คุณภาพชีวิตในการทํางานของ...

69
คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี รัตนาภรณ บุญมี งานนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา มิถุนายน 2558 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

Upload: others

Post on 12-Apr-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี

รัตนาภรณ บุญมี

งานนิพนธน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการเมืองการปกครอง

คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพามิถุนายน 2558

ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

Page 2: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
Page 3: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

ประกาศคุณูปการ

งานนิพนธ เร่ือง คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปดวยดี ดวยความกรุณาอยางยิ่งจากทาน ผศ.ดร.ไพฑูรย โพธิสวาง หัวหนาภาควิชารัฐศาสตร ที่ปรึกษางานวิจัย และผูเชี่ยวชาญทั้ง 2 ทาน คือ ทาน ร.ต.อ. ดร.วิเชียร ตันศิริคงคลประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต และทาน ดร.จักรี ไชยพินิจ ผูชวยคณบดีคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร ในการใหคําปรึกษา แนะนํา ตรวจ ปรับแกไขขอบกพรองตาง ๆ ของงานวิจัยใหมีความถูกตอง ตรงตามวัตถุประสงค ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสน้ี

การศึกษาคร้ังน้ี จะสําเร็จลุลวงไปไมได หากขาดความรวมมือจากขาราชการ พนักงานเทศบาลตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ผูบริหาร สมาชิกสภา และเจาหนาที่ของเทศบาลตําบลนาดี ตลอดจนผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานที่กรุณาใหความอนุเคราะหในการตอบแบบสอบถาม ขอขอบคุณเพื่อนรวมสถาบันและเพื่อนรวมรุน ที่คอยใหความชวยเหลือในดานตาง ๆ และสรางแรงจูงใจในการทํางานนิพนธคร้ังน้ี

ทายที่สุดน้ี ผูศึกษาขอขอบคุณพระคุณมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแกว ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาทางดานการศึกษาและการปฏิบัติงานผานอาจารยประจําวิชาจากภาควิชาตาง ๆ เพื่อใหผูศึกษาสามารถนําความรูจากการเรียนและการปฏิบัติมาประมวลผลเปนงานวิจัยที่มีประโยชนตอหนวยงาน และขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา และทุกทานที่คอยใหการสนับสนุนและเปนกําลังใจอันสําคัญยิ่งในการทํางานนิพนธคร้ังน้ี ผูศึกษาขอขอพระคุณจากใจจริง

รัตนาภรณ บุญมี

Page 4: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

56910368: สาขาวิชา: การเมืองการปกครอง; ร.ม. (การเมืองการปกครอง)คําสําคัญ: คุณภาพชีวิต/ การทํางาน/ พนักงาน/ เทศบาลตําบลนาดี

รัตนาภรณ บุญมี: คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี (QUALITYOF WORKING LIFE OF OFFICIALS IN NADEE MUNICIPALITY.) คณะกรรมการการควบคุมงานนิพนธ: ไพฑูรย โพธิสวาง, ร.ด. วิเชียร ตันศิริคงคล, ร.ด., ไชยา กุฎาคาร, ร.ด., 60 หนา. ปพ.ศ. 2558.

การศึกษา เรื่อง “คณุภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี โดยจําแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประสบการณการทํางานและรายไดตอเดือนกลุมตัวอยาง ไดแก พนักงานเทศบาลตําบลนาดีจํานวน 90 คน สถิติท่ีใชในการวิจัย ไดแก คาความถ่ีคาสถิติรอยละ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานและทดสอบความแตกตาง โดยใชคาสถิติ t-Test และ One-way ANOVA

1. ผลการศึกษาระดับคุณภาพชวิีตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี พบวาพนักงานเทศบาลตําบลนาดี มีคุณภาพชีวิตการในทํางานในภาพรวมอยูในระดับดีโดยดานท่ีมีระดับคุณภาพชีวิตมากท่ีสุด คือ ดานความภูมิใจในองคกร รองลงมาคือ ดานความกาวหนา ดานสภาพท่ีทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ และดานภาวะอิสระในการปฏิบัติงานดานสังคมสัมพันธดานลักษณะการบริหารงาน ดานคาตอบแทนท่ียุติธรรมและเพียงพอ ตามลําดับและดานท่ีมีคาเฉล่ียนอยท่ีสุด คือ ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน

2. ผลการเปรียบเทียบคุณภาพชวิีตตามปจจัยสวนบุคคล พบวาระดับการศึกษาและประสบการณทํางานมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 สวนปจจัย ทางดานเพศ อายุ สถานภาพสมรสและรายไดเฉล่ียตอเดือนมีคุณภาพชีวิตการทํางานไมแตกตางกันท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติท่ี .05 โดยผูศึกษาขอเสนอแนวทางเพื่อเปนการปรับปรุงคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ดังน้ีควรเปดโอกาสและสนับสนุนพนักงานระดับปฏิบัติการใหมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับวุฒิการศึกษาใหมใหกาวไปสูตําแหนงงานท่ีสูงขึ้น โดยอํานวยความสะดวกในการลาไปเรียนหรือสอบ ตลอดจนมอบทุนสนับสนุนเพื่อศึกษาตอรวมถึงควรพิจารณาและแกไขปญหา โดยมีการกําหนดแนวทางในการปรับเงินเดือน ปรับสวัสดิการตาง ๆ ใหมีความเหมาะสมกับคาครองชีพในปจจุบันตลอดจนควรเปดโอกาสใหพนักงานมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็น และมีการพิจารณาความดี ความชอบอยางเปนธรรมและทัดเทียมกับพนักงานคนอ่ืน ๆ

Page 5: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทยสารบัญสารบัญตารางสารบัญภาพ

งฉซฌ

บทที่1 บทนํา 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาปญหาการวิจัยวัตถุประสงคของการวิจัยสมมติฐานของการวิจัยขอบเขตการวิจัยนิยามศัพทที่ใชในการวิจัยประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1333346

2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 7ความหมายคุณภาพชีวิตในการทํางานแนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานตัวชี้วัดหรือองคประกอบของคุณภาพชีวิตการทํางานงานวิจัยที่เกี่ยวของกรอบแนวคิดในการวิจัย

710151621

3 วิธีดําเนินการวิจัย 22ประชากรและกลุมตัวอยางเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยการสรางและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือการรวบรวมขอมูลการวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย

2223232425

Page 6: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา4 ผลการศึกษา 27

ตอนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลตอนที่ 2 ระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีอําเภอนาดี จังหวัด ปราจีนบุรีตอนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

27

3139

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 46สรุปผลอภิปรายผลขอเสนอแนะ

464750

บรรณานุกรมภาคผนวกประวัติยอของผูวิจัย

525460

Page 7: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา1234567

8

9

10

11

12

13

14

15

จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศจํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุจํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามสถานภาพสมรสจํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษาจํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามประสบการณทํางานจํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือนจํานวนรอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ในภาพรวมจํานวนรอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามความคิดเห็นดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามความคิดเห็นดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามความคิดเห็นดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงานคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามความคิดเห็นดานความกาวหนาคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามความคิดเห็นดานสังคมสัมพันธคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามความคิดเห็นดานลักษณะการบริหารงานคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามความคิดเห็นดานภาวะอิสระในการปฏิบัติงานคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามความคิดเห็นดานความภูมิใจในองคกร

272828293030

31

32

33

34

35

36

37

38

39

Page 8: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา16

17

18

19

20

21

22

23

24

คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามเพศคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามอายุวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามสถานภาพสมรสคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามระดับการศึกษาการเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู ฃคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามประสบการณทํางานการเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามประสบการณทํางานเปนรายคูคาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือนสรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย

40

40

41

41

42

43

43

4444

Page 9: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา1 กรอบแนวความคิดในการวิจัย 21

Page 10: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

1

บทที่ 1บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการทํางานมีความสําคัญตอชีวิตมนุษยเปนอยางยิ่ง อาจกลาวไดวาการทํางานเปนสวน

หน่ึงของชีวิตที่ปฏิบัติมากกวากิจกรรมใด ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในหนวยงานราชการ คาดกันวามนุษยไดใชเวลาถึงหน่ึงในสามของชีวิตเปนอยางนอยอยูในสํานักงาน และยังเชื่อวาในอนาคตอันใกลน้ี มนุษยจําเปนตองใชเวลาของชีวิตเกี่ยวของกับการทํางานเพิ่มขึ้นไปอีก

การทํางานเปนสิ่งที่ใหประสบการณที่มีคุณคาตอชีวิตมนุษย เพราะเปนโอกาสที่ทําใหเกิดการพบปะสังสรรคระหวางผูปฏิบัติงานกับบุคคลอ่ืน ๆ กับสถานที่ กับขั้นตอนและเร่ืองราวตางๆ ตลอดจนความคิดเห็นทั้งหลายจากผูเกี่ยวของ ดังน้ันการทํางานจึงเปนการเปดโอกาสใหแสดงออกถึงเชาว ปญญา ความคิดริเร่ิมสรางสรรค อันจะนํามาซึ่งเกียรติภูมิและความพึงพอใจในชีวิต ในการบริหารองคกรใหบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงคขององคกร จะตองมีการบริหารจัดการทรัพยากรขององคกรอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด มีปจจัยในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยเปนทรัพยากรทางการบริหารที่ดีมีความสําคัญลําดับตนขององคกร ดังคํากลาว คนน้ันเปนทรัพยากรที่มีคายิ่งขององคการที่มีคายิ่งขององคกรที่สามารถสรางคุณูปการแกองคการอยางมหาศาล และการที่จะใหทรัพยากรมนุษย ปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่เต็มความรู ความสามารถน้ันมีปจจัยหลายประการ ทั้งปจจัยในดานผูปฏิบัติงาน ปจจัยองคการและปจจัยภายนอกองคการ ที่จะของแตละบุคคลผูบริหารจะตองใหความสําคัญกับปญหาและหาแนวทางแกไขใหทรัพยากรมนุษยสามารถทํางานไดเต็มที่ประสิทธิภาพและสิ่งสําคัญที่จะทําใหบุคลากรในองคกรมีความพึงพอใจในการทํางานแลวก็จะเกิดความต้ังใจในการทํางาน เต็มใจที่จะอุทิศเวลา แรงกาย ความคิด ของตนสนองตอความตองการของหนวยงาน

การเสริมสรางคุณภาพชีวิตในการทํางานเปนกระบวนการที่มีความสําคัญและมีความสัมพันธกับการบริหารทรัพยากรขององคกรตาง ๆ เปนอยางมาก เชน การบริหารเงินเดือน การพัฒนาโอกาสและความกาวหนาในสายงาน สวัสดิการและแรงงานสัมพันธ ความปลอดภัยในการทํางาน การมีพนักงานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีไมเพียงแตจะทําใหเกิดความรวมมือในการทํางานของพนักงานในองคกร แตยังสงผลตอทัศนคติและพฤติกรรมในการทํางานอีกดวย (Hugh, 1999,อางถึงใน มาลีนี ธรรมบุตร, 2550, หนา 2) ผลกระทบจากปจจัยแวดลอมตาง ๆ ไมวาจะเปน

Page 11: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

2

โลกาภิวัตน เทคโนโลยี สารสนเทศ ไดเปลี่ยนมุมมองและความคาดหวังของประชาชนในการใหความหมายขององคกรที่ดี คุณภาพชีวิตในการทํางาน และความพึงพอใจในงาน กําลังถูกระบุวาเปนดัชนีความกาวหนาที่สัมพันธกับหนาที่ และความยั่งยืน ซึ่งการสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับองคการเปนการชวยเสริมสรางประสิทธิภาพการทํางานใหบุคลากรดึงศักยภาพที่มีอยูมาใชอยางเต็มกําลังความสามารถสงผลตอความสําเร็จตามภารกิจงานขององคกรไดอยางเปนรูปธรรม

เทศบาลตําบลนาดี ดําเนินการดานรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน จัดใหมีและบํารุงรักษาทางบกและทางนํ้า รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและที่สาธารณะรวมทั้งการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ปองกันและระงับโรคติดตอ สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็กเยาวชน ผูสูงอายุและผูพิการ ตลอดจนดําเนินการในการปองกันอัคคีภัย บํารุงศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น โยคําน่ึงถึงประโยชนของประชาชนในพื้นที่ เปนหลัก

ดังน้ัน พนักงานของสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี จึงถือเปนทรัพยากรบุคคลที่มีความสําคัญในการบริหารและการปฏิบัติของเทศบาลตําบลนาดี ซึ่งเปนผูที่มีสวนรวมทําใหการพัฒนาทองถิ่นสําเร็จตามนโยบายการกระจายอํานาจสูทองถิ่น ปจจุบันสํานักงานเทศบาลตําบลนาดีมีทั้งพนักงานที่เปนขาราชการ ลูกจางประจําและพนักงานจางทั่วไปรายเดือน ซึ่งการไดรับสวัสดิการถาเปนขาราชการก็จะไดรับสิทธิสวัสดิการตามที่รัฐบาลกําหนด แตถาเปนลูกจางประจําและพนักงานจางทั่วไปรายเดือนน้ัน ก็จะไดเพียงเงินเดือนประจําทุกเดือนและไดรับสิทธิประกันสังคมที่ทางสํานักงานเทศบาลตําบลนาดีจัดให สวนสวัสดิการดานอ่ืน ๆ น้ันไมมี จะเห็นวาสวัสดิการที่ลูกจางประจําและพนักงานจางทั่วไปรายเดือนของสํานักงานเทศบาลตําบลนาดีไดรับน้ันคอนขางนอยเมื่อเทียบกับองคกรเอกชน เน่ืองจากสํานักงานเทศบาลตําบลนาดีเปนหนวยงานราชการ ซึ่งมีงบประมาณจํากัดจึงไมสามารถจัดสวัสดิการดานอ่ืน ๆ ใหได

