที่ควรจะทาํได ตํ่ากวา หรือสูงกวาเกณฑมาตรฐานมากนอยเพียงใด

3. การแตงต้ังโยกยาย สับเปลี่ยนผูปฏิบัติงาน ผลการประเมินจะชี้วาผูใดมีความรูความสามารถ ความชํานาญเหมาะสมที่จะทํางานใด ถาปรากฏวาไมเหมาะสมกับงานใดเลย ก็อาจใหพนจากงานไป

Page 39: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

30

4. การพัฒนาบุคคล ผลการประเมินจะเปนประโยชนในการวิเคราะหความสามารถของบุคคล ถาพบวามีจุดออนหรือขอบกพรองในดานใดก็จะไดปรับปรุงแกไขเพิ่มทักษะและคุณลักษณะที่จําเปนตองาน

5. การปรับปรุงระบบวิธีทํางานและอุปกรณการทํางาน ในการประเมินผลการปฏิบัติงานอาจพบกรณีผลงานตํ่า ซึ่งมิไดมีสาเหตุจากตัวบุคคลผูปฏิบัติงานแตเปนเพราะระบบวิธีการทํางานยังไมรัดกุมหรืออุปกรณเคร่ืองชวยไมดี ซึ่งจะไดแกไขปรับปรุงไดทันการ

6. การปรับปรุงวีการเลือกสรรบุคคลเขาทํางาน หากพบวาผลงานตกตํ่าเน่ืองจากไดผูปฏิบัติงานที่อาจมความรูความสามารถไมตรงกับงาน ก็จะไดแกไขโดยยอนกลับไปพิจารณาปรับปรุงการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเขาทํางาน เชนปรับปรุงขอสอบ และวิธีการใหไดคนที่เหมาะสมยิ่งขึ้น

2.4.3 การจัดระบบการประเมินการประเมินผลการปฏิบัติงานถาจะทําใหเปนระบบจะตองมีขั้นตอน ดังน้ี1. การกําหนดแบบฟอรม จะตองพิจารณาวาจะใชองคประกอบอะไรในการ

ประเมิน และองคประกอบไหนจะประเมินอยางไร ทั้งน้ี จะตองรูถึงวัตถุประสงคในการที่จะประเมินดวยจึงจะกําหนดแบบฟอรมไดถูกตอง

2. การกําหนดมาตรฐานในการทํางาน เปนการกําหนดวางานที่ผูดํารงตําแหนงหน่ึง ๆ จะตองปฏิบัติในชวงเวลาหน่ึงควรมีปริมารและคุณภาพอยางไร โดยปกติการจัดทํามาตรฐานการทํางานมักเปนการระบุปริมาณของงานที่ควรจะทําไดแตสําหรับงานบางลักษณะซึ่งระบุเปนปริมาณไดยากก็จําเปนตองระบุคุณภาพของงานน้ันแทน

3. การกําหนดระยะเวลาในการประเมิน ในการประเมินผลการปฏิบัติงานจะตองมีการกําหนดระยะเวลาเพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการประเมิน เชน ถาจะประเมินเพื่อเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนงก็จะประเมินกันปละ 1 หรือ 2 คร้ัง แตในหนวยงานบางหนวยงานอาจพิจารณาจัดใหมีการประเมินมากกวาปละ 2 คร้ังก็ได ตามที่เห็นสมควร

4. คุมือในการประเมิน ควรจะมีคูมือที่จะอธิบายคุณลักษณะของหัวขอในการประเมินใหชัดเจนเพื่อมิใหผูประเมินตีความหมายเอาเอง ซึ่งอาจทําใหผลการประเมินที่ออกมาผิดไปจากความเปนจริง

2.5 การพัฒนาบุคคลการพัฒนาบุคคล หมายถึง กรรมวิธีตาง ๆ ที่มุงจะเพิ่มพูนความรู ความชํานาญ และ

ประสบการณ เพื่อใหทุกคนในหนวยงานหน่ึงสามารถปฏิบัติหนาที่ในความรับผิดชอบไดดียิ่งขึ้น

Page 40: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

31

นอกจากน้ี ยังมีความมุงหมายที่จะพัฒนาทัศนคติของผูปฏิบัติงานใหเปนไปในทางที่ดี ใหมีกําลังใจรักงาน และใหมีความคิดที่จะหาทางปรับปรุงการปฏิบัติงานใหดียิ่งขึ้น

การเลือกสรรบุคคลเขาทํางานน้ัน ไดมีการกําหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการเปนอยางดี แตก็มิไดเปนหลักประกันวาบุคคลผูน้ันจะปฏิบัติงานในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายไดอยางเต็มความสามารถ ทั้งน้ีเพราะวิทยาการตาง ๆ ไดเจริญกาวหนาอยูเสมอ การแขงขันในตลาดมีเพิ่มขึ้นทุกวัน ฉะน้ันหนวยงานจึงควรพัฒนาบุคคลใหสามารถปฏิบัติหนาที่ทําใหไดรับมอบหมายในปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถ ในขณะเดียวกัน บุคคลที่ทํางานอยูแลวก็ตองไดรับการพัฒนาเพื่อเตรียมสําหรับความกาวหนาในตําแหนงสูงขึ้นตอไปในอนาคตดวย

2.6 การใหพนจากงานหนวยงานจะมีการใหพนจากงาน สําหรับบุคคลทํางานไมไดผลหรือขาด

ประสิทธิภาพ ขาดการขวนขวาย ขาดการปรับปรุงตนเอง ซึ่ง การใหพนจากงานโดยทั่วไปมีหลายกรณี ดังน้ี

1. ออกโดยความสมัครใจ2. ใหออกเพราะองคกรไมมีเงินจาง3. ออกตามวาระเมื่อครบตามสัญญาจาง เชน 3 ป 5 ป หรือออกเมื่ออายุครบ 60 ป4. ใหออกเพราะมีความผิด เชน มีความผิดตองโทษทางวินัย เปนตนการใหบุคคลพนจากงานมีความมุงหมายหลายประการ ดังน้ี1. เพื่อขจัดหรือปรับปรุงคนที่ไมมีประสิทธิภาพหรือเฉื่อยชาใหออกไป2. เพื่อจะไดเปลี่ยนแปลงนําคนรุนใหมเขามาแทนที่ ทําใหองคการมีคนที่มี

ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น3. เพื่อจัดใหคนงานทํางานไดตรงตามความสามารถ เพราะในบางกรณีคนงานบางคน

ไมเหมาะสมกับงาน จึงตองใหลาออกไปหรือโอนไปทํางานหนวยอ่ืน4. เพื่อสงเสริมความกาวหนาตามความสามารถของแตละบุคคลแทนที่คนที่ออกไป5. เพื่อเสริมสรางความมั่นคงใหแกหนวยงานและสงเสริมความสุขของคนงานบุคคลที่ทํางานใหแกองคกรมาเปนระยะเวลายาวนาน สรางประโยชนใหแกองคกร

ตลอดมา เมื่อถึงเวลาที่ตองพนจากงานไป ไมวาจะลาออกเองหรือเปนไปตามระเบียบขององคกรเชน ปลดเกษียณ เปนตน โดยทั่วไปองคการที่มีฐานะมั่นคงจะมีการใหผลตอบแทนแกพนักงานของตนแตกตางกันไป ในภาคราชการจะมีการใหบําเหน็จบํานาญ ในภาคเอกชนอาจมีการใหเงินสะสมเปนตน

Page 41: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

32

ขอมูลทั่วไปของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)1. ประวัติความเปนมาธนาคารกรุงไทยเร่ิมเปดดําเนินกิจการคือ วันที่ 14 มีนาคม 2509 จากการควบรวม 2

ธนาคารที่รัฐบาลเปนผูถือหุนใหญในขณะน้ัน ไดแก ธนาคารเกษตร จํากัดและธนาคารมณฑลจํากัด แลวกอต้ังขึ้น เปน “ธนาคารกรุงไทยจํากัด” (Krung Thai Bank Limited) ทั้งน้ีเพื่อใหมีฐานะทางการเงินที่มั่นคงสามารถคุมครองผูฝากเงิน และบริการลูกคาไดกวางขวางและมีบทบาทชวยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไดมากขึ้นดวย โดยมีสาขาแรกต้ังอยูบนถนนเยาวราชซึ่งเปนสํานักงานใหญเดิมของธนาคารเกษตร

ต้ังแตเร่ิมแรกที่ธนาคารกรุงไทยเปดดําเนินการ ผลการดําเนินงานของธนาคารก็ไดขยายตัวขึ้น ตามปริมาณ ธุรกิจที่เพิ่มขึ้น จากการเจริญเติบโต ของเศรษฐกิจในประเทศไทย เมื่อเล็งเห็นแลววา พื้นที่สํานักงานใหญ ที่ต้ังอยูบนถนนเยาวราช คับแคบไมสะดวกตอการใหบริการและปฏิบัติงานแลว วันที่ 26 พฤศจิกายน 2525 ธนาคารกรุงไทย จึงไดยายสํานักงานใหญมาอยู ณอาคารเลขที่ 35 ถนนสุขุมวิท และใชเปนที่ทําการสํานักงาน ใหญ มาจนกระทั่งปจจุบัน การดําเนินธุรกิจของธนาคารกรุงไทยเจริญเติบโต อยางมั่งคงและตอเน่ือง การปรับปรุงและขยาย องคกรงานใหมเปนไปอยางสม่ําเสมอ จึงทําให สามารถบริการลูกคาไดรวดเร็วและทั่วถึง จนกระทั่ง ในเดือนมีนาคม 2530 ทางธนาคารไดรับมอบหมาย ใหเขาไปชวยบริหารงานใน “โครงการ 4 เมษา” ตอจากธนาคารแหงประเทศไทย โดยเนนในเชิงธุรกิจ ซึ่งเทากับวาธนาคารกรุงไทยไดมีบทบาทสําคัญในการชวยแกไขปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ คร้ังสําคัญ คร้ังหน่ึงของไทย จากน้ันเดือนสิงหาคม ในปเดียวกัน ตามนโยบายของกระทรวงการคลัง ธนาคาร กรุงไทย ไดรับโอนทรัพยสินและหน้ีสิน ของธนาคารสยาม จํากัด ที่กําลังมีปญหาจากการควบรวมคร้ังน้ี ธนาคาร กรุงไทยเปนธนาคารที่มีทรัพยสินมากเปนอันดับ 2 ของประเทศ สามารถตอบสนองนโยบายการเงิน การคลังของประเทศและแสดงบทบาทความเปน ธนาคารนํา (Lead bank) ได

ในป พ.ศ. 2531 ธนาคารกรุงไทยไดขยายสาขาออกไป ครอบคลุมทุกจังหวัดของประเทศถือวาเปน ธนาคารพาณิชย แหงเดียวในขณะน้ันที่สามารถขยายศักยภาพการใหบริการ ประชาชนไดอยางทั่วถึง ไมเพียงแตการขยายสาขาทั่ว ประเทศเทาน้ัน ธนาคารกรุงไทยยังไดนําเทคโนโลยีสมัยใหม มาใชกับ งานใหบริการลูกคา และการปฏิบัติงานภายใน ในปเดียวกันน้ีธนาคารได ติดต้ังระบบออนไลน และ เคร่ือง เอทีเอ็ม ซึ่งถือวาเปนธนาคารแหงแรกที่สามารถติดต้ังได ครบทุกจังหวัด อีกกาวที่สําคัญเกิดขึ้นเมื่อไดนําหุนของธนาคารเขาสูตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยในวันที่ 26 มิถุนายน 2532 นับเปนรัฐวิสาหกิจแหงแรกที่นําหุนเขาซื้อ-ขายในตลาด หลักทรัพยฯ โดยเร่ิมเปดการซื้อ-ขายหุนของธนาคารต้ังแต วันที่ 2 สิงหาคม 2532 จนกระทั่งในวันที่ 24 มีนาคม 2537

Page 42: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

33

ธนาคารกรุงไทยก็ไดแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนภายใตชื่อ “ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)” ใชชื่อภาษาอังกฤษวา “Krung Thai Bank Public Company Limited”

หลังจากวิกฤตทางการเงินที่สงผลใหเศรษฐกิจของโลก ซบเซาในป 2540 สถาบันการเงินสวนใหญ ประสบปญหา การขาดความเชื่อมั่นในสถาบันการเงิน แตธนาคารกรุงไทย ก็ยังสามารถฟนฝาอุปสรรค ในชวงที่มีสภาวะเศรษฐกิจและ การเงินของประเทศแทบจะลมละลายมาได ในป2546 ธนาคารกรุงไทยเปนธนาคารพาณิชยแหงแรกที่สามารถ จายเงินปนผลใหกับผูถือหุนได และยังเปนผูนําในการรักษา ระดับอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก โดยพยายามตรึงอัตราดอกเบี้ย ใหอยูในระดับเดิม เปนธนาคารสุดทายในระบบธนาคาร พาณิชยที่ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลง และก็ยังเปน ผูนําในการรณรงคใหประชาชนหันมารักษาและเปดเผย ขอมูลเครดิตของตนเองเพื่อประโยชนในการ ขอสินเชื่อ และในปเดียวกันน้ี ธนาคารไดนําเอาหุนออกจําหนายใหกับ นักลงทุนทั้งในและตางประเทศ อีกคร้ัง เพื่อเปนการเพิ่ม ปริมาณหุนที่ซื้อ-ขายในตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งปรากฎวาหุนของธนาคารได รับความสนใจและความเชื่อมั่นจากนักลงทุน เปนอยางมาก หุนที่เปดใหจองซื้อหุนของธนาคารกรุงไทย มากกวา สัดสวนที่เสนอขาย ถือวาเปนความสําเร็จอีกกาวหน่ึง ของธนาคารที่ไดรับความไววางใจ จากนักลงทุนทั้งในและ ตางประเทศหลังจากที่พึ่งผานพนวิกฤตเศรษฐกิจมาปลายป 2547 ไดเกิดมหันตภัยคลื่นยักษสึนามิใน 6 จังหวัดภาคใต ทําลายชีวิตผูคนและทรัพยสินอยางมหาศาล ทางธนาคาร กรุงไทยไดออกมาตรการชวยเหลือลูกคาที่ไดรับผลกระทบ ทั้งโดยตรงและโดยออม พรอมกันน้ีก็ยังไดบริจาคเงินเพื่อชวยเหลือผูประสบภัย เปนจํานวนเงิน 100 ลานบาทอีกดวย

ปจจุบัน ธนาคารยังคงเติบโตและพรอมเดินเคียงขางสังคมไทย โดยไดปรับวิสัยทัศนใหมเพื่อใหสอดคลองกับสภาวะการแขงขัน โดยเปลี่ยนจาก “ธนาคารแสนสะดวก” หรือ “Theconvenience bank” ที่ถือเปนมาตรฐานบริการของธนาคารในปจจุบัน สูแนวคิด “กรุงไทย กาวไกลไปกับคุณ” หรือ “Growing together” อันเปนความมุงมั่นที่จะพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและสรางการบริการที่มีคุณคา เพื่อสนับสนุนการเติบโตและความมั่งคั่งแกลูกคา สรางคุณภาพที่ดีขึ้นแกสังคม ตลอดจนสรางผลตอบแทนที่ดีอยางยั่งยืนแกผูถือหุน

2. วิสัยทัศน (Vision)“Growing Together กรุงไทย กาวไกล ไปกับคุณ”มุงมั่นพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและสรางการบริการที่มีคุณคา เพื่อสนับสนุนการ

เติบโตและความมั่งคั่งแกลูกคา สรางคุณภาพที่ดีขึ้นแกสังคม และสรางผลตอบแทนที่ดีอยางยั่งยืนแกผูถือหุน

Page 43: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

34

3. พันธกิจ (Mission)3.1 เสริมศักยภาพและพัฒนาทักษะของบุคลากรและระบบงาน3.2 ใหบริการและคําแนะนําที่มีคุณคาแกลูกคาอยางตอเน่ือง3.3 รวมพัฒนาเศรษฐกิจและสงเสริมการสรางทุนทางปญญา3.4 สรางผลตอบแทนที่ดีอยางยั่งยืนใหแกผูถือหุน

4. นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีการกํากับดูแลกิจการที่ดีน้ัน นับวันจะมีความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจมากยิ่งขึ้น

โดยเฉพาะกับธุรกิจธนาคารพาณิชย ที่ตองเกี่ยวของกับผูมีสวนไดเสียหลายกลุม ซึ่งหากมีการบริหารจัดการที่ขาดซึ่งหลักบรรษัทภิบาล ก็จะสงผลเสียหายทั้งตอธุรกิจ และกระทบเปนวงกวางตอผูมีสวนไดเสียและตอระบบเศรษฐกิจโดยรวม ธนาคารกรุงไทยในฐานะที่เปนธนาคารพาณิชยขนาดใหญที่สุดของรัฐ จึงไดถือเปนพันธกิจหลักประการหน่ึงที่จะยึดมั่นในหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และมีความมุงมั่นที่จะสรางวัฒนธรรมบรรษัทภิบาลใหเกิดขึ้นในองคกรอยางแทจริง

คณะกรรมการธนาคารจึงไดมอบหมายใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม กําหนดแผนปฏิบัติการและมาตรการติดตามเพื่อใหมีการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการ มีการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและปรับปรุง นโยบายดังกลาวใหมีความเหมาะสมอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งติดตามและปรับปรุงแนวทางปฏิบัติใหสอดคลองกับแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อมุงไปสูมาตรฐานสากล

5.ทิศทางนโยบายและแผนงานที่สําคัญของธนาคารคณะกรรมการธนาคารมีบทบาทสําคัญในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และทิศทางการ

ดําเนินธุรกิจของธนาคาร โดยคณะกรรมการธนาคารไดมีการทบทวนและอนุมัติเปนประจําทุกปทั้งน้ีในป 2556 ธนาคารยังคงดําเนินงานภายใตวิสัยทัศนการเปน “ธนาคารแสนสะดวก (Theconvenience bank) ที่ดูแลและบริการลูกคาดีที่สุด” โดยเฉพาะการเดินหนาพัฒนา และริเร่ิมผลิตภัณฑและบริการใหมอยางตอเน่ือง เพื่อตอบสนองทุกความตองการของลูกคา และเพื่อปรับตัวรับการแขงขันที่ทวีความรุนแรงขึ้น จากสถาบันการเงินทั้งในประเทศและตางประเทศในชวงคร่ึงปหลัง คณะกรรมการธนาคารไดรวมมือกับฝายจัดการจัดทําแผนยุทธศาสตรเพื่อกําหนดกลยุทธและทิศทางการดําเนินธุรกิจสําหรับป 2557-2559 พรอมทั้งปรับเปลี่ยนวิสัยทัศนจาก “ธนาคารแสนสะดวก” เปน “กรุงไทย กาวไกล ไปกับคุณ (Growing together)”โดยมุงมั่นพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและสรางการบริการที่มีคุณคา เพื่อสนับสนุนการเติบโต และความมั่งคั่งแกลูกคา สรางคุณภาพที่ดีขึ้นแกสังคม และสรางผลตอบแทนที่ดีอยางยั่งยืนแกผูถือหุน ซึ่งสอดคลองกับ

Page 44: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

35

วัตถุประสงคเชิงยุทธศาสตรของธนาคารในการดําเนินธุรกิจ ที่มุงเนนการปรับปรุงคุณภาพของสินเชื่อโดยรวมรักษาฐานเงินฝากและเพิ่มรายไดที่มิใชดอกเบี้ย พรอมทั้งเสริมสรางปรับปรุงกระบวนการภายในใหแข็งแกรง รวมถึงพัฒนาธนาคารและบุคลากรเพื่อใหเปนองคกรที่มุงผลสําเร็จในงานเปนสําคัญ

6. การบริหารความเสี่ยงเปนกระบวนการบริหารจัดการที่จําเปนและมีความสําคัญในการนําพาใหองคกรสามารถ

บรรลุเปาหมายที่ต้ังไว ทามกลางปจจัยแวดลอมทางธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัฒนและการแขงขันสูงเชนในปจจุบัน ทั้งน้ี การมีระบบการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผลจะสะทอนถึงการบริหารจัดการที่ดี มีคุณธรรมในการดําเนินธุรกิจ และมีความโปรงใสที่สามารถตรวจสอบไดอันเปนรากฐานที่สําคัญซึ่งจะทําใหธนาคารเติบโตไดอยางมั่นคงและยั่งยืน

บมจ.ธนาคารกรุงไทยซึ่งเปนสถาบันการเงินชั้นนําของประเทศไดตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารความเสี่ยงองคกรโดยรวม (Enterprise Risk Management: ERM)นอกจากการบริหารความเสี่ยงตามกรอบของขอกําหนดของธนาคารแหงประเทศไทยแลว ในป2550 ธนาคารยังไดเร่ิมนํากรอบการบริหารความเสี่ยงองคกร (Enterprise risk managementframework) ตามมาตรฐาน (Committee of Sponsoring Organizations of the TreadwayCommission: COSO) มาใชในการบริหารและจัดการความเสี่ยง โดยบุคลากรทุกระดับ ไดแกคณะกรรมการ ผูบริหารระดับสูงและพนักงาน มีสวนรวมรับผิดชอบในการจัดการ หรือควบคุมความเสี่ยงใหอยูในระดับที่เหมาะสมหรือยอมรับได และสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค กลยุทธพันธกิจ และวิสัยทัศนตามที่ธนาคารกําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ความเสี่ยงหลักที่ธนาคารแหงประเทศไทยใหความสําคัญ 5 ดาน1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ (Strategic risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการกําหนดแผน

กลยุทธ แผนดําเนินงาน และการนําไปปฏิบัติไมเหมาะสม หรือไมสอดคลองกับปจจัยภายในและสภาพแวดลอมภายนอก อันสงผลกระทบตอรายได เงินกองทุน หรือความดํารงอยูของกิจการ

2. ความเสี่ยงดานเครดิต (Credit risk) หมายถึง โอกาสหรือความนาจะเปนที่คูสัญญาไมสามารถปฏิบัติตามภาระที่ตกลงไว รวมถึงโอกาสที่คูคาจะถูกปรับลดอันดับความเสี่ยงดานเครดิตซึ่งอาจสงผลกระทบตอรายไดและเงินกองทุนของสถาบันการเงิน

3. ความเสี่ยงดานตลาด (Market risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ และราคาตราสารในตลาดเงินตลาดทุน ที่มีผลกระทบในทางลบตอรายไดและเงินกองทุนของสถาบันการเงิน

Page 45: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

36

4. ความเสี่ยงดานสภาพคลอง (Liquidity risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการที่สถาบันการเงินไมสามารถชําระหน้ีสินและภาระผูกพันเมื่อถึงกําหนด เน่ืองจากไมสามารถเปลี่ยนสินทรัพยเปนเงินสดได สามารถจัดหาเงินทุนไดเพียงพอ หรือสามารถหาเงินมาชําระไดแตดวยตนทุนที่สูงเกินกวาระดับที่ยอมรับได ซึ่งอาจสงผลกระทบตอรายไดและเงินกองทุนของสถาบันการเงิน

5.ความเสี่ยงดานปฏิบัติการ (Operational risk) หมายถึง ความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายอันเน่ืองมาจากการขาดการกํากับดูแลกิจการที่ดีหรือขาดธรรมาภิบาลในองคกร และการขาดการควบคุมที่ดี โดยอาจเกี่ยวของกับ กระบวนการปฏิบัติงานภายใน คน ระบบงาน หรือเหตุการณภายนอก และสงผลกระทบตอรายไดและเงินกองทุนของสถาบันการเงิน

งานวิจัยที่เก่ียวของกาญจนา ณ ลําพูน (2550, บทคัดยอ) ศึกษาปจจัยจูงใจที่มีผลตอความพึงพอใจในการ

ปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทย จํากัด (มหาชน) ในเขต 21 (จังหวัดเชียงใหมเชียงราย และแมฮองสอน) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงปจจัยจูงใจที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทย จํากัด (มหาชน) ในเขต 21 (จังหวัดเชียงใหมเชียงราย และแมฮองสอน) วิธีการศึกษาใชแบบสอบถามเพื่อเก็บขอมูลจํานวน 121 ชุด วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสถิติสําเร็จรูป สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ คารอยละคาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา ปจจัยจูงใจที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานอยูในระดับมาก ไดแก ปจจัยดานตําแหนงงาน ดานผลสําเร็จในการทํางาน ดานความสัมพันธกับผูรวมงาน ดานความมั่นคงในการทํางาน และดานความสัมพันธกับผูบังคับบัญชาตามลําดับ สวนปจจัยดานการไดรับการยอมรับในผลงานผูอ่ืน ดานการไดรับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นและการมีอิสระในการทํางาน ดานนโยบายและการบริหารขององคกร ดานสภาพการทํางานดานคาตอบแทน และดานความกาวหนาในหนาที่การงานและโอกาสไดรับความกาวหนาในอนาคตอยูในระดับนอย

ขอเสนอแนะเพิ่มเติมของผูตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยจูงใจ ที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไดแก ควรปรับฐานเงินเดือนและเงินโบนัสที่คอนขางตํ่าเมื่อเปรียบเทียบกับธนาคารอ่ืน ๆ ใหสูงขึ้น สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน

รมยชลี สุวรรณชัยรักษ (2550, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองความพึงพอใจของพนักงานธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดลําปาง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดลําปาง และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจใน

Page 46: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

37

การทํางานของพนักงานธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดลําปาง จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลของพนักงาน และสถาบันเดิมของพนักงานกอนการควบรวมกิจการ ขอบเขตดานประชากรไดแก พนักงานธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดลําปาง จํานวน 4 สาขา และ 1หนวยงาน คือ สาขาลําปาง สาขาถนนฉัตรไชย สาขาหางฉัตร สาขางาว และพนักงานที่ปฏิบัติงานที่ศูนยภาคธุรกิจลําปาง ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 จํานวน 62 คน เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาเปนแบบสอบถามที่สรางขึ้น และไดรับการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ และหาคาความเชื่อมั่นโดยรวมทั้งฉบับ เทากับ .84 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคาที และการทดสอบคาเอฟ ผลการศึกษาพบวา พนักงานธนาคารทหารไทยจํากัด (มหาชน) ในจังหวัดลําปาง มีความพึงพอใจโดยรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อศึกษารายละเอียดเปนรายดานพบวา ความพึงพอใจทุก ๆ ดานอยูในระดับปานกลาง และเมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทงานจําแนกตามเพศพบวา เพศหญิงมีแนวโนมความพึงพอใจในการทํางานสูงกวาเพศชาย สวนอายุในการทํางานพบวา พนักงานที่มีอายุในการทํางานตํ่ากวา 5 ป มีความพึงพอใจในการทํางานสูงสุด และพนักงานที่มีอายุงาน 5-10 ป มีความพึงพอใจตํ่าที่สุด

อารยา ศิริรัตน (2550, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา บมจ.ธนาคารทหารไทย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงความสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคลกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บมจ.นาคารทหารไทย โดยสํารวจจากแบบสอบถามทั้งหมด 390 ฉบับ ไดรับกลับคืนจํานวน 390 ฉบับ คิดเปนรอยละ 100 การวิเคราะหขอมูลใชคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS หาคารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทําการทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติทดสอบไคสแควร ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่.05 ผลการศึกษาปรากฏดังน้ี

พนักงาน บมจ.นาคารทหารไทย ที่เปนกลุมตัวอยาง มีระดับความพึงพอใจในระดับมาก3 ปจจัย คือ ดานความมั่นคงในงาน ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน ดานความสําเร็จในการทํางานและระดับความพึงพอใจในระดับปานกลาง 6 ปจจัย คือ ดานคาตอบแทน ดานสวัสดิการ ดานลักษณะงานที่ทํา และความรับผิดชอบ ดานความกาวหนาในอาชีพ ดานการไดรับการยอมรับนับถือและดานการปกครองบังคับบัญชา

สําหรับการวิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคลกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บมจ.นาคารทหารไทย พบวา ตัวแปรทุกตัวแปร ซึ่งไดแก เพศ อายุสถานภาพ วุฒิการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงงาน และอายุงาน มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน แตกตางกันในปจจัยทุกปจจัย ซึ่งไดแก คาตอบแทน ดานสวัสดิการพนักงาน ดานลักษณะงานที่ทํา และความรับผิดชอบ ดานความกาวหนาในอาชีพ ดานความมั่นคง

Page 47: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

38

ในงาน ดนสภาพแวดลอมในการทํางาน ดานความสําเร็จในการทํางาน ดานการไดรับการยอมรับนับถือ และดานการปกครองบังคับบัญชา

นิพร สามคํา (2550, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง การศึกษาความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารออมสินสังกัดเขตเชียงราย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารออมสินสังกัดเขตเชียงรายและเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารออมสินสังกัดเขตเชียงราย จําแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ สมรส รายไดตอเดือน ระดับการศึกษา ตําแหนงงานที่ปฏิบัติ และระยะเวลาในการทํางาน เก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางจํานวน 113 คนใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือและวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติหาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-Test และ F-test (One-Way ANOVA)

ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีระดับความพึงพอใจในการทํางานโดยภาพรวมอยูในระดับมากดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดไดแกดานความสําเร็จรองลงมา ไดแก ดานการยอมรับนับถือสวนดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด ไดแก ดานความกาวหนาสวนบุคคล ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารออมสินสังกัดเขตเชียงรายพบวา พนักงานธนาคารออมสินที่มีความแตกตางกันดานเพศ อายุ สถานภาพสมรส และรายไดตอเดือนมีระดับความพึงพอใจแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติกลุมที่แตกตางกันดานระดับการศึกษาตําแหนงงานที่ปฏิบัติตางกันและระยะเวลาในการทํางานมีระดับความพึงพอใจแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 0.01 และ 0.001 ตามลําดับ

ศคงคราญ วองไวสกุลชัย (2551, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร สํานักงานจังหวัดอุบลราชธานี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในแตละดาน ประกอบดวย ดานบรรยากาศการทํางาน ดานคาตอบแทน และผลประโยชนเกื้อกูล ดานนโยบายของธนาคาร ดานการปกครองบังคับบัญชา และดานความสําเร็จในงาน จําแนกตาม เพศอายุ กลุมงานและตําแหนงงาน อายุงาน ระดับรายได และระดับการศึกษา ของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร สํานักงานจังหวัดอุบลราชธานี ประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแกพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรที่ปฏิบัติงานในสํานักงานจังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 296 คน และกลุมตัวอยางจํานวน 196 คน ไดมาจากการสุมตัวอยางประเภทที่ทราบโอกาสความนาจะเปน แบบเชิงชั้นภูมิ เคร่ืองมือในการศึกษาเปนแบบสอบถามที่จัดสรางขึ้นมีลักษณะเปนแบบสอบถามแบบกรอกรายการและแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ซึ่งมีความ

Page 48: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

39

เชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ .96 และใชสถิคิเชิงพรรณนาวิเคราะหขอมูลประกอบดวย คารอยละ คาเฉลี่ยการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยเปรียบเทียบ 2 และ 3 กลุม ใชสถิติ t-Test และ F-testผลการวิจัยพบวา

1. ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน พบวา พนักงานมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานรายดานเรียงลําดับจากมากที่สุดไปหานอยที่สุด ดังน้ี ดานความสําเร็จในงาน ดานบรรยากาศในการทํางานดานการปกครองบังคับบัญชา ดานนโยบายของธนาคาร และดานคาตอบแทนและผลประโยชนเกื้อกูล

2. สรุปผลการวิเคราะหเปรียบเทียบความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของกลุมตัวอยางพบวา พนักงานที่มีเพศ อายุ อายุงานและระดับการศึกษาตางกันมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกัน สวนพนักงานที่มีกลุมและตําแหนงงานแตกตางกันมีความพึงพอใจแตกตางกัน ในดานนโยบายองคการและการปกครองบังคับบัญชา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพนักงานที่มีระดับรายไดแตกตางกันมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกันดานนโยบายองคการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และดานความสําเร็จในงานมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

อรอุมา คมสัน (2551, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) ในจังหวัดสุราษฎรธานี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจและเปรียบเทียบปจจัยสวนบุคคลในจังหวัดสุราษฎรธานีใชแบบสอบถามเก็บขอมูลจากพนักงานธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) ทั้งหมดจากจํานวน 13 สาขา วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS หาคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติทดสอบคาที แลววิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว

ผลการวิจัยสรุปไดวา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) ในจังหวัดสุราษฎรธานี ปจจัยที่มีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ดานการยอมรับรองลงมาคือ ดานความสําเร็จในการทํางาน ดานความรับผิดชอบ ดานความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน ดานการบังคับบัญชาดานลักษณะงานที่ทํา ดานสภาพการทํางาน ดานนโยบายการบริหารงาน ดานความมั่นคง ดานผลตอบแทนและสวัสดิการดานความเจริญกาวหนาในหนาที่การงานตามลําดับโดยทุกปจจัยมีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) ในจังหวัดสุราษฎรธานี

Page 49: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

40

ปจจัยสวนบุคคลดานอายุมีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สําหรับปจจัยสวนบุคคลดานเพศ สถานภาพ การศึกษา ตําแหนงงาน อายุงาน รายไดมีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกัน ความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการปฏิบัติงานในธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) ในจังหวัดสุราษฎรธานีจะมีการปรับปรุงในปจจัยดานความเจริญกาวหนาในหนาที่การงานมีระดับความพึงพอใจโดยรวมในระดับปานกลาง ไดแก การไดรับการเลื่อนตําแหนงหรือเลื่อนชั้นและการปรับเงินเดือนที่มีความยุติธรรม หลักเกณฑการโยกยายตําแหนงและการยายสังกัดของพนักงานตองมีความยุติธรรม สวนดานการมีโอกาสศึกษาตอและดูงานภายในและตางประเทศมีระดับความพอใจนอย

สุรเชษฐ ผการัตนสกุล (2552, บทคัดยอ) ไดศึกษา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพจํากัด (มหาชน) ภาคนครหลวง 2 มีจุดประสงค 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพภาคนครหลวง 2 และ 2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทํางานของพนักงาน จําแนกตามลักษณะประชากรศาสตร ประชากรที่ศึกษาคือพนักงานธนาคารกรุงเทพ ภาคนครหลวง 2 จํานวน 516 คน เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป สถิติที่ใชในการวิเคราะหไดแก การจําแนกความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคาที และการวิเคราะหความแปรปรวน

ผลการศึกษาพบวา 1. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพภาคนครหลวง 2 ในภาพรวมอยูในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา อยูในระดับปานกลางทุกดานยกเวนดานความสัมพันธกับบุคคลในหนวยงานมีความพึงพอใจในระดับมาก 2. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานจําแนกตามลักษณะประชากรศาสตรพบวาพนักงานที่มีรายไดตอเดือนตางกันมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในดานความมั่นคงและโอกาสความกาวหนาและดานความยุติธรรมในหนวยงานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05และดานผลตอบแทนและสวัสดิการมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

กรภัทร เจริญสุข (2553, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานบริษัท ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดราชบุรี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานบมจ.ธนาคารกรุงไทยในจังหวัดราชบุรี ประชากร คือ พนักงานบมจ.ธนาคารกรุงไทยที่ปฏิบัติงานในจังหวัดราชบุรีจํานวน 141 คน กําหนดขนาดตัวอยางแลวสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิโดยสุมแบบงายจํานวน 106 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบงออกเปน 2 ตอนไดแก 1. ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามและ 2. ความพึงพอใจใน

Page 50: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

41

การทํางานของพนักงาน บมจ.ธนาคารกรุงไทยในจังหวัดราชบุรี สถิติที่ใช คือ คาความถี่ คารอยละคาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจในการทํางานของพนักงาน บมจ.ธนาคารกรุงไทยในจังหวัดราชบุรี โดยภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับมากและเมื่อพิจารณารายดานเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยจํานวนมากไปหาจํานวนนอย ไดแก ดานวิธีการปกครองของผูบังคับบัญชา ดานความรับผิดชอบ ดานเงินเดือน และสวัสดิการ ดานความกาวหนาในงานดานลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ดานนโยบาย และการบริหารงาน และดานสภาพการทํางานตามลําดับ