จากความเปนมาและเหตุผลขางตน จะเห็นไดวาคุณภาพชีวิตการทํางาน จึงเปนเร่ืองที่มีผลกระทบตอการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ซึ่งผูบริหารควรใหความสําคัญ เพราะบุคลากรของเทศบาลตําบลนาดีเปนทรัพยากรบุคคลที่มีความสําคัญที่สุดที่จะตองไดรับการบริหารและใชอยางมีคุณคาเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด หากบุคลากรสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี มีคุณภาพชีวิตที่ดียอมสงผลตอการใหบริการประชาชนและการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลบรรลุเปาหมายของสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี เพื่อจะไดนํามาใชเปนแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสังกัดเทศบาลตําบลนาดี ตอไป

Page 12: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

3

ปญหาการวิจัย1. พนักงานสํานักงานเทศบาลตําบลนาดีมีคุณภาพชีวิตอยูในระดับใด2. พนักงานสํานักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา

ประสบการณทํางาน และรายไดตอเดือนที่แตกตางกัน มีคุณภาพชีวิตการทํางานตางกันหรือไมอยางไร

วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี2. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนก

ตามเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประสบการณทํางาน และรายไดตอเดือน

สมมติฐานการวิจัย1. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีเพศแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน2. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีอายุแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน3. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีสถานภาพสมรสแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพ

ชีวิตแตกตางกัน4. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิต

แตกตางกัน5. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีประสบการณทํางานแตกตางกันมีความเห็นตอ

คุณภาพชีวิตแตกตางกัน6. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีรายไดตอเดือนแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิต

แตกตางกัน

ขอบเขตของการวิจัยการศึกษาวิจัย เร่ือง คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี มีขอบเขต

การวิจัย ดังน้ีขอบเขตดานเน้ือหา เปนการศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาล

ตําบลนาดีสําหรับตัวแปรที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี ประกอบดวย

Page 13: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

4

1. ตัวแปรอิสระ (Independent variable) คือ จําแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประสบการณทํางาน และรายไดตอเดือน

2. ตัวแปรตาม (Dependent variable) คือ คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ซึ่งผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของประกอบดวยรายละเอียดดังน้ี(Huse & Cumming, 1985, pp. 199-200)

2.1 ผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ (Adequate and fair compensation)2.2 สภาพที่ทํางานที่ปลอดภัย (Safe and healthy environment)2.3 การพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน (Development of human capacities)2.4 ความกาวหนา (Growth)2.5 สังคมสัมพันธ (Social integration)2.6 ลักษณะการบริหารงาน (Constitutionalism)2.7 ภาวะอิสระจากงาน (Total life space)2.8 ความภูมิใจในองคการ (Organizational pride)

ขอบเขตดานประชากรประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังน้ี คือ พนักงานสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี จํานวน

ทั้งสิ้น 115 คน โดยผูศึกษาไดใชวิธีการคํานวณขนาดตัวอยางดวยวิธีการใชสูตรการคํานวณของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ซึ่งกาํหนดคาความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยางเทากับ 5% ไดกลุมตัวอยาง จํานวน 90 คน

ขอบเขตดานระยะเวลาในการวิจัยคร้ังน้ีวิจัยและเก็บขอมูล เร่ิมต้ังแตวันที่ 1 มีนาคม 2558 และสิ้นสุดโครงการ

ในวันที่ 31 มีนาคม 2558

นิยามศัพทที่ใชในการวิจัยเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน ผูวิจัยไดกําหนดนิยามขอบเขต หรือความหมายของ

คําศัพทที่ใชในการวิจัยไวดังน้ีคุณภาพชีวิตในการทํางาน หมายถึง การที่พนักงานเทศบาลตําบลนาดีมีความรูสึกและ

สามารถตอบสนองความตองการทั้งดานรางกายและจิตใจ ทําใหชีวิตมีคุณคาหรือมีการทํางานที่ทําใหเกิดความเปนอยูที่ดีตามการยอมรับของสังคม ซึ่งเปนการผสมผสานกันระหวางงานและชีวิต ซึ่งในงานวิจัยน้ีเปนความคิดเห็นของพนักงานในดานตาง ๆ 8 ดาน คือ ผลตอบแทนที่ยุติธรรมและ

Page 14: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

5

เพียงพอ สภาพที่ทํางานที่ปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงานความกาวหนา สังคมสัมพันธ ลักษณะการบริหารงาน ภาวะอิสระจากงาน ความภูมิใจในองคการ

สํานักงานเทศบาลตําบลนาดี หมายถึง หนวยงานที่ใหดําเนินการดานรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน จัดใหมีและบํารุงรักษาทางบกและทางนํ้า รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและที่สาธารณะรวมทั้งการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ปองกันและระงับโรคติดตอสงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุและผูพิการ ตลอดจนดําเนินการในการปองกันอัคคีภัยบํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น

พนักงานที่เปนขาราชการ หมายถึง พนักงานเทศบาลสังกดัเทศบาลตําบลนาดีลูกจางประจํา หมายถึง ลูกจางประจําสังกัดเทศบาลตําบลนาดีพนักงานจางทั่วไปรายเดือน หมายถึง พนักงานจางทั่วไปรายเดือนสังกัดเทศบาลตําบล

นาดีองคการ หมายถึง เทศบาลตําบลนาดี อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรีอายุ หมายถึง ระยะเวลาในการทํางาน นับต้ังแตพนักงานเขามาทํางานกับเทศบาลตําบล

นาดีเปนวันแรกจนถึงปจจุบัน โดยทําการแบงเปนอายุงานตามชวงเวลาระดับการศึกษา หมายถึง วุฒิการศึกษาที่สําเร็จมาขั้นสูงสุดของพนักงานที่เปนขาราชการ

ลูกจางประจํา พนักงานจางทั่วไปรายเดือน ที่ตอบแบบสอบถามรายไดเฉลี่ยตอเดือน หมายถึง เงินเดือนและรายไดของพนักงานที่เปนขาราชการ

ลูกจางประจํา พนักงานจางทั่วไปรายเดือน ที่ตอบแบบสอบถามผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ (Adequate and fair compensation) หรือ รายไดและ

ประโยชนตอบแทน หมายถึง การไดรับรายไดและผลตอบแทนที่เพียงพอ และสอดคลองกับมาตรฐานผูปฏิบัติงานรูสึกวามีความเหมาะสมและเปนธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดจากงานอ่ืน ๆ

สภาพที่ทํางานที่ปลอดภัย ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ (Safe and healthy environment)หมายถึง การที่พนักงานไดปฏิบัติงานในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม สถานที่ทํางานไมไดสงผลเสียตอสุขภาพและไมเสี่ยงอันตราย

การพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน (Development of human capacities) หรือ โอกาสพัฒนาศักยภาพ หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานไดมีโอกาสพัฒนาขีดความสามารถของตนจากงานที่ทําโดยพิจารณาจากลักษณะของานที่ปฏิบัติไดแก งานที่ไดใชทักษะและความสามารถหลากหลาย งานที่มีความ ทาทาย งานที่ผูปฏิบัติงานมีความเปนตัวของตัวเองในการทํางาน งานที่ไดรับการยอมรับวามีความสําคัญ และงานที่ผูปฏิบัติไดรับทราบผลการปฏิบัติงาน

Page 15: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

6

ความกาวหนา (Growth) หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานมีโอกาสที่จะกาวหนาในอาชีพและตําแหนงอยางมั่นคง

สังคมสัมพันธ (Social integration) หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานเปนที่ยอบรับของผูรวมงานที่ทํางานมีบรรยากาศของความเปนมิตร มีความอบอุนเอ้ืออาทรปราศจากการแบงแยกเปนหมูเหลา ผูปฏิบัติงานไดรับการยอบรับและมีโอกาสปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน

ลักษณะการบริหารงาน (Constitutionalism) หมายถึง การมีความยุติธรรมในการบริหารงาน มีการปฏิบัติตอบุคลากรอยางเหมาะสม พนักงานไดรับการเคารพในสิทธิและความเปนปจเจกบุคคล ผูบังคับบัญชายอมรับฟงขอคิดเห็นของพนักงาน บรรยากาศขององคการมีความเสมอภาพ และความยุติธรรม

ภาวะอิสระจากงาน (Total life space) หมายถึง ภาวะที่บุคคลมีความสมดุลในชวงของชีวิตระหวางงานกับชวงเวลาอิสระจากงาน มีชวงเวลาที่ไดคลายเครียดจากภาระหนาที่ที่รับผิดชอบ

ความภูมิใจในองคการ (Organizational pride) หมายถึง ความรูสึกของพนักงานที่มีความภาคภูมิใจที่ไดปฏิบัติงานในองคการที่มีชื่อเสียง และไดรับรูวาองคการอํานวยประโยชนและรับผิดชอบตอสังคม

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ทําใหทราบถึงระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี2. สามารถนาผลการวิจัยที่ไดมาใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายและวิธีการ ตาง ๆ

ในการปรับปรุงและเสริมสรางคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีใหเหมาะสมกับความตองการ เพื่อใหเกิดความพึงพอใจ ลดความตึงเครียดทํางานไดอยางมีความสุขและเพิ่มประสิทธิภาพและคณุภาพในการทํางานที่ดียิ่งขึ้น

Page 16: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

7

บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ผูวิจัยไดนําเสนอแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังน้ี

1. ความหมายคุณภาพชีวิตในการทํางาน2. แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางาน3. ตัวชี้วัดหรือองคประกอบของคุณภาพชีวิตการทํางาน4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ5. กรอบแนวคิดในการวิจัย

ความหมายคุณภาพชีวิตในการทํางานคุณภาพชีวิตการทํางานเปนสิ่งที่มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งที่ผูบริหารตองสรางให

เกิดขึ้นในองคการ เพราะถาบุคลากรมีคุณภาพชีวิตการทํางานที่ดีจะทําใหมีความพึงพอใจในการทํางาน สงผลใหเกิดประสิทธิผลในการทํางาน เกิดการพัฒนาคุณภาพงานในองคการ เกิดความคิดสรางสรรคในการทํางาน และอุทิศตนในการทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคการ ลดอัตราการโอนยายและลาออกจากงาน (ดุสิตา เครือคําปว, 2551, หนา 13)

วอลตัน(Walton 1973, อางถึงใน มาลินี ธรรมบุตร, 2550, หนา 15) ไดกลาวถึงคุณภาพชีวิตการทํางานวา เปนลักษณะแนวทางความเปนบุคคล สภาพตัวบุคคลหรือสังคม เร่ืองสังคมขององคกรที่ทําใหงานประสบผลสําเร็จ

ชิลเดอร และราโอ (Childers & Rao, 1992, p. 209) กลาววา คุณภาพชีวิตการทํางานหมายถึง การใหความสําคัญแกพนักงานในองคการ โดยมุงเนนกระบวนการที่ทําใหพนักงานทํางานไดอยางมีความสุขและเกิดความพึงพอใจในงานสูง นําไปสูผลที่ไดรับ คือ พนักงานมีความผูกพันตอองคการและนําองคการบรรลุเปาหมายในที่สุด

สโครแวน (Skovan, 1983, p. 18) ไดใหคําจํากัดความของคุณภาพชีวิตการทํางานไววาคุณภาพการทํางานเปนกระบวนการขององคการทําใหเกิดการมีสวนรวมอยางแข็งขันของสมาชิกทุกระดับขององคการในการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน วิธีการ และผลลัพธตาง ๆ ใหดีขึ้นกระบวนการที่ยึดหลักคานิยมรวมกันน้ีมุงบรรลุเปาหมายสองมิติ คือ ดานประสิทธิผลขององคการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกในองคการ

Page 17: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

8

โคสเซน (Kossen, 1991, p. 4) ไดใหความหมายไววา คุณภาพชีวิตหมายถึง การทําใหสภาพแวดลอมในการทํางานมีประสิทธิผลตอบสนองความตองการและเพิ่มคุณคาใหกับพนักงานในองคการ

ณัฏฐพันธ เขจรนันทน (2551, หนา 109) ไดใหนิยามวา คุณภาพชีวิตการทํางาน หมายถึงการประเมินสถานะในลักษณะตาง ๆ ของงาน ซึ่งจะเกี่ยวของกับการสรางสมดุลระหวางงานและชีวิตของบุคคล คุณภาพชีวิตการทํางานจะใหความสําคัญกับผลของงานที่มีตอบุคคลและประสิทธิภาพขององคการ รวมทั้งความพอใจของบุคลากรกับการแกปญหาและการตัดสินใจขององคการ นอกจากน้ีคุณภาพชีวิตการทํางานจะมีผลกระทบตอบุคคลและองคการ ทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (2551, หนา 4-5) ไดใหนิยามวาคุณภาพชีวิตการทํางาน หมายความถึง องคประกอบตาง ๆ ที่ประกอบเปนคุณภาพชีวิตของการทํางานในสถานประกอบการของคนทํางาน เชน การที่ลูกจางมีวันทํางานและไดรับคาตอบแทนที่เหมาะสม มีรายไดเพิ่มจากรายไดประจํา อาทิ มีรายไดจากการทําลวงเวลาจากสถานประกอบการไดรับเงินพิเศษจากสถานประกอบการ ไดแก คาบริการ คาทิป เบี้ยขยัน เบี้ยงานหนัก รวมทั้งมีวันหยุด วันลาและไดรับคาจางตามปกติโดยไมตองทํางานในวันหยุด และวันลาน้ัน ตลอดจนไดรับสวัสดิการครบถวนตามกฎกระทรวงแรงงาน ไดรับความคุมครองความปลอดภัยจากการทํางาน มีความมั่นคงและกาวหนาในการทํางาน เปนสมาชิกสหภาพแรงงาน รวมถึงสภาวะการเปนหน้ีและการออมเงินของคนทํางาน

สถาบันเสริมสรางขีดความสามารถมนุษย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (2552,หนา 35-39) ไดใหนิยามวา คุณภาพชีวิตการทํางาน คือ การดํารงชีวิตอยูดวยการมีสุขภาวะที่สมบูรณและมีความมั่นคงของผูที่ปฏิบัติงานภายในองคการซึ่งครอบคลุมถึงสุขภาวะทั้ง 4 ดาน อันไดแกสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางอารมณ สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ

1. สุขภาวะทางกาย (Physical well-being) หมายถึง ภาวะการรับรูและดํารงรักษาสุขภาพรางกายใหมีความแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ และสามารถดํารงชีวิตไดอยางปกติสุขโดยมีการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อเสริมสราง และรักษาสุขภาพรางกายใหสมบูรณ

2. สุขภาวะทางอารมณ (Emotional well-being) หมายถึง ภาวะการรับรูของสภาพทางอารมณ ความรูสึกของตนเองและผูอ่ืน และสามารถบริหารจัดการอารมณของตนเองและผูอ่ืนไดอยางเหมาะสมและสรางสรรค

3. สุขภาวะทางสังคม (Social well-being) หมายถึง ภาวะการรับรูเร่ืองการมีสัมพันธภาพของตนกับผูอ่ืนทั้งในกลุมผูรวมงานและตอสาธารณะชน

Page 18: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

9

4. สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (Spiritual well-being) หมายถึง ภาวะการรับรูของความรูสึกสุขสม มีความพึงพอใจในการดํารงชีวิตอยางมีเปาหมาย เขาใจธรรมชาติและความเปนจริงของชีวิตรวมทั้งมีสิ่งยึดเหน่ียวที่มีความหมายสูงสุดในชีวิต

จากความหมายคุณภาพชีวิตการทํางานที่กลาวมาขางตน สามารถแบงความหมายคุณภาพชีวิตการทํางานเปนสองมิติ คือ ในมิติของพนักงานน้ัน คุณภาพชีวิตการทํางาน หมายถึง ความรูสึกของพนักงานตอสภาพการทํางานและประสบการณในการทํางานในองคการ ที่ไดรับตอบสนองความคาดหวังหรือความตองการทําใหพนักงานทํางานไดอยางมีความสุข และมีสุขภาพดี อีกดานหน่ึงเปนมิติขององคการ คุณภาพชีวิตการทํางาน หมายถึง กระบวนการที่องคการจัดใหมีขึ้นเพื่อสนับสนุนใหพนักงานทํางานไดอยางมีความสุข โดยพยายามตอบสนองความตองการหรือความคาดหวังของพนักงานเพื่อใหเกิดผลบวกตอองคการทั้งในดานทัศนคติและพฤติกรรมในการทํางานของพนักงาน เชน ความพึงพอใจในงานมีความกระตือรือรนในการทํางาน เปนตน

สรุปไดวา คุณภาพชีวิตการทํางาน หมายถึง ความรูสึกพึงพอใจที่พนักงานหรือผูปฏิบัติงานไดรับจากการทํางานและประสบการณการทํางานในองคการ ที่สามารถตอบสนองตามความคาดหวังและความตองการทั้งดานรางกายและจิตใจ โดยผานกระบวนการที่องคกรไดจัดใหมีขึ้นเพื่อสนับสนุนใหพนักงานทํางานไดอยางมีความสุขและมีสุขภาพจิตดี (ดุสิตา เครือคําปว, 2551,หนา 14)

ความสําคัญของการสรางคุณภาพชีวิตการทํางานคนทํางานทุกระดับในองคการถือเปนทรัพยากรหลักและสําคัญในกระบวนการผลิต

ฉะน้ันคุณภาพของกระบวนการและคุณภาพของผลิตภัณฑยอมขึ้นอยูกับชีวิตที่มี “คุณภาพ” ของ“คนทํางาน” ที่ตองไดรับการเอาใจใสดูแลจากผูบริหาร ประโยชนของการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทํางานในองคการ (สถาบันเสริมสรางขีดความสามารถมนุษย, 2547) ไดแก

1. ประโยชนตอพนักงาน พนักงานเปนผูที่ไดรับประโยชนโดยตรงในดานของการมีคุณภาพชีวิตที่ดี คือ การไดรับการดูแลครอบคลุมสุขภาวะทั้ง 4 มิติ ไดแก สุขภาวะทางกาย อารมณสังคม และจิตวิญญาณ ซึ่งแสดงผลลัพธออกมาใหเห็น คือ มีความสุขกาย สบายใจ อารมณดีผลการปฏิบัติงานดี มีความมั่งคงในอาชีพ ไดรับคาตอบแทนและสวัสดิการที่ดี มีความสัมพันธกับหัวหนา และไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงาน มีความรูในการสรางเสริมสุขภาพที่ไดจากที่ทํางานสามารถนําไปเผยแพรตอบุคคลในครอบครัว ตลอดจนชุมชนใหเกิดประโยชนได

2. ประโยชนตอองคการ เมื่อพนักงานมีความสุขในการทํางานก็จะสงผลใหเกิดศักยภาพในการทํางาน ซึ่งกอใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานตามมา โดยสามารถแสดงใหเห็นเปนรูปธรรมได คือ ผลผลิตสูงขึ้น คุณภาพสินคาและบริการดีขึ้น ภาพลักษณที่ดีขององคการ

Page 19: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

10

ลดอัตราการขาด ลา มาสายของพนักงาน และลดอัตราการลาออกของพนักงานลง รวมทั้งจํานวนคารักษาพยาบาลที่ลดลง ความสัมพันธของคนในองคการดีขึ้น พนักงานมีความภักดีตอองคการมากขึ้น

3. ประโยชนตอประเทศชาติ สังคมไทยโดยรวมจะเปนสังคมแหงสุขภาพถือเปนสังคมที่มีสุขภาวะ ซึ่งประเทศชาติจะไดรับประโยชน คือ ไดองคการที่มีคุณภาพ เปนแบบอยางได องคการเติบโต สรางงาน สรางรายไดใหรัฐ ลดภาระของภาครัฐในการจัดสวัสดิการการรักษาโรคเร้ือรังและโรคที่ปองกันได ประเทศชาติมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (2552, หนา 9) ไดกลาวถึงประโยชนจากการสรางเสริมคุณภาพชีวิตคนทํางาน ในหนังสือการสรางเสริมคุณภาพชีวิตคนทํางานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ไวดังน้ี

1. ลดความขัดแยงระหวางผูประกอบการและพนักงาน และชวยสงเสริมความสัมพันธอันดีซึ่งกันและกัน เน่ืองจากการดําเนินการใด ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต เกิดจากการมีสวนรวมของทุกฝายในการรวมกันคิด รวมกันทํา รวมกันตัดสินใจ ตลอดจนการรวมวางนโยบายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทําใหผูประกอบการทราบและปองกันความขัดแยง เกิดความสัมพันธที่ดีระหวางกัน

2. ลดปญหาการลางาน ขาดงาน การเปลี่ยนงานบอยของพนักงาน เน่ืองจากการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต จะมีสวนกระตุนใหพนักงานเกิดขวัญและกําลังใจในการทํางานตลอดจนมีความมั่นคงในชีวิต สวัสดิการจะเปนแรงดึงดูดใจพนักงานใหอยากอยูในสถานประกอบการไปนาน ๆ อีกทั้งยังไมอยากขาดงาน หรือลางานอีกดวย

3. เปนการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการทํางาน จากการที่พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งความสุขกายสบายใจ ทําใหทํางานอยางเต็มความรูความสามารถของพนักงานหรือการทํางานดวยความทุมเท ผลผลิตที่เกิดขึ้นมีคุณภาพเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานดวย

แนวคิดเก่ียวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานแนวคิดของ วอลตัน (Walton, 1973) ไดใหมุมมองของคุณภาพชีวิตการทํางานไว 8 ดาน

ไดแก1. คาตอบแทนที่เปนธรรมและเพียงพอ หมายถึง รายไดประจํา ไดแก เงินเดือนหรือเงิน

ตอบแทนที่ไดจากการปฏิบัติงานเต็มเวลา ไดรับอยางเพียงพอที่จะดํารงชีวิตตามอัตภาพของตนและไดรับอยางยุติธรรมเมื่อเปรียบเทียบตําแหนงของตนกับตําแหนงหนาที่อ่ืนที่มีลักษณะคลาย ๆ กัน

2. สิ่งแวดลอมที่ถูกลักษณะและปลอดภัย หมายถึง สภาพทางกายภาพของสถานที่ทํางานบริการเกี่ยวกับเคร่ืองมือ เคร่ืองใช ที่จัดไวอํานวยตอการปฏิบัติหนาที่ที่ดีที่สุด คํานึงถึงความ

Page 20: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

11

ปลอดภัยจากอุบัติเหตุที่มีผลตอสุขภาพอนามัยของผูใหบริการและผูรับบริการนอยที่สุด โดยครอบคลุมถึงการปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค การใชประโยชน ความสะดวกสบายและความพอใจของผูปฏิบัติงานปลอดภัยจากอุบัติเหตุและมีการกําหนดเปนระเบียบปฏิบัติและระเบียบการจัดสภาพการทํางาน

3. โอกาสในการพัฒนาความรูความสามารถของบุคคล หมายถึง โอการสในการเสริมสรางความสามารถในการทํางานใหมีคุณภาพ โดยการใหบุคคลมีอิสระในการปฏิบัติหนาที่สามารถควบคุมงานดวยตนเองได สามารถใชทักษะความรูความสามารถที่มีอยูรูจักหาหรือไดรับสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการการทํางาน แนวทางปฏิบัติและสามารถคาดคะเนผลของการปฏิบัติไดถูกตองเหมาะสม มีการวางแผนการทํางานและไดมีสวนชวยเหลือในการทํางานทุก ๆ ขั้นตอน

4. ความมั่นคงและความกาวหนาในงาน หมายถึง การไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบมากขึ้น ไดรับเตรียมความรูและทักษะเพื่อหนาที่ที่สูงขึ้นมีโอกาสประสบความสําเร็จตาที่มุงหวังอันเปนที่ยอมรับของผูรวมงาน ครอบครัว และผูเกี่ยวของและมีความมั่นคงในรายไดหรือหนาที่ที่ไดรับ

5. การบูรณาการทางสังคมหรือการทํางานรวมกัน หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานรูสึกมีคุณคาไดรับการยอมรับและรวมมือกันทํางานจากกลุมเพื่อนรวมงานรูสึกวาตนเปนสวนหน่ึงของกลุมเพื่อนรวมงาน

6. ธรรมนูญในองคกรหรือประชาธิปไตยในองคกร หมายถึง การยึดหลักธรรมนูญเปนหลักในการทํางานโดยในการทํางานบุคคลไดรับความเคารพในสิทธิสวนบุคคล มีอิสระในการพูด มีความเสมอภาคในเร่ืองตาง ๆ ของงานตามความเหมาะสมและใหความเคารพตอความเปนมนุษยดวยกันของผูรวมงาน

7. ความสมดุลระหวางงานกับชีวิตสวนตัว หมายถึง การแบงเวลาใหมีสัดสวนเหมาะสมระหวาง การใชเวลาสําหรับกิจกรรมของตน งาน ครอบครัวและสังคม

8. ลักษณะงานที่เปนประโยชนตอสังคม หมายถึง การทํางานที่รับผิดชอบตอการทําใหสังคมของชุมชนตลอดจนหนวยงานอ่ืน ๆ ในการทํากิจกรรมเพื่อ สาธารณะประโยชนอ่ืน ๆ

Bruce and Blackburn (1992, pp. 15-16 อางถึงใน กอบสุข อินทโชติ, 2554) ใหทัศนคติเกี่ยวกับองคประกอบที่สําคัญของคุณภาพชีวิตการทํางาน มีดังน้ี

1. คาตอบแทนที่เปนธรรมและเพียงพอ2. สภาพการทํางานที่ปลอดภัยและไมทําลายสุขภาพ3. การมีโอกาสในการพัฒนาความสามารถ โดยทํางานที่มีความหมายและแสวงหา