กรอบแนวคิดการวิจัยการวิจัยในคร้ังน้ีศึกษาถึงความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)

จังหวัดสระแกวไดนําทฤษฎีแรงจูงใจของเฮิรซเบิรก (Herzberg’s two - factors theory) มาเปนตัวแปรตามในการศึกษาไดบูรณาการปจจัยจูงใจและปจจัยค้ําจุน มาสรุปรวมเปนตัวแปรที่ใชศึกษา 5ดาน ไดแก ลักษณะของงาน ความมั่นคงในงาน เงินเดือนและสวัสดิการ ความกาวหนาในอาชีพและความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน สวนตัวแปรอิสระ ไดแก เพศ อายุสถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานดังภาพที่ 2

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการวิจัย

ปจจัยสวนบุคคล1. เพศ2. อายุ3. สถานภาพการสมรส4. ระดับการศึกษา5. ระดับเงินเดือน6. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว

1. ลักษณะของงาน2. ความมั่นคงในงาน3. เงินเดือนและสวัสดิการ4. ความกาวหนาในอาชีพ5. ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชา

และเพื่อนรวมงาน

Page 51: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

42

บทที่ 3วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวใชระเบียบวิจัยเชิงสํารวจ (Survey research) มีขั้นตอนการวิจัย ดังน้ี

1. ประชากรที่ใชในการศึกษา2. เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล3. การสรางเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล4. การเก็บรวบรวมขอมูล5. การวิเคราะหขอมูล6. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ประชากรที่ใชในการศึกษาประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแก พนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว

จํานวน 5 สาขา ไดแก สาขาอรัญประเทศ สาขาตาพระยา สาขาวัฒนานคร สาขาตลาดโรงเกลือ และสาขาสระแกว ทั้งสิ้น จํานวน 52 คน(ขอมูลพนักงาน, ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ณ เดือน มกราคม 2558) รายละเอียดจํานวนประชากรดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 จํานวนประชากรที่ใชในการศึกษา

ลําดับที่ สาขา จํานวนพนักงาน1 สระแกว 142 อรัญประเทศ 123 ตลาดโรงเกลือ 74 วัฒนานคร 115 ตาพระยา 8

รวม 52ที่มา : ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ณ เดือน มกราคม

Page 52: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

43

ศึกษาจากพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จํานวน 52 คนเน่ืองจากหลักเกณฑในการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางน้ัน หากประชากร มีจํานวนไมเกิน 100 คนใหศึกษาจากประชากร 100 % ดังน้ันในการวิจัยคร้ังน้ีจึงศึกษาจากพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกว ทั้งจํานวน (ไพฑูรย โพธิสวาง, 2556, หนา 167)

เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเคร่ืองมือที่ใชในการเกบ็รวบรวมขอมูล การศึกษาความพงึพอใจของพนักงาน

ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว คือ แบบสอบถาม ที่ผูวิจัยสรางขึ้นจากแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยสรางขึ้นใหเหมาะสมกับการศึกษาคร้ังน้ี แบบสอบถามแบงออกเปน 2 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวย เพศอายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน เปนขอความแบบเลือกตอบ (Check list)

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกวลักษณะของแบบสอบถามเปนชนิดประมาณคา 5 ระดับ คือ มากที่สุดมาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด ขอคําถามมีจํานวนทั้งหมด 25 ขอ

การสรางเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลการสรางเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล มีขั้นตอนดังน้ี1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจของพนักงานธนาคาร2. ทําแบบสอบถามซึ่งเปนขอคําถามเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคลและความพึงพอใจของ

พนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว เปนแบบเลือกตอบ และแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ

3. นําแบบสอบถามเสนอผูเชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรง และความถูกตองของเน้ือหา ตลอดจนความชัดเจนและการใชภาษาที่เหมาะสมของขอคําถาม เกณฑการประเมินผลความสอดคลองกําหนดคาตัวเลข ดังน้ี

คา +1 หมายถึงสอดคลองคา 0 หมายถึงไมแนใจคา -1 หมายถึงไมสอดคลอง

Page 53: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

44

ผูเชี่ยวชาญ ประกอบดวย1. ผศ.ดร.ไพฑูรย โพธิสวาง หัวหนาภาควิชารัฐศาสตร

คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา

2. ร.ต.อ.ดร.วิเชียร ตันศิริคงคล อาจารยประจําภาควิชารัฐศาสตรคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา

3. ดร. จักรี ไชยพินิจ อาจารยประจําภาควิชารัฐศาสตรคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา

4. ขอรับแบบสอบถามคืนจากผูเชี่ยวชาญ แลวนํามาคํานวณคาดัชนีความสอดคลอง IOC(Index of congruence ) ของคําถามในแตละขอ ถามี IOC <0.5 แสดงวาขอคําถามน้ันเน้ือหาไมตรงตามที่ตองการวัด ถือวาใชไมไดสรางขึ้นมาแทนใหมทดแทนกรณีที่เห็นวาไมครอบคลุม ใชสูตรดังน้ี (ไพฑูรย โพธิสวาง, 2556, หนา 154)

IOC =N

R

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับวัตถุประสงค∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิดานเน้ือหาN แทน จํานวนผูทรงคุณวุฒิ

ผลการคํานวณคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของขอคําถามในภาพรวมไดคา (IOC) = .935. นําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิแลวเสนอตอ

ประธานผูควบคุมงานนิพนธ เพื่อพิจารณาขั้นสุดทาย6. นําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแลวไปลองใช (Try out) กับพนักงานธนาคารกรุงไทย ใน

สาขาวังสมบูรณ จํานวน 15 คน และสาขาวังนํ้าเย็น จํานวน 15 คน รวมจํานวน 30 คน แลวนํามาวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ใชวิธีหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟา(Coefficient alpha) โดยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร (ไพฑูรย โพธิสวาง, 2556, หนา 154-155) ไดคาความเชื่อมั่นที่.96

7. นําแบบสอบถามที่ผานการทดสอบ มาปรับปรุงเพื่อความสมบูรณอีกคร้ัง แลวนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยางตอไป

Page 54: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

45

การเก็บรวบรวมขอมูลและการจัดกระทําขอมูลผูวจัิยไดดําเนินการตามลําดับขั้นตอน ดังน้ี1. ขอหนังสือจากคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ถึงผูจัดการ

ธนาคารกรุงไทย ทั้ง 5 สาขาเพื่อขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล2. จัดสงแบบสอบถามกลุมตัวอยาง และเก็บแบบสอบถามคืนจากกลุมตัวอยางดวย

ตนเอง

การวิเคราะหขอมูล1. นําแบบสอบถามที่ไดรับคืนมาตรวจสอบความสมบูรณ2. นําแบบสอบถามที่มีความสมบูรณไปวิเคราะหขอมูลโดยโปรแกรมสําเร็จรูป กําหนด

เกณฑการใหคะแนนแบบสอบถาม รวมทั้งการแปลความหมายของคะแนนที่กําหนดไว ดังน้ี2.1 แบบสอบถามความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัด

สระแกว ใชเกณฑและแปลความหมาย (ไพฑูรย โพธิสวาง, 2556, หนา 360) ดังน้ีชวงกวางของอันตรภาคชั้น = คะแนนสูงสุด –คําแนนตํ่าสุด

จํานวนชั้น= 5 - 1

5= .80

คะแนนเฉลี่ย4.21-5.00 ระดับความพึงพอใจมากที่สุดคะแนนเฉลี่ย3.41-4.20 ระดับความพึงพอใจมากคะแนนเฉลี่ย2.61-3.40 ระดับความพึงพอใจปานกลางคะแนนเฉลี่ย1.81-2.60 ระดับความพึงพอใจนอยคะแนนเฉลี่ย1.00-1.80 ระดับความพึงพอใจนอยที่สุด

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป เลือกเฉพาะวิธีวิเคราะหที่สอดคลองกับ

วัตถุประสงคและสมมติฐานการวิจัย ดังน้ี1. วิเคราะหปจจัยสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง โดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive

statistics) สถิติที่ใชคือ คาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage)

Page 55: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

46

2. วิเคราะหระดับความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) สถิติที่ใชคือ คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( )

3. การวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ใชการทดสอบคาที (t-Test) และการวิเคราะหคาความแปรปรวนทางเดียว (One - way ANOVA) เมื่อพบความแตกตางทําการทดสอบรายคูดวยวิธีการ LSD

Page 56: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

47

บทที ่4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว และศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ประชากรที่ใชในการศึกษา ไดแก พนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ สาขาตาพระยา สาขาวัฒนานคร สาขาตลาดโรงเกลือ และสาขาสระแกว จํานวน 52คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิจัยคือ คาความถี่ คารอยละคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทําการทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใชสถิติ t-Test และ One-wayANOVA และทําการทดสอบรายคู ดวยวิธี LSD เสนอผลการวิเคราะหออกเปน 3 สวน ดังน้ี

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามสวนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัด

สระแกวสวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูลN แทน จํานวนพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) แทน คะแนนเฉลี่ย แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐานdf แทน ระดับชั้นของความเปนอิสระSS แทน ผลรวมของคะแนนเบี่ยงเบนยกกําลังสองMS แทน คาความแปรปรวนt แทน คาสถิติทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ย 2 กลุมF แทน คาสถิติทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมP แทน ความนาจะเปน* แทน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 57: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

48

สวนที่ 1 ปจจยัสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามนําเสนอจํานวนและรอยละของประชากร จํานวน 52 คน ผลการวิเคราะหดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของประชากร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน รอยละเพศ

1. ชาย 14 26.922. หญิง 38 73.08

รวม 52 100.00อายุ

1. ตํ่ากวา 30 ป 16 30.772. 30-35 ป 4 7.693. 36 – 40 ป 4 7.694. 40 ปขึ้นไป 28 53.85

รวม 52 100.00สถานภาพการสมรส

1. โสด 17 32.692. สมรส 32 61.543. หมาย/หยาราง/แยกกันอยู 3 5.77

รวม 52 100.00ระดับการศึกษา

1. ปริญญาตรีและตํ่ากวา 48 92.312. ปริญญาโทและสูงกวา 4 7.69

รวม 52 100.00ระดับเงินเดือน

1. ตํ่ากวา 20,000 บาท 13 25.002. 20,001 – 30,000 บาท 10 19.233. มากกวา 30,001 บาท 29 55.77

รวม 52 100.00

Page 58: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

49

ตารางที่ 3 (ตอ)

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน รอยละระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

1. ไมเกิน 1 ป 4 7.692. 2 – 5 ป 16 30.773. 6 – 10 ป 4 7.694. 11 ปขึ้นไป 28 53.85

รวม 52 100.00

จากตารางที่ 3 พบวา ประชากรสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ73.08 รองลงมาคือเปนชาย จํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ 26.92 มีอายุ 40 ปขึ้นไป จํานวน 28 คนคิดเปนรอยละ 53.85 รองลงมาคือ อายุตํ่ากวา 30 ป จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 30.77 และอายุ30-35 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 7.69 เทากันกับ อายุ 36-40 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ7.69 เทากัน มีสถานภาพสมรส จํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 61.54 รองลงมาคือ สถานภาพโสดจํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 32.69 และสถานภาพหมาย/หยาราง/แยกกันอยู จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 5.77 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีและตํ่ากวา จํานวน 48 คน คิดเปนรอยละ 92.31 และการศึกษาระดับปริญญาโทและสูงกวา จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 7.69 มีระดับเงินเดือนมากกวา30,001 บาท จํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 55.77 รองลงมาคือ ตํ่ากวา 20,000 บาท จํานวน 13 คนคิดเปนรอยละ 25.00 และ 20,001-30,000 บาท จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 19.23 มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 11 ปขึ้นไป จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ 53.85 รองลงมาคือ 2 – 5 ป จํานวน 16คน คิดเปนรอยละ 30.77 และไมเกิน 1 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 7.69 เทากันกับ 6-10 ปจํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 7.69 ตามลําดับ