แนวทางใหม ๆ ในการทํางาน

Page 21: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

12

4. ความกาวหนาและความมั่นคง ซึ่งหมายถึงโอกาสในการพัฒนาความรู ทักษะ และความสามารถรวมทั้งรูสึกถึงความมั่นคงในการทํางาน

5. การบูรณาการทางสังคม ซึ่งหมายถึงการมีโอกาสไดรับปฏิสัมพันธระหวางพนักงานและผูบริหาร

6. ระบบการบริหารซึ่งหมายถึง นโยบายบุคลากรที่ไดรับการบริหารอยางเปนธรรมการที่พนักงานทํางานในสภาพการทํางานที่ปราศจากความวิตกกังวลและการมีโอกาสกาวหนาอยางเทาเทียมกัน

7. การมีเวลาวาง หมายถึง ความสามารถในการแบงเวลาใหกับเร่ืองสวนตัวและงานไดอยางเหมาะสม

8. การยอมรับทางสังคม คือ มีความภูมิใจตองานที่รับผิดชอบและตอนายจางแนวคิดของ ยากายามา (Yasgayama, 1993, p. 151 อางถึงใน มาลินี ธรรมบุตร, 2550, หนา

12-13) แหงมหาวิทยาลัย Tokai ประเทศญ่ีปุน ซึ่งสนใจศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสายธุรการ โดยไดทําการเปรียบเทียบเร่ืองดังกลาวกับประเทศตาง ๆ สรุปมาตรฐานคุณภาพชีวิตการทํางานตองประกอบดวยเร่ือง ตอไปน้ี

1. คาตอบแทนที่เพียงพอและเปนธรรม1.1 เงินเดือนที่พอเพียง1.2 คาตอบแทนที่เปนธรรม

2. สภาพการทํางานที่ปลอดภัยและถูกสุขอนามัย2.1 จํานวนชั่วโมงการทํางานที่สมเหตุสมผล

3. โอกาสเบื้องตนในการใชและพัฒนาความรูความสามารถในความเปนคน3.1 มีอิสระในการทํางาน3.2 มีโอการใชความรูความสามรถในหลาย ๆ ดาน

4. โอกาสในการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองและมีความมั่นคงในหนาที่การงาน4.1 มีการพัฒนาตนเอง4.2 มีโอกาสใชความรูความสามรถอยางเต็มที่4.3 มีความมั่นคงในหนาที่การงาน4.4 มีความมั่นคงในหนาที่การงาน

5.การยอมรับทางสังคมในหนวยงาน5.1 ไดรับการปฏิบัติที่ปราศจากอคติใด ๆ5.2 ไดรับการปฏิบัติอยางเสมอภาค

Page 22: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

13

5.3 ไดรับการปฏิบัติตอกันอยางเปดเผย6. การกําหนดระเบียบขอบังคับ

6.1 เคารพในเร่ืองสวนบุคคล6.2 เคารพสิทธิในการแสดงความคิดเห็น6.3 เคารพในความเสมอภาค

7. การไดรบการปรึกษาหารือในเร่ืองการบริหารเกี่ยวกับแรงงาน8. การกําหนดความสัมพันธอันเหมาะสมระหวางเจาหนาที่การงานกับการดําเนินชีวิตของ

คนงาน9. บทบาทสังคมที่สัมพันธกบัชีวิตการทํางานแนวคิด ชาญชัย อาจิณสมาจาร (2535, หนา 38 – 3) กลาววา คุณลักษณะของคุณภาพชีวิต

การทํางานที่ดีจะตองประกอบดวย1. ความมั่นคง2. ความสามารถภาคในเร่ืองคาจางและรางวัล3. ความยุติธรรมในสถานที่ทํางาน4. ปลอดภัยจากระบบความเขมงวดในการควบคุม5. งานที่มีความหายและนาสนใจ6. กิจกรรมและงานหลากหลาย7. งานมีลักษณะทาทาย8. มีขอบเขตการตัดสินใจของตนเอง9. โอกาสการเรียนรูและความเจริญกาวหนา10. ผลสะทอนกลับและความรูเกี่ยวกับผลลัพธ11. อํานาจหนาที่ในงาน12. ไดรับการยอมรับขากการทํางาน13. ไดรับการสนับสนุนทางสังคม14. มีอนาคตที่ดี15. สามารถสัมพันธงานกับสภาพแวดลอมภายนอก16. มีโอกาสเลือก ทั้งน้ีขึ้นอยูกับความสนใจ ความชอบ และความคาดหวังแนวคิดของ ฮิวส และคัมมิงส (Huse & Cumming, 1985, pp. 198-199) ไดวิเคราะหและ

แจงองคประกอบคุณภาพชีวิตการทํางานไว 8 ดาน ดังน้ี

Page 23: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

14

1. ผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ (Adequate and fair compensation) หรือ รายไดและประโยชนตอบแทน หมายถึง การไดรับรายไดและผลตอบแทนที่เพียงพอ และสอดคลองกับมาตรฐาน ผูปฏิบัติงานรูสึกวามีความเหมาะสมและเปนธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดจากงานอ่ืน ๆ

2. สภาพที่ทํางานที่ปลอดภัย ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ (Safe and healthy environment)หมายถึง การที่พนักงานไดปฏิบัติงานในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม สถานที่ทํางานไมไดสงผลเสียตอสุขภาพและไมเสี่ยงอันตราย

3. การพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน (Development of human capacities) หรือ “โอกาสพัฒนาศักยภาพ” หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานไดมีโอกาสพัฒนาขีดความสามารถของตนจากงานที่ทําโดยพิจารณาจากลักษณะของานที่ปฏิบัติไดแก งานที่ไดใชทักษะและความสามารถหลากหลาย งานที่มีความ ทาทาย งานที่ผูปฏิบัติงานมีความเปนตัวของตัวเองในการทํางาน งานที่ไดรับการยอมรับวามีความสําคัญ และงานที่ผูปฏิบัติไดรับทราบผลการปฏิบัติงาน

4. ความกาวหนา (Growth) หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานมีโอกาสที่จะกาวหนาในอาชีพและตําแหนงอยางมั่นคง

5. สังคมสัมพันธ (Social integration) หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานเปนที่ยอบรับของผูรวมงาน ที่ทํางานมีบรรยากาศของความเปนมิตร มีความอบอุนเอ้ืออาทรปราศจากการแบงแยกเปนหมูเหลา ผูปฏิบัติงานไดรับการยอบรับและมีโอกาสปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน

6. ลักษณะการบริหารงาน (Constitutionalism) หมายถึง การมีความยุติธรรมในการบริหารงาน มีการปฏิบัติตอบุคลากรอยางเหมาะสม พนักงานไดรับการเคารพในสิทธิและความเปนปจเจกบุคคล ผูบังคับบัญชายอมรับฟงขอคิดเห็นของพนักงาน บรรยากาศขององคการมีความเสมอภาพ และความยุติธรรม

7. ภาวะอิสระจากงาน (Total life space) หมายถึง ภาวะที่บุคคลมีความสมดุลในชวงของชีวิตระหวางงานกับชวงเวลาอิสระจากงาน มีชวงเวลาที่ไดคลายเครียดจากภาระหนาที่ที่รับผิดชอบ

8. ความภูมิใจในองคการ (Organizational pride) หมายถึง ความรูสึกของพนักงานที่มีความภาคภูมิใจที่ไดปฏิบัติงานในองคการที่มีชื่อเสียง และไดรับรูวาองคการอํานวยประโยชนและรับผิดชอบตอสังคม

จากความหมายของคุณภาพชีวิตในการทํางานดังกลาว จึงพอสรุปไดวา คุณภาพชีวิตในการทํางาน หมายถึง ลักษณะสภาพชีวิตที่ดีมีความสุขทั้งรางกายและจิตใจของบุคคล ในขณะทํางานและมีสัมพันธภาพที่สอดคลองผสมผสานกันระหวางงานกับชีวิต สงผลใหบุคคลมีขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งการจะวัดวาบุคคลจะมีคุณภาพชีวิตในการทํางานหรือไมน้ัน ตองพิจารณาจากองคประกอบคุณภาพชีวิตในการทํางานที่ครอบคลุมสภาพชีวิตที่

Page 24: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

15

ดีทั้งทางรางกายและจิตใจ ผูศึกษาจึงเลือกแนวคิดของ ฮิวส และคัมมิงส (Huse & Cummings, 1985)ที่มีองคประกอบ 8 ประการ ไดแก 1. ผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ 2. สภาพที่ทํางานที่ปลอดภัย ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ 3. การพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน 4. ความกาวหนา 5.สังคมสัมพันธ 6. ลักษณะการบริหารงาน 7. ภาวะอิสระจากงาน 8. ความภูมิใจในองคการ มาเปนตัวแปรตนในการศึกษา

ตัวช้ีวัดหรือองคประกอบของคุณภาพชีวิตการทํางานพจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล (2544, หนา 129) กลาววาคุณภาพชีวิตในการทํางาน คือ ความ

พอใจจะเกิดขึ้นเมื่อไดรับการตอบสนอง ดังน้ี1. ดานความจําเปน คืองานของพนักงาน2. ดานความคาดหมาย ซึ่งโดยทั่วไปพนักงานจะมีความคาดหมายในกระบวนการทํางาน

ของตนเอง 4 ประเด็น ดังน้ี2.1 ความปลอดภัย (Safety) สามารถแบงไดเปนการทํางานดวยสภาพที่ปลอดภัย2.2 ความมั่นคง (Security) หรือไมกลัวในสิ่งตาง ๆ เชน กลัวตกงาน กลัวถูกลงโทษ2.3 ขวัญและกําลังใจ (Morale) เปนความคาดหมายเกี่ยวกับบรรยากาศในการทํางานที่

ดีเปนแบบพี่นองกัน ใหเกียรติซึ่งกันและกัน2.4 การเพิ่มผลผลิตดานแรงงาน (Labor productity) เปนความคาดหมายที่จะมีสิ่ง

อํานวยความสะดวกในการทํางานจากแนวคิดและองคประกอบของคุณภาพชีวิตในการทํางานที่นักวิชาการและนักวิจัยได

กลาวถึงในขางตน ผูวิจัยไดใชแนวคิดของ Huse and Cumming (1985) มาประยุกตใหเหมาะสมกับการศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี ซึ่งในการศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยไดจําแนกคุณภาพชีวิตในการทํางานออกเปน 8 ดาน ดังน้ี

1. ดานผลตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม (Adequate and fair compensation) หมายถึงการไดรับรายไดและผลตอบแทนที่เพียงพอ และสอดคลองกับมาตรฐาน ผูปฏิบัติงานรูสึกวามีความเหมาะสมและเปนธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดจากงานอ่ืน ๆ

2. ดานสภาพแวดลอมที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ หมายถึง การที่พนักงานไดปฏิบัติงานในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม สถานที่ทํางานไมไดสงผลเสียตอสุขภาพและไมเสี่ยงอันตราย

3. ดานโอกาสในการพัฒนาความสามารถบุคคล หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานไดมีโอกาสพัฒนาขีดความสามารถของตนจากงานที่ทํา โดยพิจารณาจากลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ไดแก งานที่

Page 25: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

16

ไดใชทักษะและความสามารถหลากหลาย งานที่มีความทาย งานที่ผูปฏิบัติมีความเปนตัวของตัวเองในการทํางาน งานที่ไดรับการยอมรับวามีความสําคัญและงานที่ผูปฏิบัติไดทราบผลการปฏิบัติงาน

4. ดานความกาวหนาและความมั่นคงในงาน หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานมีโอกาสที่จะกาวหนาในอาชีพและตําแหนงอยางมั่นคง

5. ดานความสัมพันธกับบุคคลอ่ืนและการทํางานรวมกัน หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานเปนที่ยอมรับของผูรวมงาน ที่ทํางานมีบรรยากาศของความเปนมิตร มีความอบอุนเอ้ืออาทร ปราศจากการแบงแยกเปนหมูเหลา ผูปฏิบัติงานไดรับการยอมรับและมีโอกาสปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน

6. ดานลักษณะการบริหารงาน หมายถึง การมีความยุติธรรมในการบริหารงาน มีการปฏิบัติตอบุคลากรอยางเหมาะสม พนักงานไดรับการเคารพในสิทธิและความเปนปจเจกบุคคล ผูบังคับบัญชายอมรับฟงขอคิดเห็นของพนักงาน บรรยากาศขององคการมีความเสมอภาคและยุติธรรม

7. ดานภาวะอิสระจากงาน หมายถึง ภาวะที่บุคคลมีความสมดุลในชวงของชีวิตระหวางชวงปฏิบัติงานกับชวงเวลาอิสระจากงาน มีชวงเวลาที่ไดคลายเครียดจากภาระหนาที่ที่รับผิดชอบ

8. ดานความภูมิใจองคกร หมายถึง ความรูสึกของพนักงานที่มีความภาคภูมิใจที่ไดปฏิบัติงานในองคกรที่มีชื่อเสียง และไดรับรูวาองคการอํานวยประโยชนและรับผิดชอบตอสังคม

ดังน้ัน การนําแนวคิดเร่ืองการจูงใจพนักงานโดยการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานจากขางตนก็สามารถนํามาปรับใชและเปนการกระตุนใหพนักงานรูสึกผูกพันตอองคกรได

งานวิจัยที่เก่ียวของกุณฑลี หัศภาคย และอารยา ศิริมัย (2546) ศึกษาคุณภาพชีวิตการทํางาน กรณีศึกษา

บริษัทเอกชนชั้นนํา 5 บริษัท ในประเทศไทย โดยบริษัทชั้นนํา 5 บริษัท ที่เลือกมาศึกษา ไดแกบริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ บริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด(มหาชน) บริษัทแอดวานซอินโฟรเซอรวิส จํากัด (มหาชน) และบริษัทการปโตรเลียมแหงประเทศไทย จํากัด(มหาชน) ศึกษาเชิงคุณภาพ โดยทําการสัมภาษณผูบริหารดานทรัพยากรมนุษยของบริษัทเอกชนชั้นนําทั้ง 5 แหง พบวา คุณภาพชีวิตการทํางานเปนแนวคิดที่คํานึงถึงความเปนมนุษยงาน และองคการ โดยมีจุดมุงหมายที่ความพึงพอใจและการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน การมีพันธะรวมกันระหวางพนักงานและองคการ หรือการแลกเปลี่ยนคุณคาระวางกันอยางสมดุล ดังน้ันในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยและองคการ องคการจะตองบริหารจัดการโครงสรางระบบงาน และสภาพการทํางาน ตลอดจนเปดโอกาสใหพนักงานไดมีสวนรวมในการตัดสินใจและ

Page 26: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

17

การคํานึงถึงความเปนมนุษยการทํางาน หรือมีคุณภาพชีวิตการทํางานที่ดี พรอมที่จะทุมเทใหกับการทํางานและองคการอยางเต็มที่ เพื่อใหทั้งพนักงานและองคการประสบความสําเร็จ

เกล็ดแกว บุญเกิด (2551, หนา 76 – 81) ไดศึกษาคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรองคการบริหารสวนจังหวัดสุพรรณบุรี ตามแนวคิดของ Walton ผลการศึกษาพบวา คุณภาพชีวิตในการทํางานของบุคลากรองคการบริหารสวนจังหวัดสุพรรณบุรี มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากทุกดานเรียงลําดับจากมากไปหานอย ดังน้ี ดานการพัฒนาความสามารถของบุคคล ดานความสัมพันธในสังคม ดานคุณคาทางสังคมหรือการทํางานรวมกัน ดานความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน ดานสิ่งแวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัย ดานความมั่นคงและความกาวหนาในการทํางาน ดานคาตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม และดานประชา ธิปไตยในหนวยงาน การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทํางานของบุคลากรองคการบริหารสวนจังหวัดสุพรรณบุรี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลโดยเฉพาะบุคลากรที่มี เพศ อายุ สถานภาพ ประเภทบุคลากร ตางกัน มีคุณภาพชีวิตการทํางานที่ไมแตกตางกัน สวนบุคลากรที่มีระดับการศึกษาสูงสุด ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ระดับเงินเดือนตางกันมีคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ปรมาพร สิงหสุวิช (2551, หนา 98-100) ไดศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานตามความคิดเห็นของพนักงานเมืองพัทยา ตามแนวคิดของ Walton ผลการวิจัย พบวา พนักงานเมืองพัทยามีคุณภาพชีวิตการทํางานเฉลี่ยทุกดานอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ดานธรรมนูญองคการ ดานการบูรณาการทางดานสังคม ดานความสมดุลระหวางชีวิตการทํางานกับชีวิตดานอ่ืน ๆและดานเกี่ยวของสัมพันธกับสังคม อยูในระดับมาก สวนดาน สิ่งแวดลอมที่ปลอดภัยและสงเสริมสุข ดานการพัฒนาความสามารถของบุคคล ดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมเพียงพอ และดานความกาวหนาและความมั่นคงในการทํางาน อยูในระดับปานกลาง การเปรียบเทียบลักษณะบุคคล 5ลักษณะ พบวา อายุ ระดับการศึกษา รายได ระยะเวลาที่ปฏิบัติในหนวยงาน หนวยงานที่สังกัดของพนักงานตางกันมีคุณภาพชีวิตการทํางานตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05

พันตํารวจโทพีรวุฒิ สนใจ (2547, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสอบสวนสังกัดกองบังคับการตํารวจนครบาล 2 ผลการศึกษาวิจัยคร้ังน้ี พบวา คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสอบสวน สังกัดกองบังคับการตํารวจนครบาล 2 ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ปจจัยสวนบุคคลและปจจัยดานการทํางาน ซึ่งประกอบไปดวย อายุ รายได ระดับชั้นยศปริมาณงานที่ทํา ประวัติการไดรับพิจารณาความดีความชอบ ระยะเวลาในการรับราชการตํารวจ ไมมีผลทําใหคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสอบสวน สังกัด กองบังคับการตํารวจนครบาล 2แตกตางกัน สวนสถานภาพสมรส คุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ระยะเวลาการทํางานเปนพนักงานสอบสวน มีผลทําใหคุณภาพชีวิตการทํางานพนักงานสอบสวน สังกัดกองบังคับการตํารวจ

Page 27: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

18

นครบาล 2 แตกตางกัน และการสนับสนุนขององคการ ไดแก ผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงานผูใตบังคับบัญชา มีความสัมพันธทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสอบสวนสังกัดกองบังคับการตํารวจนครบาล 2

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (2552) ศึกษาคุณภาพชีวิตคนทํางานในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ เปนการศึกษาภายใตโครงการความรวมมือระหวางแผนงานสุขภาวะองคกรภาคเอกชน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ศึกษา 2 ระยะคือ ระยะที่หน่ึงทําการพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตคนทํางานในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ เคร่ืองมือที่ใชเปนการสนทนากลุมเพื่อใหไดตัวชี้วัดที่นําเสนอจากคน ทํางานโดยตรง และไดขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญเพื่อปรับปรุงตัวชี้วัดใหสมบูรณใชเปนเคร่ืองมือสํารวจนํารองคุณภาพชีวิตคนทํางานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ กลุมตัวอยางจํานวน 200 คน เปนคนทํางานที่มีอายุระหวาง 15–60 ป เปนผูประกันตนซึ่งทํางานอยางตอเน่ืองไมตํ่ากวา 3 เดือนในสถานประกอบการตัวอยางที่ไดรับมาตรฐานรับรองจากกระทรวงอุตสาหกรรมใน 4 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ปทุมธานี และชลบุรี สถิติวิเคราะหขอมูลใชคารอยละ สวนระยะที่สองเปนการจัดการความรู เคร่ืองมือที่ใชเปนการจัดสัมมนาระดมสมอง และการถอดบทเรียนเพื่อสรางองคความรู รูปแบบ และตัวอยางการปฏิบัติที่ดี จํานวนกลุมเปาหมาย 3 กลุม คือ กลุมคนทํางานในสถานประกอบการที่เปนตนแบบ กลุมผูประกอบการหรือผูบริหารของสถานประกอบการที่เปนตนแบบ และกลุมเจาหนาที่ระดับบริหารและผูปฏิบัติงานระดับกลาง ผลการศึกษาพบวา ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตคนทํางานประกอบดวย 6 ปจจัยหลัก ดังน้ี 1. ดานครอบครัว 2. ดานสภาพแวดลอมและการพักอาศัย 3. ดานคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรม 4. ดานสังคม 5. ดานชีวิตการทํางาน และ6. ดานสุขภาพ ซึ่งผลการสํารวจนํารองคุณภาพชีวิตคนทํางานจากตัวชี้วัดดังกลาว พบวา ในภาพรวมสวนใหญคุณภาพชีวิตคนทํางานในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการไมแตกตางกันมากนัก โดยในดานครอบครัว และดานสภาพแวดลอมและการพักอาศัย พบวาคนทํางานสวนใหญจะยังอยูกับครอบครัวและตองเชาที่พักอาศัย ที่พักต้ังอยูในสภาพแวดลอมที่มีปญหายุงและแมลงบาง แตไมมีปญหาดานความปลอดภัยและการเดินทางไปทํางานและมีความสัมพันธในครอบครัวคอนขางดี ในดานคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรม รวมถึงดานสังคมพบวาคนทํางานมีทัศนคติที่ดีตอคนไทยในทุกดาน ความสมัพันธกับคนในสังคมอยูในระดับดีสําหรับดานการทํางานพบวาสวนใหญมีจํานวนวันและชั่วโมงการทํางานตามที่กฎหมายกําหนด มีการทํางานลวงเวลาบาง ดานรายไดโดยเฉลี่ยพบวาสวนใหญไดรับคาจางตํ่ากวา 10,000 บาท ไดรับสวัสดิการพื้นฐานที่สถานประกอบการจัดให และหน่ึงในสี่ของ

Page 28: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

19

คนทํางานพึงพอใจตอสวัสดิการที่ไดรับมาก ทั้งน้ี คนทํางานยังมีสวนรวมในสหภาพคอนขางตํ่าแตก็สามารถรวมตัวเพื่อเจรจาตอรองกับสถานประกอบการได สวนดานสุขภาพพบวากวาคร่ึงหน่ึงของคนทํางานไมเคยเจ็บปวยในรอบหน่ึงเดือนที่ผานมา และมีพฤติกรรมสุขภาพในทางบวกสูงอยางไรก็ตาม คนทํางานมีระดับความสุขที่มีคาเฉลี่ยคอนขางสูง คือ 6.92 จากคะแนนเต็ม 10

ธีระพงษ สมประเสริฐ (2550) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของชางโทรศัพทดานสายตอนนอก บริษัท ทีโอที จํากัด(มหาชน) ผลการวิจัย พบวา ชางโทรศัพทดานสายตอนนอก สวนใหญมีอายุมากกวา 40 ป สมรสแลว จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา มีอายุงาน 10-20 ป มีอัตราเงินเดือนระหวาง 20,001 – 30,000 บาท และมีระดับตําแหนง 5-6 สําหรับคุณภาพชีวิตในการทํางานของชางโทรศัพทดานสายตอนนอก ทั้ง 7 ดาน ไดแก คาตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมสภาพการทํางานที่มีความปลอดภัยและสงเสริมสุขภาพ โอกาสการพัฒนาสมรรถภาพบุคคล ความสมดุลระหวางการงานกับชีวิตสวนตัว ความสัมพันธกับบุคคลอ่ืนและการทํางานรวมกัน ความภูมิใจในองคกร พบวา คุณภาพชีวิตในการทํางานโดยรวมอยูในระดับสูง ยกเวนดานความมั่นคงและความกาวหนาในการทํางานที่มีคุณภาพชีวิตในการทํางานอยูในระดับกลาง การทํางานรวมกัน ความภูมิใจในองคกร พบวา คุณภาพชีวิตการทํางานโดยรวมอยูในระดับสูง ยกเวนดานความมั่นคงและความกาวหนาในการทํางานที่มีคุณภาพชีวิตในการทํางานอยูในระดับปานกลาง การเปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะสวนบุคคลกับคุณภาพชีวิตในการทํางาน พบวา อายุ สถานภาพสมรสระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน และระดับตําแหนงที่แตกตางกันมีผลตอคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกัน

ปวันรัตน ตนานนท (2550, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของเจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษา พบวา คุณภาพชีวิตการทํางานของเจาหนาที่โดยรวมอยูในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาแยกเปนรายดาน พบวา คุณภาพชีวิตการทํางานของเจาหนาที่ทั้ง 8 ดาน อยูในระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับ ดังน้ี ดานจังหวะชีวิต ดานความเปนประโยชนตอสังคม ดานสิทธิสวนบุคคล ดานสภาพการทํางานที่ปลอดภัยและสงเสริมสุขภาพ ดานการทํางานรวมกันและความสัมพันธกับบุคคลอ่ืน ดานความกาวหนาและความมั่นคงในหนาที่การงานและดานโอกาสในการพัฒนาขีดความสามารถ และดานคาตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม มีคาเฉลี่ยไมแตกตางกันมากนัก จากการทดสอบสมมติฐาน พบวา เจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม มีความแตกตางกันของระดับคุณภาพชีวิตการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ(Sig. เทากับ .014) ในดานกลุม/ฝายที่ปฏิบัติงาน สวนปจจัยบุคคลดานเพศ สถานภาพสมรส อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับตําแหนง รายไดประจําเดือน และรายไดนอกเหนือจากเงินเดือน ไมมีความสัมพันธกับระดับคุณภาพชีวิตการทํางาน

Page 29: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

20

สุรชัย แกวพิกุล (2552) คุณภาพชีวิตในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยพยาบาลตํารวจ ผลการวิจัย พบวา ประชากรสวนใหญรอยละ 81.6 เปนเพศหญิง รอยละ 27.2 มีอายุ 51 ปขึ้นไป รอยละ 40.8 ศึกษาระดับปริญญาโท รอยละ 45.2 มีชั้นยศ ระหวางพันตํารวจโท คุณภาพชีวิตในการทํางานของบุคลากรภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ดานการมีความมั่นคง มีโอกาสในการพัฒนาความสามารถและมีความกาวหนาในงาน ดานการทํางานที่มีเวลาใหกับตนเองและครอบครัว ดานการมีสภาพ แวดลอมที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะตอรางกายอยูในระดับปานกลาง แตดานการไดรับคาตอบแทนในการทํางานที่เพียงพอและยุติธรรม อยูในระดับนอย ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับคุณภาพชีวิตในการทํางาน พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ รายได ความพอเพียงของรายได ชั้นยศ แตกตางกันมีความสัมพันธกับคุณภาพชีวิตในการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

จากการแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังที่ไดกลาวมาขางตน สามารถสรุปไดวาตัวแปรที่มีความสัมพันธกับคุณภาพชีวิต ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาประสบการณทํางาน และรายไดตอเดือน จึงไดนํามากําหนดกรอบแนวคิด ดังน้ี

กรอบแนวคิดในการวิจัยคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี ผูวิจัยไดกําหนด

กรอบแนวคิด ดังตอไปน้ี1. ตัวแปรอิสระ (Independent variable) คือ จําแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ

การศึกษา ประสบการณในการทํางาน และรายไดตอเดือน2. ตัวแปรตาม (Dependent variable) คือ คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาล

ตําบลนาดี ซึ่งผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของประกอบดวยรายละเอียดดังน้ี(Huse & Cumming, 1985, pp. 198-199) มาใชในการศึกษาคร้ังน้ี จําแนกออกเปน 8 ดาน ดังน้ี

2.1 ดานผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ2.2 ดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ2.3 ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน2.4 ดานความกาวหนา2.5 ดานสังคมสัมพันธ2.6 ดานลักษณะการบริหารงาน2.7 ดานภาวะอิสระจากงาน2.8 ดานความภูมิใจในองคกร

Page 30: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

21

กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัยเร่ือง คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานสํานักงานเทศบาล

ตําบลนาดี ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของประกอบดวยรายละเอียดดังน้ี (Huse& Cumming, 1985)

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ปจจัยสวนบุคคล1. เพศ2. อายุ3. สถานภาพสมรส4. ระดับการศึกษา5. ประสบการณในการทํางาน6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน

คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี มีองคประกอบ 8 ดาน ดังน้ี

1. ดานผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ2. ดานสภาพที่ทํางานที่ปลอดภัยไมเปนอันตราย

ตอ สุขภาพ3. ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน4. ดานกาวหนา5. ดานสังคมสัมพันธ6. ดานลักษณะการบริหารงาน7. ดานภาวะอิสระจากงาน8. ดานความภูมิใจองคกร

Page 31: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

22

บทที่ 3วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ีเปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) โดยใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บขอมูล ผูวิจัยตองการศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทํางานและเปนแนวทางใหผูบริหารของสํานักงานเทศบาลตําบลนาดีไดนําไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสังกัดสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีดําเนินการวิจัย ดังน้ี

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง2. เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย3. การทดสอบเคร่ืองมือ4. การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย5. การรวบรวมขอมูล

ประชากร และกลุมตัวอยางประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ พนักงานเทศบาลที่เปนขาราชการ จํานวน 30 คน

ลูกจางประจํา 1 คน และพนักงานจาง จํานวน 84 คน รวมจํานวนทั้งสิ้น 115 คนกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ จํานวนพนักงานเทศบาลตําบลนาดีบางสวนเพื่อ

เปนตัวแทนของกลุมตัวอยาง โดยใชวิธีการคํานวณหากลุมตัวอยางโดยใชสูตรของทาโร ยามาเน(Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ซึ่งกําหนดคาความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยางเทากับ5% (ไพฑูรย โพธิสวาง, 2554, หนา 185) ดังน้ี

n = N1+Ne2

n = จํานวนกลุมตัวอยางN = จํานวนประชากรe = ความคาดเคลื่อนที่ยอมรับไดที่รอยละ 5เมื่อแทนคาในสูตรN = 115e = 0.05n = 115

1+115(.05) 2

Page 32: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

23

= 1151.28

= 90

ขอมูลและแหลงขอมูล1. การศึกษาภาคสนาม โดยศึกษาขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) โดยใชแบบสอบถามที่

ผูวิจัยสรางขึ้นเปนเคร่ืองมือ ประชากร ไดแก พนักงานเทศบาลที่เปนขาราชการ จํานวน 30 คนลูกจางประจํา 1 คน และพนักงานจาง จํานวน 84 คน รวมจํานวนทั้งสิ้น 115 คน โดยการแจกแบบสอบถามดวยตนเองใหแกประชากรทําการกรอกแบบสอบถาม

2. การศึกษาขอมูลจากเอกสาร โดยศึกษาขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) จากเอกสารวิชาการ เอกสารงานวิจัย เอกสารทางราชการ ตลอดจนผลการศึกษาที่เกี่ยวของ

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยการศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีเคร่ืองมือที่ใชในการ

เก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตโดยใชแบบสอบถามสรางขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ลักษณะของแบบสอบถามเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมในคร้ังน้ี คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) โดยแบง

ออกเปน 3 ตอน ไดแกตอนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลซึ่งเปนปจจัยสวนบุคคลของประชากร จํานวน 6 ขอ

ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประสบการณในการทํางาน และรายไดตอเดือนลักษณะคําถามปลายปด ใหเลือกตอบ (Check list) จํานวน 6 ขอ

ตอนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีแบบสอบถามน้ี สรางโดยการพัฒนาแบบสอบถามของ เสรี สัจจะธีระกุล โดยพัฒนามาจากแนวคิดของ Huse and Cumming (1985, pp. 198-199) มาประยุกตใช โดยผูศึกษานํามาปรับปรุงใหเหมาะสมกับการศึกษาคร้ังน้ี จํานวน 40 ขอ และมีลักษณะเปนการประเมินคาระดับความคิดเห็นตามความเปนจริง 5 ระดับ ดังน้ี

คําตอบ คะแนนเห็นดวยอยางยิ่ง 5เห็นดวย 4ปานกลาง 3

Page 33: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

24

ไมเห็นดวย 2ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาล

ตําบลนาดี

การสรางและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือแบบสอบถามฉบับน้ีผูวิจัยไดสรางขึ้นเองมีขั้นตอนในการสราง ดังน้ี1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของในเร่ืองคุณภาพชีวิตในการทํางานของ

พนักงานเทศบาลตําบลนาดี จากน้ันนํามากําหนดกรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย กําหนดนิยาม และเพื่อใชเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถาม

2. สรางแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีและตรวจสอบเน้ือหาของแบบสอบถามวาครอบคลุมวัตถุปะสงคหรือไม จากน้ันนําไปใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบความเที่ยงตรงและความถูกตองของเน้ือหา ตลอดจนความชัดเจนและการใชภาษาที่เหมาะสมของขอคําถาม ซึ่งมีเกณฑการประเมินผลความสอดคลองกําหนดคาตัวเลข ดังน้ี

คา +1 หมายถึง สอดคลองคา 0 หมายถึง ไมแนใจคา -1 หมายถึง ไมสอดคลองโดยผูเชี่ยวชาญประกอบดวย1. ผศ.ดร.ไพฑูรย โพธิสวาง หัวหนาภาควิชารัฐศาสตร

คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา

2. ร.ต.อ. ดร.วิเชียร ตันศิริคงคล ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิตคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา

3. ดร.จักรี ไชยพินิจ ผูชวยคณบดีคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตรคณะรัฐศาสตรและนิติศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา

3. ขอรับแบบสอบถามคืนจากผูเชี่ยวชาญ แลวนํามาคํานวณคาดัชนีความสอดคลอง IOC(Index of congruence) ของคําถามในแตละขอ ถามี IOC < 0.5 แสดงวา ขอคําถามน้ันเน้ือหาไมตรงตามที่ตองการวัด ถือวาใชไมได ตองสรางขึ้นมาแทนใหมทดแทนกรณีเห็นวาไมครอบคลุม โดยใชสูตร ดังน้ี (ไพฑูรย โพธิสวาง, 2554, หนา 170-171)

Page 34: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

25

สูตร IOC = ∑ RN

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับวัตถุประสงค∑ R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานเน้ือหาN แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ

ผลการคํานวณคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของขอคําถามในภาพรวมไดคา IOC4. นําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ แลวเสนอตอ

ประธานผูควบคุมงานนิพนธ เพื่อพิจารณาขั้นสุดทาย แลวนํามาปรับปรุงเพื่อความสมบูรณอีกคร้ังแลวจึงนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยาง ตอไป

การเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลและจัดกระทําขอมูลดังน้ี1. ผูวิจัยดําเนินการนําแบบสอบถามแจกใหกับพนักงานเทศบาลตําบลนาดี โดยแจง

วัตถุประสงคในการดําเนินการคร้ังน้ี2. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยแจกแบบสอบถามไปจํานวน 90 ชุด โดยมีแบบสอบถามที่

ไดรับกลับคืนมา และมีความสมบูรณ จํานวน 90 ชุด คิดเปน 100 เปอรเซ็นต

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย และสถิติที่ใชในการเคราะหขอมูลการวิเคราะหขอมูลสําหรับการวิจัยคร้ังน้ี แบงการวิเคราะหออกเปน 3 ตอน โดยใช

โปรแกรมสําเร็จรูป ซึ่งมีลําดับขั้นการวิเคราะห ดังน้ี1. การวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามที่ไดรับคืนมา กระทําไดโดยแบงออกเปน 2 ตอน

1.1 ใหรหัสตัวแปรที่ตองการศึกษา ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาประสบการณทํางาน และรายไดตอเดือน และตัวแปรเปนคําถามชุดเพื่อวัดระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานแตละดาน

1.2 ตรวจใหคะแนนแบบสอบถามตอนที่ 2 ตามเกณฑ ดังน้ีระดับเห็นดวยอยางยิ่งให 5 คะแนนระดับเห็นดวยให 4 คะแนนระดับปานกลางให 3 คะแนนระดับไมเห็นดวยให 2 คะแนนระดับไมเห็นดวยอยางยิ่งให 1 คะแนน

การแสดงผลการศึกษาขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามใหใชสถิติหาคารอยละ

Page 35: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

26

2. การแสดงผลการศึกษาขอมูลเบื้องตนดานคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ใชสถิติการหาคาเฉลี่ยรอยละ การหาคาเฉลี่ย และการหาคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน(SD) โดยไดกําหนด เกณฑการแปลผลคาเฉลี่ยของคะแนนที่ได แบงระดับเปน 5 ระดับ โดยใชคาทางสถิติ คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต(arithmetic mean) ใชเกณฑและแปลความหมาย (ไพฑูรย โพธิสวาง,2554, หนา 134-135) ดังน้ี

ชวงกวางของอันตรภาคชั้น = คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสุดจํานวนระดับ

= 5 - 15

= 0.80และกําหนดเกณฑการแปลความหมายของขอมูลแตละดาน ดังน้ี4.21 - 5.00 หมายถึง มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับดีที่สุด3.41 - 4.20 หมายถึง มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับดี2.61 - 3.40 หมายถึง มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับปานกลาง1.81 - 2.60 หมายถึง มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับนอย1.00 - 1.80 หมายถึง มีคุณภาพชีวิตอยูในระดับนอยที่สุดสวนที่ 3 ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ เปนแบบสอบถามปลายเปด เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามเสนอ

ความคิดเห็นในการพัฒนาคุณภาพชีวิตสถิติที่ใชในการเคราะหขอมูลผูวิจัยทําการวิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอรโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป สถิติในการ

วิเคราะหขอมูล ไดแก1. วิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางโดยใชสถิติเชิงพรรณนา คือ นํามาแจกแจง

ความถี่ คํานวณเปนคารอยละ แลวนําเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง2. วิเคราะหระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี โดยใชสถิติ

เชิงพรรณา และนําเสนอในรูปของการแจกแจงความถี่ และคารอยละแลวนําเสนอในรูปตารางประกอบความเรียง

3. การทดสอบสมมติฐาน โดยใชคาทดสอบ t-Test และคา One-way ANOVA ในการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยจากกลุมตัวอยาง

Page 36: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

27

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเร่ือง “คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีและเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามเพศ อายุสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประสบการณทํางาน และรายไดตอเดือน จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล โดยศึกษาจากพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จํานวน 90 คน ผูวิจัยไดเสนอผลการวิเคราะหขอมูลโดยแบงผลการวิเคราะหออกเปน 3 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลตอนที่ 2 ระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี อําเภอนาดี

จังหวัด ปราจีนบุรีตอนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

ตอนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลการวิเคราะหน้ีจะเปนเร่ืองเกี่ยวกับ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ประสบการณ

ทํางาน และรายไดเฉลี่ยตอเดือน ของกลุมตัวอยาง เปนการนําเสนอจํานวนและรอยละ จํานวน 90 คนซึ่งผลการวิเคราะหปรากฏในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 6 พบวา

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละเพศ1. เพศชาย 39 43.302. เพศหญิง 51 56.70

รวม 90 100.00

Page 37: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

28

จากตารางที่ 1จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 56.70 รองลงมา คือ เพศชาย จํานวน 39 คน คิดเปนรอยละ 43.30

ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละอายุ1. ตํ่ากวา 20 ป2. 20 – 30 ป3. 31 – 40 ป4.41 – 50 ป5. 51 ปขึ้นไป