Page 59: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

50

สวนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว

ผลการวิเคราะหแบบสอบถามระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ผลการวิเคราะหดังตารางที่ 4 ถึง 9

ตารางที่ 4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว

ในภาพรวม

ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)

ระดับความพึงพอใจ ระดับ ลําดับ

1. ดานลักษณะของงาน 3.59 0.47 มาก 22. ดานความมั่นคงในงาน 4.23 0.55 มากที่สุด 13. ดานเงินเดือนและสวัสดิการ 3.56 0.65 มาก 34. ดานความกาวหนาในอาชีพ 3.51 0.62 มาก 45. ดานความสัมพันธระหวาง

ผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน3.50 0.68 มาก 5

รวม 3.68 0.59 มาก

จากตารางที่ 4 พบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากดั(มหาชน) จังหวัดสระแกวในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 3.68, = 0.59) เมื่อพิจารณาตามรายดาน พบวาดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือดานความมั่นคงในงาน ( = 4.23, = 0.55) รองลงมาคือดานลักษณะของงาน ( = 3.59, = 0.47) ดานเงินเดือนและสวัสดิการ ( = 3.56, = 0.65)ดานความกาวหนาในอาชีพ ( = 3.51, = 0.62) และ ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน ( = 3.50, = 0.68) ตามลําดับ

Page 60: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

51

ตารางที่ 5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานลักษณะของงาน

ดานลักษณะของงานระดับความพึงพอใจ

นอยที่สุด นอย

ปานกลาง มาก มากที่สุด ระดับ ลําดับ

1. ปริมาณงานท่ีไดรับมอบหมายมีความเหมาะสม

0(0.00)

1(1.92)

12(23.08)

30(57.69)

9(17.31)

3.90 0.69 มาก 1

2. งานท่ีปฏิบัติตรงกับความรูความสามารถของทาน

0(0.00)

3(5.77)

8(15.39)

34(65.38)

7(13.46)

3.87 0.71 มาก 3

3. ทานสามารถใชความคิดเปนของตนเองในการปฏิบัติงานได

0(0.00)

2(3.85)

9(17.31)

34(65.38)

7(13.46)

3.88 0.68 มาก 2

4. การปฏิบัติงานไมมีผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจของทาน

8(15.38)

8(15.38)

23(44.23)

11(21.16)

2(3.85)

2.83 1.06 ปานกลาง

5

5. ทานมีความสุขในงานท่ีไดรับมอบหมาย

1(1.92)

1(1.92)

27(51.93)

19(36.54)

4(7.69)

3.46 0.75 มาก 4

รวม 3.59 0.78 มาก

จากตารางที่ 5 พบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกวดานลักษณะของงาน อยูในระดับมาก ( = 3.59, = 0.78) เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือปริมาณงานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสม( = 3.90, = 0.69) รองลงมาคือ ทานสามารถใชความคิดเปนของตนเองในการปฏิบัติงานได( = 3.88, = 0.68) งานที่ปฏิบัติตรงกับความรูความสามารถของทาน ( = 3.87, = 0.71)ทานมีความสุขในงานที่ไดรับมอบหมาย ( = 3.46, = 0.75) และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือการปฏิบัติงานไมมีผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจของทาน ( = 2.83, = 1.06) ตามลําดับ

Page 61: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

52

ตารางที่ 6 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความมั่นคงในงาน

ดานความม่ันคงในงานระดับความพึงพอใจ

นอยที่สุด นอย

ปานกลาง มาก มากที่สุด ระดับ ลําดับ

6.ทานมีความภาคภูมิใจในช่ือเสียงของธนาคารอยูในระดับใด

0(0.00)

0(0.00)

5(9.62)

23(44.23)

24(46.15)

4.37 0.66 มากที่สุด 3

7.ทานมีความพึงพอใจและรูสึกม่ันใจวา อาชีพที่ปฏิบตัิอยูมีความม่ันคง

0(0.00)

0(0.00)

4(7.69)

22(42.31)

26(50.00)

4.43 0.64 มากที่สุด 1

8.ทานมีความพึงพอใจตอนโยบายและการบรหิารของระดับผูบรหิารทําใหธนาคารมีความม่ันคงและมีความเหมาะสม

2(3.85)

0(0.00)

8(15.38)

29(55.77)

13(25.00)

3.98 0.87 มาก 4

9.ทานมีความพอใจในตําแหนงงานของทาน อยูในระดับใด

0(0.00)

0(0.00)

15(28.85)

25(48.08)

12(23.07)

3.94 0.73 มาก 5

10.ทานคิดวาธนาคารไดรบัการยอมรับจากสังคมในระดับใด

0(0.00)

0(0.00)

3(5.77)

24(48.08)

25(46.15)

4.42 0.61 มากที่สุด 2

รวม 4.23 0.70 มากที่สุด

จากตารางที ่6 พบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานความมั่นคงในงาน อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.23, = 0.70)เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือทานมีความพึงพอใจและรูสึกมั่นใจวาอาชีพที่ปฏิบัติอยูมีความมั่นคง ( = 4.43, = 0.64) รองลงมาคือ ทานคิดวาธนาคารไดรับการยอมรับจากสังคมในระดับใด ( = 4.42, = 0.61) ทานมีความภาคภูมิใจในชื่อเสียงของธนาคารอยูในระดับใด ( = 4.37, = 0.66) ทานมีความพึงพอใจตอนโยบายและการบริหารของระดับผูบริหารทําใหธนาคารมีความมั่นคงและมีความ เหมาะสม ( = 3.98, = 0.87) และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือทานมีความพอใจในตําแหนงงานของทาน อยูในระดับใด ( = 3.94, = 0.73) ตามลําดับ

Page 62: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

53

ตารางที่ 7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดาน เงินเดือนและสวัสดิการ

ดานเงินเดือนและสวัสดิการระดับความพึงพอใจ

นอยที่สุด นอย

ปานกลาง มาก มากที่สุด ระดับ ลําดับ

11. ทานพอใจในระดบัเงินเดือน เม่ือเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบของทานในระดับใด

1(1.92)

2(3.85)

18(34.62)

24(46.15)

7(13.46)

3.66 0.84 มาก 1

12. ทานพอใจในอตัราการเพ่ิมเงินเดือนประจําป ในระดับใด

1(1.92)

0(0.00)

31(59.62)

16(30.77)

4(7.69)

3.42 0.72 มาก 5

13. ทานพอใจในสวัสดิการดานคาเบี้ยเล้ียง พาหนะในการทํางานของทานในระดบัใด

0(0.00)

1(1.92)

23(44.23)

21(40.39)

7(13.46)

3.65 0.74 มาก 2

14. ทานพอใจในผลตอบแทนเงินโบนัสประจําปของทานในระดับใด

0(0.00)

2(3.85)

25(48.08)

18(34.61)

7(13.46)

3.58 0.78 มาก 3

15. ทานพอใจใน สวัสดิการอื่นที่ธนาคารกําหนดใหอยูในระดับใด (เครื่องแบบที่ธนาคารจัดให, คาเชาบาน, คารักษาพยาบาล เปนตน

0(0.00)

1(1.92)

29(55.77)

17(32.69)

5(9.62)

3.50 0.70 มาก 4

รวม 3.56 0.76 มาก

จากตารางที ่7 พบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานเงินเดือนและสวัสดิการ อยูในระดับมาก ( = 3.56, = 0.76)เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือทานพอใจในระดับเงินเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบของทานในระดับใด ( = 3.66, = 0.84) รองลงมาคือทานพอใจในสวัสดิการดานคาเบี้ยเลี้ยง พาหนะในการทํางานของทานในระดับใด ( = 3.65, = 0.74) ทานพอใจในผลตอบแทนเงินโบนัสประจําปของทานในระดับใด ( = 3.58, = 0.78)ทานพอใจใน สวัสดิการอ่ืนที่ธนาคารกําหนดใหอยูในระดับใด (เคร่ืองแบบที่ธนาคารจัดให คาเชาบาน คารักษาพยาบาล

Page 63: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

54

เปนตน ( = 3.50, = 0.70) และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือทานพอใจในอัตราการเพิ่มเงินเดือนประจําป ในระดับใด ( = 3.42, = 0.72) ตามลําดับ

ตารางที่ 8 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความกาวหนาในอาชีพ

ดานความกาวหนาในอาชีพระดับความพึงพอใจ

นอยที่สุด

นอยปานกลาง

มาก มากที่สุด ระดับ ลําดับ

16.ทานมีโอกาสเล่ือนตําแหนงและเงินเดือนตามความสามารถและผลงาน

0(0.00)

1(1.92)

19(36.54)

25(48.08)

7(13.46)

3.73 0.72 มาก 2

17.ทานมีโอกาสไดเขาประชุมฝกอบรม และสัมมนาเพ่ือเพ่ิมความรูและประสบการณ

0(0.00)

1(1.92)

16(30.77)

26(50.00)

9(17.31)

3.83 0.73 มาก 1

18.ธนาคารสนับสนนุใหทานศึกษาตอเพ่ือเพ่ิมเติมคุณวุฒิ

6(11.54)

13(25.00)

12(23.08)

19(36.54)

2(3.84)

2.96 1.12 ปานกลาง

5

19.หลักเกณฑการโยกยายตําแหนงและการยายสังกัดของพนักงานธนาคารมีความยุติธรรม

0(0.00)

2(3.85)

26(50.00)

18(34.61)

6(11.54)

3.54 0.75 มาก 3

20.หลักเกณฑในการเล่ือนตําแหนงและปรับเงินเดือนมีความยุติธรรม

1(1.92)

2(3.85)

24(46.15)

21(40.39)

4(7.69)

3.48 0.78 มาก 4

รวม 3.51 0.82 มาก

จากตารางที่ 8 พบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความกาวหนาในอาชีพ อยูในระดับมาก ( = 3.51, = 0.82) เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือทานมีโอกาสไดเขาประชุม ฝกอบรม และสัมมนาเพื่อเพิ่มความรูและประสบการณ ( = 3.83, = 0.73) รองลงมาคือ ทานมีโอกาสเลื่อนตําแหนงและเงินเดือนตามความสามารถและผลงาน ( = 3.73, = 0.72) หลักเกณฑการโยกยายตําแหนง

Page 64: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

55

และการยายสังกัดของพนักงานธนาคารมีความยุติธรรม ( = 3.54, = 0.75) หลักเกณฑในการเลื่อนตําแหนงและปรับเงินเดือนมีความยุติธรรม ( = 3.48, = 0.78) และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือธนาคารสนับสนุนใหทานศึกษาตอเพื่อเพิ่มเติมคุณวุฒิ ( = 2.96, = 1.12) ตามลําดับ

ตารางที่ 9 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน

ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพ่ือน

รวมงาน

ระดับความพึงพอใจนอยที่สุด

นอยปานกลาง

มาก มากที่สุด ระดับ ลําดับ

21.ผูบังคบับญัชาคอยใหคําแนะนําและแกไขปญหาใหทานเสมอเม่ือประสบปญหาในการปฏิบัตงิาน

0(0.00)

2(3.85)

24(46.15)

19(36.54)

7(13.46)

3.60 0.77 มาก 1

22.ผูบังคบับญัชาและเพ่ือนรวมงานสามารถแยกความสัมพันธสวนตัวออกจากเรื่องการทํางานได

1(1.92)

1(1.92)

27(51.93)

19(36.54)

4(7.69)

3.46 0.75 มาก 4

23.บคุลากรของธนาคารมีความสามัคคี มีการทํางานเปนทีมเพ่ือใหบรรลุเปาหมายของสาขา

0(0.00)

3(5.77)

23(44.23)

21(40.39)

5(9.61)

3.54 0.75 มาก 2

24.ในการปฏิบตัิงานมีการประชุม สรุป แกไขปญหาการทํางานรวมกัน

0(0.00)

2(3.85)

25(48.08)

20(38.46)

5(9.61)

3.53 0.73 มาก 3

25.ทานมีการพบปะสังสรรคระหวางผูบงัคบับัญชาและเพ่ือนรวมงานตามโอกาส

0(0.00)

8(15.39)

21(40.38)

17(32.69)

6(11.54)

3.40 0.89 ปานกลาง

5

รวม 3.51 0.78 มาก

จากตารางที่ 9 พบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน อยูในระดับ

Page 65: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

56

มาก ( = 3.51, = 0.78) เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือผูบังคับบัญชาคอยใหคําแนะนําและแกไขปญหาใหทานเสมอเมื่อประสบปญหาในการปฏิบัติงาน ( = 3.60, = 0.77) รองลงมาคือบุคลากรของธนาคารมีความสามัคคี มีการทํางานเปนทีมเพื่อใหบรรลุเปาหมายของสาขา ( = 3.54, = 0.75) ในการปฏิบัติงานมีการประชุม สรุป แกไขปญหาการทํางานรวมกัน ( = 3.53, = 0.73) ผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานสามารถแยกความสัมพันธสวนตัวออกจากเร่ืองการทํางานได ( = 3.46, = 0.75) และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือทานมีการพบปะสังสรรคระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานตามโอกาส ( = 3.40, = 0.89) ตามลําดับ

สวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐานสมมติฐานขอที่ 1 พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวที่มีเพศ

แตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ตารางที่10 วิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน t Sig.ชาย 14 3.87 0.45 1.78 0.45หญิง 38 3.61 0.51

รวม 52*( p≤ .05)

จากตารางที่ 10 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามเพศโดยใชสถิติ t – Testเพื่อทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวที่มีเพศแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

สมมติฐานขอที่ 2 พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีอายุแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

Page 66: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

57

ตารางที่ 11 วิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามอายุ

แหลงความแปรปรวน SS df MS F Sigระหวางกลุม 0.10 3 0.03 0.12 0.95ภายในกลุม 12.84 48 0.27

รวม 12.93 51*( p≤ .05)

จากตารางที่ 11 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามอายุโดยใชคาสถติิ One-wayANOVA เพื่อทดสอบสมมติฐานพบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวที่มีอายุแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

สมมติฐานขอที่ 3 พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีสถานภาพการสมรสแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ตารางที่ 12 วิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามสถานภาพการสมรส

แหลงความแปรปรวน SS df MS F Sigระหวางกลุม 0.04 2 0.02 0.08 0.92ภายในกลุม 12.89 49 0.26

รวม 12.93 51*( p≤ .05)

จากตารางที่ 12 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามสถานภาพการสมรสโดยใชคาสถิติ One-way ANOVA เพื่อทดสอบสมมติฐานพบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน)

Page 67: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

58

จังหวัดสระแกวที่มีสถานภาพการสมรสแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

สมมติฐานขอที่ 4 พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ตารางที่ 13 วิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน t Sig.ปริญญาตรีและตํ่ากวา 48 3.67 0.46 0.29 0.59ปริญญาโทและสูงกวา 4 3.81 1.02

รวม 52*( p≤ .05)

จากตารางที่ 13 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวจําแนกตามระดับการศึกษา โดยใชสถิติt – Test เพื่อทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

สมมติฐานขอที่ 5 พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระดับเงินเดือนแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ตารางที่ 14 วิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามระดับเงินเดือน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F Sigระหวางกลุม 0.01 2 0.00 0.01 0.99ภายในกลุม 12.93 49 0.26

รวม 12.93 51*( p≤ .05)

Page 68: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

59

จากตารางที่ 14 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามระดับเงินเดือนโดยใชคาสถิติOne-way ANOVA เพื่อทดสอบสมมติฐานพบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวที่มีระดับเงินเดือนแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

สมมติฐานขอที่ 6 พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ตารางที่ 15 วิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F Sigระหวางกลุม 0.33 3 0.11 0.42 0.74ภายในกลุม 12.60 48 0.26

รวม 12.93 51*( p≤ .05)

จากตารางที่ 15 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามระยะเวลาในการปฏิบัติงานโดยใชคาสถิติ One-way ANOVA เพื่อทดสอบสมมติฐานพบวา พนักงานธนาคาร กรุงไทยจํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกวที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน แตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 69: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

60

ตารางที่ 16 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานการวิจัยที่ต้ังไว ผลการทดสอบสมมติฐาน

1. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีเพศแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

2. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีอายุแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

3. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีสถานภาพการสมรสแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

4. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

5. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระดับเงินเดือนแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

6. พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

จากตารางที่ 13 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือนและระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยทุกขอ

Page 70: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

61

บทที ่5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว และศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ประชากรที่ใชในการศึกษาไดแก พนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ สาขาตาพระยา สาขาวัฒนานคร สาขาตลาดโรงเกลือ และสาขาสระแกว จํานวน 52คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาความถี่ คารอยละคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใชสถิติ t-Test และ One-wayANOVA และทําการทดสอบรายคู ดวยวิธี LSD

สรุปผลการวิจัยสรุปผลการวิจัย โดยเรียงตามวัตถุประสงคในการวิจัย ดังน้ี1. ผลการวิเคราะหระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากดั

(มหาชน) จังหวัดสระแกว ผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 3.68) เมื่อพิจารณาตามรายดาน พบวา ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือดานความมั่นคงในงาน ( = 4.23) รองลงมาคือดานลักษณะของงาน ( = 3.59) ดานเงินเดือนและสวัสดิการ ( = 3.56) ดานความกาวหนาในอาชีพ ( = 3.51) และ ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน ( = 3.50)ตามลําดับเมื่อพิจารณารายละเอียดในรายดาน มีขอคนพบดังน้ี

1.1 ดานลักษณะของงานพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานลักษณะของงาน อยูในระดับมาก ( = 3.59)เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือปริมาณงานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสม รองลงมาคือ ทานสามารถใชความคิดเปนของตนเองในการปฏิบัติงานไดงานที่ปฏิบัติตรงกับความรูความสามารถของทาน ทานมีความสุขในงานที่ไดรับมอบหมาย และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือ การปฏิบัติงานไมมีผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจของทาน ตามลําดับ

Page 71: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

62

1.2 ดานความมั่นคงในงานพบวา ระดับความพงึพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานความมั่นคงในงาน อยูในระดับมากที่สุด( = 4.23) เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือทานมีความพึงพอใจและรูสึกมั่นใจวาอาชีพที่ปฏิบัติอยูมีความมั่นคง รองลงมาคือ ทานคิดวาธนาคารไดรับการยอมรับจากสังคมในระดับใด ทานมีความภาคภูมิใจในชื่อเสียงของธนาคารอยูในระดับใด ทานมีความพึงพอใจตอนโยบายและการบริหารของระดับผูบริหารทําใหธนาคารมีความมั่นคงและมีความ เหมาะสมและขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ทานมีความพอใจในตําแหนงงานของทาน อยูในระดับใดตามลําดับ

1.3 ดานเงินเดือนและสวัสดิการพบวา ระดับความพงึพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากดั (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานเงินเดือนและสวัสดิการ อยูในระดับมาก( = 3.56) เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือทานพอใจในระดับเงินเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบของทานในระดับใด รองลงมาคือ ทานพอใจในสวัสดิการดานคาเบี้ยเลี้ยง พาหนะในการทํางานของทานในระดับใด ทานพอใจในผลตอบแทนเงินโบนัสประจําปของทานในระดับใดทานพอใจใน สวัสดิการอ่ืนที่ธนาคารกําหนดใหอยูในระดับใด (เคร่ืองแบบที่ธนาคารจัดให คาเชาบาน คารักษาพยาบาล เปนตน และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ทานพอใจในอัตราการเพิ่มเงินเดือนประจําป ในระดับใดตามลําดับ

1.4 ดานความกาวหนาในอาชีพพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานความกาวหนาในอาชีพ อยูในระดับมาก( = 3.51) เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือทานมีโอกาสไดเขาประชุมฝกอบรม และสัมมนาเพื่อเพิ่มความรูและประสบการณรองลงมาคือ ทานมีโอกาสเลื่อนตําแหนงและเงินเดือนตามความสามารถและผลงานหลักเกณฑการโยกยายตําแหนงและการยายสังกัดของพนักงานธนาคารมีความยุติธรรม หลักเกณฑในการเลื่อนตําแหนงและปรับเงินเดือนมีความยุติธรรมและขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือธนาคารสนับสนุนใหทานศึกษาตอเพื่อเพิ่มเติมคุณวุฒิตามลําดับ

1.5 ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน อยูในระดับมาก ( = 3.51) เมื่อพิจารณาตามรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือผูบังคับบัญชาคอยใหคําแนะนําและแกไขปญหาใหทานเสมอเมื่อประสบปญหาในการปฏิบัติงาน รองลงมาคือ บุคลากรของธนาคารมีความสามัคคี มีการทํางานเปนทีมเพื่อใหบรรลุเปาหมายของสาขาในการปฏิบัติงานมีการประชุม สรุป แกไขปญหาการทํางานรวมกันผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานสามารถแยกความสัมพันธสวนตัวออกจากเร่ืองการ

Page 72: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

63

ทํางานได และขอที่มีคาเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ทานมีการพบปะสังสรรคระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานตามโอกาสตามลําดับ

2. ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล พบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยทุกขอ

อภิปรายผลการอภิปรายผลการวิจัย โดยเรียงตามวัตถุประสงคในการวิจัย มีดังน้ี1. ผลการวิเคราะหระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากดั

(มหาชน) จังหวัดสระแกว ผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 3.68) เมื่อพิจารณาตามรายดานพบวา ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือดานความมั่นคงในงาน ( = 4.23) รองลงมาคือดานลักษณะของงาน ( = 3.59) ดานเงินเดือนและสวัสดิการ ( = 3.56) ดานความกาวหนาในอาชีพ ( = 3.51) และ ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน ( = 3.50)ตามลําดับโดยผูวิจัยสามารถอภิปรายผลแยกรายดานไดดังน้ี

1.1 ดานความมั่นคงในงานมีระดับความพึงพอใจมาเปนลําดับแรก ผลการวิจัยพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏบิัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวอยูในระดับมากที่สุดโดยพนักงานของมีความพึงพอใจและรูสึกมั่นใจวา อาชีพที่ปฏิบัติอยูมีความมั่นคงคิดวาธนาคารไดรับการยอมรับจากสังคม มีความพึงพอใจตอนโยบายและการบริหารของระดับผูบริหารทําใหธนาคารมีความมั่นคงและมีความ เหมาะสมมีความภาคภูมใิจในชื่อเสียงของธนาคารและมีความพอใจในตําแหนงงานของทาน ซึ่งขอคําถามดังกลาว มีคาคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุดทุกดาน ทั้งน้ีอาจเปนเพราะ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) เปนธนาคารที่มีฐานะทางการเงินที่มั่นคง และมีสาขาครอบคลุมทุกจังหวัดของประเทศ มีการใหบริการอยางเปนระบบ มีระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีการจัดการดานการบริหารความเสี่ยงของธนาคารแหงประเทศไทยและมีระยะเวลาการดําเนินกิจการมาเปนเวลา 49 ป ต้ังแตป พ.ศ. 2509 ถึงปจจุบัน ทําใหพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) มีความพึงพอใจตอดานความมั่นคงในงานมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ อรอุมา คมสัน (2551, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) ในจังหวัดสุราษฎรธานี ผลการวิจัยสรุปไดวา

Page 73: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

64

ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทยจํากัด (มหาชน) ในจังหวัดสุราษฎรธานี ดานความมั่นคงมีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุดและไมสอดคลองกับผลการศึกษาของ อารยา ศิริรัตน (2550) ที่ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษาบมจ.ธนาคารทหารไทย พบวา พนักงาน บมจ.ธนาคารทหารไทย ที่ มีระดับความพึงพอใจดานความมั่นคงในงานอยูในระดับมาก และไมสอดคลองกับผลการศึกษาของ