-2

52324

-2.20

57.8035.604.40

รวม 90 100.00

จากตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุ 31–40ปจํานวน 52 คน คิดเปนรอยละ 57.80 รองลงมาคือ อายุ 41-50 ป จํานวน 32คน คิดเปนรอยละ 35.60 อายุ 51 ปขึ้นไป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 4.40 กลุมตัวอยางที่มีจํานวนนอยที่สุด คือ อายุ 20-30 ป จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 2.20 ตามลําดับในขณะที่ไมมีกลุมตัวอยางที่มีอายุตํ่ากวา20 ป

ตารางที่ 3 จํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามสถานภาพสมรส

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละสถานภาพ1. โสด2. สมรส3. หมาย หยาราง แยกกันอยู

23634

25.6070.004.40

รวม 90 100.00

Page 38: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

29

จากตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพสมรส พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีสถานภาพสมรส จํานวน 63 คน คิดเปนรอยละ 70.00 รองลงมา สถานภาพโสด จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 25.60 และกลุมตัวอยางที่มีจํานวนนอยที่สุด คือ สถานภาพหมายหยาราง แยกกันอยู จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 4.40 ตามลําดับ

ตารางที่ 4 จํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละระดับการศึกษา1. ประถมศึกษา2. มัธยมศึกษาตอนตน3. มัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช.4. อนุปริญญาตรี/ ปวส.5. ปริญญาตรี6. สูงกวาปริญญาตรี

82

4319162

8.902.20

47.8021.1017.80

2.2รวม 90 100.00

จากตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีการศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช. จํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ47.80 รองลงมา มีการศึกษาอยูในระดับอนุปริญญาตรี/ ปวส. จํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ 21.10การศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 17.80 การศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน8 คน คิดเปนรอยละ 8.90 และจํานวนกลุมตัวอยางที่มีจํานวนนอยที่สุด ซึ่งมีจํานวนเทากันคือ ระดับการศึกษาละ 2 คน คิดเปนรอยละ 2.20 ไดแก การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนและการศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรี ตามลําดับ

Page 39: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

30

ตารางที่ 5 จํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามประสบการณทํางาน

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละประสบการณทํางาน1. นอยกวา 1 ป2. 1 – 2 ป3. 3 – 4 ป4. 5 – 6 ป5.6 ปขึ้นไป

28

382913

2.209.00

42.2032.2014.40

รวม 90 100.00

จากตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามประสบการณทํางานพบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีประสบการณทํางาน 3-4 ป จํานวน 38 คนคิดเปนรอยละ 42.20รองลงมา คือมีประสบการณ 5-6 ป จํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 32.20 มีประสบการณ 6 ปขึ้นไป จํานวน 13 คนคิดเปนรอยละ 14.40 ประสบการณ 1-2 ป จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 9.00 และกลุมตัวอยางที่มีจํานวนนอยที่สุด คือ มีประสบการณนอยกวา 1 ปจํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 2.20 ตามลําดับ

ตารางที่ 6 จํานวนรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละรายไดเฉลี่ยตอเดือน1.ตํ่ากวา 6,000 บาท2.ต้ังแต 6,001 – 10,000 บาท3. ต้ังแต 10,0001 – 15,000 บาท4. ต้ังแต 15,001บาท

-482121

-53.3023.3023.30

รวม 90 100.00

จากตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือนพบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนต้ังแต 6,001 – 10,000 บาทจํานวน 48 คน คิดเปน

Page 40: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

31

รอยละ 53.30 รองลงมา คือ มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนที่มีจํานวนเทากัน คือ จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ23.30 มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนต้ังแต 10,0001 – 15,000 บาท และต้ังแต 15,001บาทขึ้นไป

ตอนที่ 2 ระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี อําเภอนาดีจังหวัดปราจีนบุรี

การวิเคราะหระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี อําเภอนาดีจังหวัดปราจีนบุรี ผูวิจัยไดวิเคราะหโดยใชคาความถี่ (Frequency) และคารอยละ (Percentage)ซึ่งเสนอผลการวิเคราะหปรากฏรายละเอียดดังตารางที่ 7-12 ดังน้ี

ตารางที่ 7 จํานวนรอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ในภาพรวม

คุณภาพชีวิตในการทํางาน x SD ระดับคุณภาพชีวิต

อันดับ

1. ดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ 3.08 0.34 ปานกลาง 72. ดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ

3.78 0.31 ดี 3

3. ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน 2.92 0.43 ปานกลาง 84. ดานความกาวหนา 3.88 0.39 ดี 25. ดานสังคมสัมพันธ 3.42 0.51 ดี 56. ดานลักษณะการบริหารงาน 3.25 0.33 ปานกลาง 67. ดานภาวะอิสระในการปฏิบัติงาน 3.60 0.39 ดี 48. ดานความภูมิใจในองคกร 3.94 0.40 ดี 1

รวม 3.48 0.14 ดี

จากตารางที่ 7 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางานในภาพรวมอยูในระดับดี( x = 3.48, SD =0.14 ) เมื่อพิจารณาเปนรายดานของคุณภาพชีวิต พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางานอยูใน 3 ลําดับแรกเรียงตามลําดับดังน้ีดานความภูมิใจในองคกรมีคาเฉลี่ย 3.94

Page 41: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

32

(SD = 0.40) ดานความกาวหนา มีคาเฉลี่ย 3.88 (SD = 0.39) และดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพมีคาเฉลี่ย 3.78 (SD = 0.31)

ตารางที่ 8 จํานวนรอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามความคิดเห็นดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ

คุณภาพชีวิตในการทํางาน x SDระดับ

คุณภาพชีวิตอันดับ

ดานผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ1. องคกรจายคาตอบแทนเหมาะสมกับคาครองชีพในปจจุบัน

3.62 0.74 ดี 1

2. องคกรจัดสวัสดิการตาง ๆ เหมาะสมกับตําแหนงงาน ภาระ หนาที่ และความรับผิดชอบของทาน

2.23 0.76 นอย 5

3. คาตอบแทนที่ทานไดรับจากการทํางานทําใหทานสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีความสุขตามอัตภาพ

2.40 0.70 นอย 4

4. ทานไดรับเงินเดือนและผลตอบแทนที่เหมาะสม เมื่อเทียบกับคนอ่ืนที่ปฏิบัติงานในระดับเดียวกัน

3.61 0.76 ดี 2

5. ในภาพรวมผลประโยชนตอบแทนที่ไดรับคุมคากับความอุตสาหะของทาน

3.54 0.99 ดี 3

รวม 3.08 0.34 ปานกลาง

จากตารางที่ 8 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางานดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ โดยรวมอยูในระดับปานกลาง ( x = 3.08, SD = 0.34 ) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายขอพบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก การที่องคกรจายคาตอบแทนเหมาะสมกับคาครองชีพในปจจุบัน ( x =3.62, SD = .74) การไดรับเงินเดือนและ

Page 42: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

33

ผลตอบแทนที่เหมาะสม เมื่อเทียบกับคนอ่ืนที่ปฏิบัติงานในระดับเดียวกัน ( x = 3.61, SD = 0.76)และ ในภาพรวมผลประโยชนตอบแทนที่ไดรับคุมคากับความอุตสาหะของทาน ( x = 3.54,SD = 0.99)

ตารางที่ 9 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามความคิดเห็นดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ

คุณภาพชีวิตในการทํางาน x SDระดับ

คุณภาพชีวิตอันดับ

ดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ1. องคกรของทานมีสภาพแวดลอมที่ชวยสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางาน

4.48 0.70 ดีที่สุด 1

2. สถานที่ปฏิบัติงานของทานสะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย มีความปลอดโปรงและบรรยากาศถายเทสะดวก

4.08 0.73 ดี 3

3. องคกรใหความสําคัญเร่ืองความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน

2.38 0.77 นอย 5

4. องคกรจัดสรรอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหแกพนักงานอยางเหมาะสมและเพียงพอ

4.33 0.60 ดีที่สุด 2

5. บริเวณพื้นที่ทํางานของทานมีการพัฒนาและปรับปรุงเสมอทาน

3.66 0.69 ดี 4

รวม 3.78 0.31 ดี

จากตารางที่ 9 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพโดยรวมอยูในระดับดี ( x = 3.78, SD = 0.31) เมื่อพิจารณาแยก

Page 43: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

34

เปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก การที่องคกรมีสภาพแวดลอมที่ชวยสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางาน ( x =4.48, SD = 0.70) การที่องคกรจัดสรรอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหแกพนักงานอยางเหมาะสมและเพียงพอ ( x = 4.33,SD = 0.60) และการที่สถานที่ปฏิบัติงานสะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย มีความปลอดโปรงและบรรยากาศถายเทสะดวก ( x = 4.08, SD = 0.73)

ตารางที่ 10 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามความคิดเห็นดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน

คุณภาพชีวิตในการทํางาน x SDระดับ

คุณภาพชีวิตอันดับ

ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน1.ทานคิดวางานที่ทําอยูเปนงานที่ตรงกับความรูความสามารถ และทักษะเฉพาะตัวของทาน

3.48 0.85 ดี 2

2.ทานรูสึกยินดีที่ไดเรียนรูเทคนิคการทํางานใหม ๆ เสมอ

3.36 0.87 ปานกลาง 3

3.งานที่ทานทําอยูไดรับการยอมรับวามีความสําคัญตอองคกร

3.60 0.66 ดี 1

4.ทานไดรับการสงเสริมใหมีการอบรม สัมมนา ดูงาน ในเร่ืองที่เกี่ยวกับงาน

1.93 0.73 นอย 5

5.องคกรของทานสนับสนุนใหมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับวุฒิการศึกษา

2.27 0.80 นอย 4

รวม 2.92 0.43 ปานกลาง

จากตารางที่ 10 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงานโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ( x = 2.92, SD = 0.43 ) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายขอพบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก งานที่ทําอยูไดรับการยอมรับวามีความสําคัญตอองคกร ( x =3.60, SD = 0.66) การที่คิดวางานที่ทําอยูเปนงานที่ตรงกับความรูความสามารถ และทักษะเฉพาะตัวของทาน ( x = 3.48, SD = 0.85) และการที่รูสึกยินดีที่ไดเรียนรูเทคนิคการทํางานใหม ๆ เสมอ ( x = 3.36, SD = 0.87)

Page 44: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

35

ตารางที่ 11 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามความคิดเห็นดานความกาวหนา

คุณภาพชีวิตในการทํางาน x SDระดับ

คุณภาพชีวิตในอันดับ

ดานความกาวหนา1. ทานเห็นโอกาสความกาวหนาในการทํางานกับองคกรอยางชัดเจน

2.11 0.62 นอย 5

2. ทานเห็นโอกาสความกาวหนาในการทํางานกับองคกรอยางชัดเจน

3.34 0.90 ปานกลาง 2

3. องคกรของทานเปดโอกาสใหทานไดพัฒนาความรู ความสามารถในงาน เชน อบรม ดูงาน

3.29 0.60 ปานกลาง 3

4. องคกรของทานใหความสําคัญกับการพัฒนาความรูความสามารถของบุคลากร

3.27 0.74 ปานกลาง 4

5. ทานรูสึกวาองคกรที่ทานอยูมีความมั่นคงดีอยูแลว

4.13 0.85 ดี 1

รวม 3.88 0.39 ปานกลาง

จากตารางที่ 11 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ดานความกาวหนาโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ( x = 3.88, SD = 0.39) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก การที่รูสึกวาองคกรที่ทานอยูมีความมั่นคงดีอยูแลว ( x =4.13, SD = 0.85) การที่เห็นโอกาสความกาวหนาในการทํางานกับองคกรอยางชัดเจน ( x = 3.34, SD = 0.90) และการที่องคกรเปดโอกาสใหทานไดพัฒนาความรู ความสามารถในงาน เชน อบรม ดูงาน ( x = 3.29, SD = 0.60)

Page 45: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

36

ตารางที่ 12 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามความคิดเห็นดานสังคมสัมพันธ

คุณภาพชีวิต x SDระดับ

คุณภาพชีวิตอันดับ

ดานสังคมสัมพันธ1.ผูบังคับบัญชาของทานใหการชวยเหลือลูกนองในทุก ๆ ดาน

3.26 0.89 ปานกลาง 5

2.ทานไดรับความชวยเหลือ ความเห็นอกเห็นใจจากเพื่อนรวมงานและขอความรวมมือจากเพื่อนรวมงานได

3.56 0.80 ดี 1

3.ผูบังคับบัญชาของทานเปนกันเองและปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาทุกคนอยางเทาเทียมกัน

3.46 0.99 ดี 3

4.ทานสามารถปรึกษาปญหาเร่ืองงานและเร่ืองสวนตัวกับเพื่อนรวมงานได

3.33 0.86 ปานกลาง 4

5.ทานมักออกไปทานขาวหรือสังสรรคกับเพื่อนรวมงานนอกเวลางานเสมออยางนอยเดือนละคร้ัง

3.50 0.65 ดี 2

รวม 3.42 0.51 ดี

จากตารางที่ 12 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ดานสังคมสัมพันธโดยรวมอยูในระดับดี ( x = 3.42, SD = 0.51) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก การที่ไดรับความชวยเหลือ ความเห็นอกเห็นใจจากเพื่อนรวมงานและขอความรวมมือจากเพื่อนรวมงานได ( x =3.56, SD = 0.80) การที่ไดออกไปทานขาวหรือสังสรรคกับเพื่อนรวมงานนอกเวลางานเสมออยางนอยเดือนละคร้ัง ( x = 3.50,SD = 0.65) และการที่ผูบังคับบัญชาเปนกันเองและปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาทุกคนอยางเทาเทียมกัน ( x = 3.46, SD = 0.99)