1.2 ดานลักษณะของงานพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานลักษณะของงาน อยูในระดับมาก โดยพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) มีความพึงพอใจตอปริมาณงานที่ไดรับมอบหมาย สามารถใชความคิดเปนของตนเองในการปฏิบัติงานไดงานที่ปฏิบัติตรงกับความรูความสามารถ มีความสุขในงานที่ไดรับมอบหมาย และ การปฏิบัติงานไมมีผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจ ตามลําดับทั้งน้ีอาจเปนเพราะในการปฏิบัติงานของธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) น้ัน เปนงานดานการใหบริการรับ-ฝาก เงิน และดําเนินงานดานธุรกรรมทางการเงินในทุกประเภท พนักงานของธนาคารจะไดรับการฝกฝนกอนที่จะปฏิบัติงานจริง อีกทั้งลักษณะของงานที่ปฏิบัติจะเปนงานที่กระทําซ้ํา ๆจนเกิดความชํานาญ จึงสงผลใหดานลักษณะงานมีระดับความพึงพอใจในการปฎิบัติงานอยูในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ กรภัทร เจริญสุข (2553) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดราชบุรี ผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานบมจ.ธนาคารกรุงไทยในจังหวัดราชบุรีดานลักษณะของงานที่ปฏิบัติมีความพึงพอใจในระดับมาก

1.3 ดานเงินเดือนและสวัสดิการพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากดั (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานเงินเดือนและสวัสดิการ อยูในระดับมากโดยพนักงานมีความพึงพอใจในสวัสดิการดานคาเบี้ยเลี้ยง พาหนะในการทํางานพอใจในผลตอบแทนเงินโบนัสประจําป พอใจในระดับเงินเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบพอใจในอัตราการเพิ่มเงินเดือนประจําปพอใจใน สวัสดิการอ่ืนที่ธนาคารกําหนดให (เคร่ืองแบบที่ธนาคารจัดให, คาเชาบาน, คารักษาพยาบาล เปนตน) ซึ่งในดานน้ีน้ัน คาคะแนนเฉลี่ยของขอคําถามอยูในระดับมากทุกขอ ทั้งน้ีอาจเปนเพราะในการบริหารงานของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) มีเกณฑการใหคาตอบแทนและสวัสดิการแกพนักงานอยางเพียงพอและเหมาะสม จึงทําใหพนักงานมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของกรภัทร เจริญสุข (2553) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดราชบุรีผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจในการทํางานของพนักงาน บมจ.ธนาคารกรุงไทยในจังหวัดราชบุรีดานดานเงินเดือนและสวัสดิการมีความพึงพอใจในระดับมาก

Page 74: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

65

1.4 ดานความกาวหนาในอาชีพพบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว ดานความกาวหนาในอาชีพ อยูในระดับมาก โดยพนักงานมีโอกาสไดเขาประชุม ฝกอบรม และสัมมนาเพื่อเพิ่มความรูและประสบการณ หลักเกณฑในการเลื่อนตําแหนงและปรับเงินเดือนมีความยุติธรรมพนักงานมีโอกาสเลื่อนตําแหนงและเงินเดือนตามความสามารถและผลงานอีกทั้งธนาคารสนับสนุนใหทานศึกษาตอเพื่อเพิ่มเติมคุณวุฒิหลักเกณฑการโยกยายตําแหนงและการยายสังกัดของพนักงานธนาคารมีความยุติธรรม อีกดวยจากผลการวิจัยที่คนพบวา พนักงานมีความพึงพอใจตอความกาวหนาในอาชีพอยูในระดับมาก ทั้งน้ีอาจเปนเพราะ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ไดมีนโยบายในการที่จะพัฒนาทักษะของบุคลากรใหดีขึ้น โดยกําหนดไวในพันธกิจของธนาคาร ขอ 1 คือ การเสริมศักยภาพและพัฒนาทักษะของบุคลากรและระบบงาน ดังน้ัน พนักงานของธนาคารจึงมีโอกาสไดเขารับการฝกอบรม สัมมนาเพื่อเพิ่มความรูและประสบการณอยูเสมอ อีกทั้งยังมีหลักเกณฑในการเลื่อนตําแหนงและเกณฑการโยกยายที่ชัดเจน จึงทําใหพนักงานของธนาคารมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานดานความกาวหนาในอาชีพ อยูในระดับมาก ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของกรภัทร เจริญสุข (2553, บทคัดยอ)ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดราชบุรี ผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจในการทํางานของพนักงาน บมจ.ธนาคารกรุงไทยในจังหวัดราชบุรีดานความกาวหนาในงานมีความพึงพอใจในระดับมาก

1.5 ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานพบวาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกวดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน อยูในระดับมาก โดยในการปฏิบัติงานไดมีการประชุม สรุป แกไขปญหาการทํางานรวมกันผูบังคับบัญชาคอยใหคําแนะนําและแกไขปญหาใหเสมอเมื่อประสบปญหาในการปฏิบัติงาน มีการพบปะสังสรรคระหวางผูบังคบับัญชาและเพื่อนรวมงานตามโอกาสผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานสามารถแยกความสัมพันธสวนตัวออกจากเร่ืองการทํางานไดและบุคลากรของธนาคารมีความสามัคคี มีการทํางานเปนทีมเพื่อใหบรรลุเปาหมายของสาขา ทั้งน้ีอาจเปนเพราะในการที่จะขึ้นเปนผูบริหารของธนาคารกรุงไทย จํากัด(มหาชน) น้ัน ผูบริหารที่ไดรับคัดเลือกใหดํารงตําแหนงจะตองผานการอบรมเกี่ยวกับการบริหารงาน การทํางานเปนทีม และดานอ่ืน ๆ ที่จําเปน ทั้งในสวนของการปฏิบัติงานและความสัมพันธกับผูใตบังคับบัญชา โดยมุงเนนการทํางานเปนทีม จึงทําใหพนักงานธนาคารมีความพึงพอใจในความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงาน อยูในระดับมากซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ กรภัทร เจริญสุข (2553, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดราชบุรี ผลการวิจัยพบวา ระดับความพึงพอใจ

Page 75: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

66

ในการทํางานของพนักงาน บมจ. ธนาคารกรุงไทยในจังหวัดราชบุรีดานวิธีการปกครองของผูบังคับบัญชามีความพึงพอใจในระดับมาก

2. ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล พบวา พนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด(มหาชน) จังหวัดสระแกว ที่มีเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ทั้งน้ีอาจเปนเพราะในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทยน้ัน ไดมีกรอบอํานาจหนาที่ในการใหบริการกําหนดไว ในแตละตําแหนงอยางชัดเจน วาจะตองปฏิบัติงานอะไร และอยางไรบาง อีกทั้งธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ยังไดมีนโยบายและความมุงมั่นที่ จะสรางวัฒนธรรมบรรษัทภิบาลใหเกิดขึ้นในองคกร จึงทําใหองคกร มีมาตรฐานที่เทาเทียมกัน ดังน้ันปจจัยสวนบุคคลของพนักงานของธนาคารไมวาจะเปนเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษาระดับเงินเดือน หรือระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกตางกัน จึงไมสงผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคาร ซึ่งไมสอดคลองกับผลการศึกษาของอารยา ศิริรัตน (2550) ศึกษาเร่ือง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา บมจ. ธนาคารทหารไทย พบวาตัวแปรทุกตัวแปร ซึ่งไดแก เพศ อายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงงาน และอายุงาน มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน แตกตางกันในปจจัยทุกปจจัยทั้งน้ีอาจเปนเพราะในการทดสอบสมมติฐานน้ัน ขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ไมวาจะเปนปจจัยสวนบุคคล หรือความพึงพอใจของพนักงานธนาคาร ซึ่งแตกตางกัน จึงสงผลใหผลการศึกษาไมสอดคลองกัน

ขอเสนอแนะ1. ขอเสนอแนะเชิงวิชาการ

1.1 จากผลการศึกษาพบวา ในการปฏิบัติงานของพนักงานทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจของพนักงาน ดังน้ัน ผูบริหารจึงควรสรางทัศนคติในการปฏิบัติงานที่ดีใหแกพนักงานของธนาคาร มีการจัดอบรมสําหรับการรับมือกับสถานการณตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น เชนมีการจําลองสถานการณตาง ๆ และรวมกันหาทางแกไขปญหา มีการประชุมรายสัปดาหหรือรายเดือน เพื่อรับฟงปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคาร เพื่อรวมกันหาทางแกไขปญหาและปองกันการเกิดขึ้นของปญหาในอนาคต เปนตน

1.2 จากผลการศึกษา ดานเงินเดือนและสวัสดิการ เมื่อพิจารณาเปนรายขอ ผลการวิจัยพบวา มีพนักงานจํานวนหน่ึงซึ่งมีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง(ตารางที่5) อาจเน่ืองมาจากคาครองชีพในปจจุบันไดสูงขึ้น ดังน้ันผูบริหารจึงควรใหความใสใจในความเปนอยูของ

Page 76: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

67

ผูใตบังคับบัญชามากยิ่งขึ้น มีการเพิ่มเงินเดือนหรือสวัสดิการเพิ่มเติม หรืออาจมีการกําหนดกติกาในการปฏิบัติงานใหประสบผลสําเร็จแลวมีรางวัลตอบแทน เชน มีการกําหนดเปาของการรับฝากเงินใหสูงกวาที่ไดรับนโยบายมา หากทําสําเร็จจะมีโบนัสใหเพิ่มขึ้น เปนตน ซึ่งนอกจากจะสรางขวัญกําลังใจใหพนักงานแลวยังสงผลถึงผลการปฏิบัติงานของสาขาอีกดวย

1.3 จากผลการศึกษาดานความกาวหนาในอาชีพ เมื่อพิจารณาเปนรายขอจากผลการวิจัยพบวา มีพนักงานจํานวนหน่ึงมีความพึงพอใจตอความกาวหนาในอาชีพอยูในระดับปานกลาง (ตารางที่ 6) ดังน้ันผูบริหารจึงควรใหความสําคัญในการเตรียมความพรอมของบุคลากรตอการปรับตําแหนง เชน การสงเสริมใหมีการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น การมอบหมายงานพิเศษใหปฏิบัติเพื่อใหมีผลงานที่มากขึ้นกวางานประจําที่ปฏิบัติอยู รวมถึงการสงไปศึกษาดูงาน อบรมสัมมนาเพื่อเพิ่มศักยภาพของพนักงาน เมื่อมีการปรับตําแหนงจะไดมีคุณสมบัติที่เพียงพอ เปนตน

2. ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป2.1 ควรศึกษาวิจัยเร่ืองเดียวกันน้ี กับธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ในสาขาอ่ืน

เพื่อทราบถึงระดับความพึงพอใจเชิงเปรียบเทียบ ซึ่งอาจมีผลตอการปรับปรุง การบริหารงานของธนาคารในภาพรวมตอไป

2.2 ควรขยายพื้นที่ที่ใชในการศึกษา เชน ศึกษาจากจํานวนพนักงานของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ในระดับจังหวัด ระดับภาค เพื่อทําใหเกิดผลการวิจัยที่ครอบคลุมพื้นที่ในภาพรวมมากยิ่งขึ้น

2.3 ควรศึกษาวิจัยดานอ่ืน ๆ เชนดานความรูทัศนคติการมีสวนรวมของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) เพื่อที่จะไดทราบขอมูลในกลุมเดียวกันเปนการสรางความนาเชื่อถือในการที่จะนาผลการวิจัยไปใชประโยชนทั้งทางวิชาการและการปรับปรุงองคกรใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไป

2.4 ควรศึกษาเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจในการทางานกับกลุมตัวอยางอ่ืนซึ่งเปนพนักงานในเครือขายของธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) เพื่อที่จะไดทราบระดับความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) กลุมอ่ืน ๆ ทําใหเห็นภาพรวมของพนักงานทราบถึงระดับความพึงพอใจเชิงเปรียบเทียบซึ่งอาจมีผลตอการปรับปรุงนโยบายและการบริหารงานของธนาคารตอไป

Page 77: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

68

บรรณานุกรม

กรภัทร เจริญสุข. (2552). ความพึงพอใจในการทางานของพนักงานบริษัทธนาคารกรุงไทยจํากัด(มหาชน) ในจังหวัดราชบุรี. ภาคนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ,บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบานจอมบึง.

กาญจนา ณ ลําพูน. (2550). ปจจัยจูงใจที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทย จํากัด (มหาชน) ในเขต 21 (จังหวัดเชียงใหม เชียงราย และแมฮองสอน). การศึกษาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป,บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

นวรัตน วิบูลยศรี. (2550). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่การศึกษา 2. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต,สาขาบริการการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

นิพร สามคํา. (2550). การศึกษาความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารออมสินสังกัดเขตเชียงราย. การศึกษาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป,บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

ไพฑูรย โพธิสวาง. (2556). การทําวิจัยทางสังคมศาสตร: หลักการ วิธีปฏิบัติ สถิติ และคอมพิวเตอร. ชลบุรี: คัม อิน.

รมยชลี สุวรรณชัยรักษ. (2550). ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานธนาคารทหารไทย จํากัด(มหาชน) จังหวัดลําปาง. ภาคนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป,บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎลําปาง.

ศคงคราญ วองไวสกุลชัย. (2551). ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร สํานักงานจังหวัดอุบลราชธานี. ภาคนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.

สุรเชษฐ ผการัตนสกุล. (2552). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพจํากัด (มหาชน) ภาคนครหลวง 2. ภาคนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการทั่วไป, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.

อรอุมา คมสัน. (2551). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารนครหลวงไทย จํากัด(มหาชน) ในจังหวัดสุราษฏรธานี. ภาคนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎรธานี.

Page 78: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

69

อารยา ศิริรัตน. (2550). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา บมจ.ธนาคารทหารไทย. สารนิพนธเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

Heizberg, F., Mansner, B., & Barbara, S. (1959). The motivation to work. New York: JohnWiley.

Maslow, A. (1970). Motivation and personnality. New York: Harper and Row.Milton, L. B. & James, C. N. (1968). Industrial psychology. New York: Haper& Row.Morse, N. C. (1955). Satisfaction in the white collar job. Michican: University of Michican.Strauss, G. & Sayless, L. R. (1960). Personal: The human problem of management.

Eaglewood Cliffs: Prentice-Hall.

Page 79: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

70

ภาคผนวก

Page 80: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

71

ภาคผนวก กเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

Page 81: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

72

แบบสอบถามเพื่อการวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ

จังหวัดสระแกว.............................................................

คําชี้แจง1. แบบสอบถามน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อที่จะทราบระดับความพึงพอใจที่มีตอการ

ปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ จังหวัดสระแกว ในการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบรูพา

2. คําตอบทุกคําตอบ ขอมูลทุกอยางในแบบสอบถามน้ี ผูศึกษาคนควาจะถือวาเปนความลับ

3. กรุณาตอบแบบสอบถามทุกขอ ตามความเปนจริงเพื่อความถูกตองของผลการศึกษา4. แบบสอบถามแบงออกเปน 2 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจที่มีตอการปฏิบัติงานของ

พนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ จังหวัดสระแกว5. ผูศึกษาขอขอบพระคุณเปนอยางสูงที่ใหความอนุเคราะหในการตอบแบบสอบถาม

เจนจิราพร รอนไพรินนิสิตปริญญาโทหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการเมืองการปกครองคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

Page 82: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

73

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง โปรดกาเคร่ืองหมาย ลงใน ที่ตรงกับขอมูลสวนตัวของทานมากที่สุด

1.เพศ 1. ชาย 2. หญิง

2.อายุ 1. ตํ่ากวา 30 ป 2. 30-35 ป 3. 36 – 40 ป 4. 40 ปขึ้นไป

3. สถานภาพการสมรส 1. โสด 2. สมรส 3. หมาย/หยาราง/แยกกันอยู

4. ระดับการศึกษา 1. ปริญญาตรีและตํ่ากวา 2. ปริญญาโทและสูงกวา

6. ระดับเงินเดือน 1. ตํ่ากวา 20,000 บาท 2. 20,001 – 30,000 บาท 3. มากกวา 30,001 บาท

7. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 1. ไมเกิน 1 ป 2. 2 – 5 ป 3. 6 – 10 ป 4. 11 ปขึ้นไป

Page 83: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

74

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับระดับความพึงพอใจที่มีตอการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สาขาอรัญประเทศ จังหวัดสระแกวคําชี้แจง โปรดอานขอความแตละขออยางละเอียด แลวกรุณาใสเคร่ืองหมาย ลงในชองที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของทานมากที่สุด

ท่ี ขอคําถามระดับความพึงพอใจ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

1.ดานลักษณะของงานปริมาณงานท่ีไดรับมอบหมายมีความเหมาะสม

2. งานท่ีปฏิบัติตรงกับความรูความสามารถของทาน3. ทานสามารถใชความคิดเปนของตนเองในการ

ปฏิบัติงานได4. การปฏิบัติงานไมมีผลกระทบตอสุขภาพรางกายและ

จิตใจของทาน5. ทานมีความสุขในงานท่ีไดรับมอบหมาย

6.ดานความม่ันคงในงานทานมีความภาคภูมิใจในชื่อเสียงของธนาคารอยูในระดับใด

7. ทานมีความพึงพอใจและรูสึกม่ันใจวา อาชีพท่ีปฏิบัติอยูมีความม่ันคง

8. ทานมีความพึงพอใจตอนโยบายและการบริหารของระดับผูบริหารทําใหธนาคารมีความม่ันคงและมีความเหมาะสม

9. ทานมีความพอใจในตําแหนงงานของทาน อยูในระดับใด

10. ทานคิดวาธนาคารไดรับการยอมรับจากสังคมในระดับใด

Page 84: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

75

ท่ี ขอคําถามระดับความพึงพอใจ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

11.ดานเงินเดือนและสวัสดิการทานพอใจในระดับเงินเดือน เม่ือเปรียบเทียบกับความรับผิดชอบของทานในระดับใด

12. ทานพอใจในอัตราการเพิ่มเงินเดือนประจําป ในระดับใด

13. ทานพอใจในสวัสดิการดานคาเบ้ียเล้ียง พาหนะในการทํางานของทานในระดับใด

14. ทานพอใจในผลตอบแทนเงินโบนัสประจําปของทานในระดับใด

15. ทานพอใจใน สวัสดิการอ่ืนท่ีธนาคารกําหนดใหอยูในระดับใด (เครื่องแบบท่ีธนาคารจัดให, คาเชาบาน, คารักษาพยาบาล เปนตน)

16.ดานความกาวหนาในอาชีพทานมีโอกาสเล่ือนตําแหนงและเงินเดือนตามความสามารถและผลงาน

17. ทานมีโอกาสไดเขาประชุม ฝกอบรม และสัมมนาเพื่อเพิ่มความรูและประสบการณ

18. ธนาคารสนับสนุนใหทานศึกษาตอเพื่อเพิ่มเติมคุณวุฒิ19. หลักเกณฑการโยกยายตําแหนงและการยายสังกัดของ

พนักงานธนาคารมีความยุติธรรม20. หลักเกณฑในการเล่ือนตําแหนงและปรับเงินเดือนมี

ความยุติธรรม

21.

ดานความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานผูบังคับบัญชาคอยใหคําแนะนําและแกไขปญหาใหทานเสมอเม่ือประสบปญหาในการปฏิบัติงาน

22. ผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานสามารถแยกความสัมพันธสวนตัวออกจากเรื่องการทํางานได

Page 85: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

76

ท่ี ขอคําถามระดับความพึงพอใจ

มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

23. บุคลากรของธนาคารมีความสามัคคี มีการทํางานเปนทีมเพื่อใหบรรลุเปาหมายของสาขา

24. ในการปฏิบัติงานมีการประชุม สรุป แกไขปญหาการทํางานรวมกัน

25. ทานมีการพบปะสังสรรคระหวางผูบังคับบัญชาและเพื่อนรวมงานตามโอกาส

**ขอขอบคุณทุกทานในการตอบแบบสอบถามในคร้ังน้ี**

Page 86: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

77

ภาคผนวก ขผลการตรวจพิจารณาเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

Page 87: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

78

ผลการตรวจพิจารณาเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

ขอท่ี ผูเช่ียวชาญคนท่ี 1 ผูเช่ียวชาญคนท่ี 2 ผูเช่ียวชาญคนท่ี 3 รวมคะแนน คาIOC

1 +1 +1 +1 +3 12 +1 +1 +1 +3 13 +1 +1 +1 +3 14 0 +1 +1 +2 .675 +1 +1 +1 +3 16 +1 +1 +1 +3 17 +1 +1 +1 +3 18 0 +1 +1 +2 .679 0 +1 +1 +2 .6710 +1 +1 +1 +3 111 0 +1 +1 +2 .6712 +1 +1 +1 +3 113 +1 +1 +1 +3 114 +1 +1 +1 +3 115 +1 +1 +1 +3 116 +1 +1 +1 +3 117 +1 +1 +1 +3 118 +1 +1 +1 +3 119 0 +1 +1 +2 .6720 +1 +1 +1 +3 121 +1 +1 +1 +3 122 +1 +1 +1 +3 123 +1 +1 +1 +3 124 +1 +1 +1 +3 125 +1 +1 +1 +3 1

รวม +70 93.33

ผลการคํานวณคา IOC ไดผล เทากับ .93

Page 88: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

79

ภาคผนวก คคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม

Page 89: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

80

คาความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม (Reliability)

Case Processing Summary

N %Cases Valid 30 100.0

Excluded(a) 0 .0Total 30 100.0

a Listwise deletion based on all variables in the procedure.

Reliability Statistics

Cronbach'sAlpha N of Items

.955 25

Page 90: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

81

Item-Total Statistics

Scale Mean ifItem Deleted

Scale Varianceif Item Deleted

CorrectedItem-TotalCorrelation

Cronbach'sAlpha if Item

Deleteda1 94.0667 117.168 .716 .953a2 93.6333 122.033 .560 .954a3 93.9667 117.895 .563 .955a4 94.1000 117.059 .843 .951a5 93.7667 115.978 .815 .952b6 93.1333 123.292 .581 .954b7 92.9333 123.099 .564 .954b8 93.1333 121.637 .741 .953b9 93.2333 122.323 .505 .955b10 93.0333 123.482 .533 .955c11 93.6333 118.309 .858 .951c12 93.8333 118.626 .730 .953c13 93.3000 121.183 .568 .954c14 93.4333 117.495 .701 .953c15 93.8333 116.764 .865 .951d16 93.7667 120.875 .587 .954d17 93.4667 120.326 .507 .955d18 93.8333 121.109 .554 .954d19 93.8333 116.971 .691 .953d20 93.6667 121.954 .547 .954e21 93.5000 118.259 .756 .952e22 93.6000 120.317 .723 .953e23 93.6000 119.490 .792 .952e24 93.4000 119.283 .791 .952e25 93.5000 119.086 .697 .953

Page 91: ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910336.pdf · 2018-09-18 · ผู ช วยศา สตราจารย

82

ประวัติยอของผูวิจัย

ชื่อ – สกุล นางสาวเจนจิราพร รอนไพรินวัน เดือน ป เกิด 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529สถานที่เกิด จังหวัดสระแกวสถานที่อยูปจจุบัน 174/22 หมู 7 ถนน ธนะวิถี ตําบลบานใหมหนองไทร

อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว 27120ตําแหนงและประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2552-2553 เจาหนาที่บริการธุรกิจธนาคารกสิกรไทย สาขาตลาดโรงเกลืออําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว

พ.ศ. 2544-ปจจุบัน เจาหนาที่การตลาดธนาคารทิสโกอําเภอเมืองสระแกว จังหวัดสระแกว

ประวัติการศึกษาพ.ศ. 2552 - 2556 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ)

มหาวิทยาลัยบูรพาพ.ศ. 2556 - 2557 รัฐศาสตรมหาบัณฑิต

(การเมืองการปกครอง)มหาวิทยาลัยบูรพา