Page 46: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

37

ตารางที่ 13 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามความคิดเห็นดานลักษณะการบริหารงาน

คุณภาพชีวิตในการทํางาน x SDระดับ

คุณภาพชีวิตอันดับ

ดานลักษณะการบริหารงาน1. ผูบังคับบัญชาใหอํานาจแกทานอยางเต็มที่ในการตัดสินใจในงานที่อยูในความรับผิดชอบของทาน

2.82 0.99 ปานกลาง 5

2. ผูบังคับบัญชายอมรับฟงความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของทาน

3.27 0.96 ปานกลาง 3

3. ทานไดรับการพิจารณาความดีความชอบหรือการปฏิบัติอ่ืน ๆ อยางยุติธรรมทัดเทียมกับผูอ่ืน

3.56 0.60 ดี 1

4. ผูบังคับบัญชาของทานแสดงความหวงใยและใสใจในสวัสดิภาพของทาน

3.47 0.70 ดี 2

5. ผูบังคับบัญชาของทานเห็นถึงคุณคาการทุมเททํางานของทาน

3.14 0.90 ปานกลาง 4

รวม 3.25 0.33 ปานกลาง

จากตารางที่ 13 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ดานลักษณะการบริหารงานโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ( x = 3.25, SD = 0.33) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายขอ พบวากลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก การที่ไดรับการพิจารณาความดีความชอบหรือการปฏิบัติอ่ืน ๆ อยางยุติธรรมทัดเทียมกับผูอ่ืน ( x =3.56, SD = 0.60) การที่ผูบังคับบัญชาของทานแสดงความหวงใยและใสใจในสวสัดิภาพของทาน ( x = 3.47, SD = 0.70)และการที่ผูบังคับบัญชายอมรับฟงความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของทาน ( x = 3.27, SD = 0.96)

Page 47: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

38

ตารางที่ 14 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามความคิดเห็นดานภาวะอิสระในการปฏิบัติงาน

คุณภาพชีวิตในการทํางาน x SDระดับ

คุณภาพชีวิตอันดับ

ดานภาวะอิสระในการปฏิบัติงาน1. เมื่อเลิกงานองคกรของทานมีกิจกรรมใหคลายเครียดจากที่ทําอยู

3.34 0.81 ปานกลาง 4

2. ทานสามารถจัดเวลาการทํางานและภาระหนาที่ในครอบครัวอยางเหมาะสม

3.21 0.86 ปานกลาง 5

3. ทานมักมีสวนรวมในงานกีฬาสีหรือกิจกรรมตาง ๆของสํานักงานเทศบาลฯ

4.07 0.93 ดี 1

4. ภายหลังจากการทํางานทานมีชวงเวลาทํากิจกรรมหรือสังสรรคกับเพื่อน ๆ เปนประจํา

3.57 0.78 ดี 3

5. ทานมีเวลาสําหรับการพักผอนที่เหมาะสมและรวมกิจกรรมสันทนาการ

3.83 0.98 ดี 2

รวม 3.60 0.39 ดี

จากตารางที่ 14 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ดานภาวะอิสระในการปฏิบัติงานโดยรวมอยูในระดับดี ( x = 3.60, SD = 0.39) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก การที่มีสวนรวมในงานกีฬาสีหรือกิจกรรมตาง ๆ ของสํานักงานเทศบาลฯ ( x =4.07, SD = 0.93) การที่มีเวลาสําหรับการพักผอนที่เหมาะสมและรวมกิจกรรมสันทนาการ ( x = 3.83, SD = 0.98) และการที่หลังจากการทํางานทานมีชวงเวลาทํากิจกรรมหรือสังสรรคกับเพื่อน ๆ เปนประจํา ( x = 3.57, SD = 0.78)

Page 48: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

39

ตารางที่ 15 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแปลความและการจัดอันดับของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามความคิดเห็นดานความภูมิใจในองคกร

คุณภาพชีวิต x SDระดับ

คุณภาพชีวิตอันดับ

ดานความภูมิใจในองคกร1. ทานเปนสวนหน่ึงที่ทําใหงานประสบผลสําเร็จ

3.89 0.99 ดี 3

2. ทานภาคภูมิใจเสมอเมื่อบอกผูอ่ืนวาเปนพนักงานขององคกรน้ี

3.71 0.89 ดี 5

3. องคกรของทานรับผิดชอบตอสังคม 4.31 0.87 ดีที่สุด 14. องคกรของทานเปนองคกรที่มีชื่อเสียง 4.04 0.87 ดี 25. ทานมีความภูมิใจที่ทํางานที่องคกรแหงน้ี 3.78 0.41 ดี 4

รวม 3.94 0.40 ดี

จากตารางที่ 15 พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ดานความภูมิใจในองคกรโดยรวมอยูในระดับดี ( x = 3.94, SD = 0.40) เมื่อพิจารณาแยกเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน อยูใน 3 ลําดับแรก ไดแก การที่องคกรรับผิดชอบตอสังคม( x =4.31, SD = 0.87) การที่องคกรเปนองคกรที่มีชื่อเสียง ( x = 4.04, SD = 0.87) และการที่ทานเปนสวนหน่ึงที่ทําใหงานประสบผลสําเร็จ ( x = 3.89, SD = 0.99)

ตอนที่ 3 การทดสอบความแตกตางของคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสมมติฐานที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลที่แตกตางกันทําใหคุณภาพชีวิตในการทํางานของ

พนักงานเทศบาลตําบลนาดี แตกตางกันสมมติฐานการวิจัย 1.1 พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีเพศแตกตางกันมีความเห็นตอ

คุณภาพชีวิตแตกตางกัน

Page 49: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

40

ตารางที่ 16 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามเพศ

เพศ n x SD t Sig.ชาย 39 3.50 0.13 1.18 0.67หญิง 51 3.47 0.13p> 0.05

จากตารางที่ 16 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของกลุมตัวอยางที่เปนพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามเพศ โดยใชสถิติ t-Test พบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีเพศแตกตางกันมีคุณภาพชีวิตในการทํางานไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

สมมติฐานการวิจัย 1.2 พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีอายุแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ตารางที่ 17 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามอายุ

คุณภาพชีวิตในการทํางาน

แหลงความแปรปรวนdf SS MS F Sig.

อายุ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

3 0.041.701.74

0.010.02

0.70 0.558689

p> 0.05

จากตารางที่ 17 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของกลุมตัวอยางที่เปนพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามอายุ พบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีอายุแตกตางกันมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ไมเปนไปตามสมมติฐาน

Page 50: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

41

สมมติฐานการวิจัย 1.3 พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีสถานภาพการสมรสแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ตารางที่ 18 วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาล ตําบลนาดีจําแนกตามสถานภาพสมรส

คุณภาพชีวิตในการทํางาน

แหลงความแปรปรวนdf SS MS F Sig.

สถานภาพสมรส ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2 0.021.721.74

0.010.02

0.72 0.488789

p> 0.05

จากตารางที่ 18 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของกลุมตัวอยางที่เปนพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามสถานภาพสมรส พบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีสถานภาพสมรสแตกตางกันมีคุณภาพชีวิตในการทํางาน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ไมเปนไปตามสมมติฐาน

สมมติฐานการวิจัย 1.4 พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ตารางที่ 19 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีจําแนกตามระดับการศึกษา

คุณภาพชีวิตในการทํางาน

แหลงความแปรปรวนdf SS MS F Sig.

ระดับการศึกษา ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

5 0.241.501.74

0.050.01

2.78* 0.028489

*p< 0.05

Page 51: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

42

จากตารางที่ 19 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของกลุมตัวอยางที่เปนพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามระดับการศึกษา พบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05เปนไปตามสมมติฐาน จึงไดทดสอบความแตกตางเปนรายคู ปรากฏผลดังตาราง

ตารางที่ 20 การเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีจําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู

ระดับการศึกษา x

ประถมศึกษา

มัธยมศึกษา

ตอนตน

มัธยมศึกษาตอนปลาย/

ปวช.

อนุปริญญาตรี/ปวส.

ปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.48 3.47 3.53 3.45 3.39 3.50ประถมศึกษา 3.48 - - - - - -มัธยมศึกษาตอนตน 3.47 - - - - - -มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 3.53 - - - - - -อนุปริญญาตรี/ปวส. 3.45 - - - - - -ปริญญาตรี 3.39 - - 0.139* - - -สูงกวาปริญญาตรี 3.50 - - - - - -

จากตารางที่ 20 เมื่อทําการทดสอบความแตกตางดวยวิธีการทดสอบของ Scheffe พบวาระดับการศึกษาที่ตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังน้ี

พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีมีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานดีกวาพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.

สมมติฐานการวิจัย 1.5 พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีประสบการณทํางานแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

Page 52: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

43

ตารางที่ 21 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามประสบการณทํางาน

คุณภาพชีวิตในการทํางาน

แหลงความแปรปรวนdf SS MS F Sig.

ประสบการณทํางาน

ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4 0.311.431.74

0.070.01

4.60* 0.008589

*p< 0.05

จากตารางที่ 21 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของกลุมตัวอยางที่เปนพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามประสบการณทํางาน พบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีประสบการณทํางานแตกตางกัน มีคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เปนไปตามสมมติฐาน จึงไดทดสอบความแตกตางเปนรายคูปรากฏผลดังตาราง

ตารางที่ 22 การเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีจําแนกตามประสบการณทํางานเปนรายคู

ประสบการณทํางาน x

นอยกวา1 ป

1 – 2 ป 3 – 4 ป 5 – 6 ป 6 ป ขึ้นไป

นอยกวา 1 ป - - - - -1 – 2 ป - - - - -3 – 4 ป - - - - -5 – 6 ป - - - - -6 ป ขึ้นไป - - 0.147* - -

จากตารางที่ 22 เมื่อทําการทดสอบความแตกตางดวยวิธีการทดสอบของ Scheffeพบวาประสบการณทํางานที่ตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังน้ี

Page 53: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

44

พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีประสบการณทํางาน 6 ป ขึ้นไป มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานดีกวาพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีประสบการณทํางาน 3 – 4 ป

สมมติฐานการวิจัย 1.6 พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ตารางที่ 23 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน

คุณภาพชีวิตในการทํางาน

แหลงความแปรปรวนdf SS MS F Sig.

รายไดเฉลี่ยตอเดือน

ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2 0.031.711.74

0.010.02

0.86 0.428789

จากตารางที่ 23 คาสถิติเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของกลุมตัวอยางที่เปนพนักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามรายไดเฉลี่ยตอเดือน พบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกัน มีคุณภาพชีวิตในการทํางานไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ไมเปนไปตามสมมติฐาน

ตารางที่ 24 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานการวิจัยผลการทดสอบ

สมมติฐาน1. พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีเพศแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

2. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีอายุแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

3. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีสถานภาพสมรสแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

Page 54: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

45

ตารางที่ 24 (ตอ)

สมมติฐานการวิจัยผลการทดสอบ

สมมติฐาน4. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

เปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

5. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีประสบการณทํางานแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

เปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

6. พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตแตกตางกัน

ไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

จากตารางที่ 24 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย จําแนกตามเพศโดยใชสถิติ t-testทดสอบพบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีเพศแตกตางกันมีคุณภาพชีวิตในการทํางานไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว และจากการทดสอบดวยสถิติความแปรปรวนทางเดียว พบวา พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มี อายุ สถานภาพสมรสและรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกัน มีคุณภาพชีวิตในการทํางานไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่0.05 ไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว ในขณะที่พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีระดับการศึกษาและประสบการณทํางานแตกตางกัน มีคุณภาพชีวิตแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05เปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 55: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

46

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

เร่ือง คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทํางาน และเปนแนวทางใหผูบริหารของสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี ไดนําไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสักกัดสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี จําแนกตามเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ประสบการณในการทํางาน และรายไดตอเดือน กลุมตัวอยาง ไดแก พนักงานสํานักงานเทศบาลตําบลนาดี จํานวน 90 คนสถิติที่ใชในการวิจัย ไดแก คาความถี่ คาสถิติรอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน และทดสอบความแตกตางโดยใชคาสถิติ t-Test และ One-way ANOVA สรุปผลการวิจัย ดังน้ี

สรุปผล1. ระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี มีคุณภาพชีวิตการ

ทํางานในภาพรวมอยูในระดับดี ( x = 3.48, SD = 0.14 ) เมื่อแยกเปนรายขอตามคุณภาพชีวิตการ ทํางาน ดานที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ ดานความภูมิใจในองคกร รองลงมาไดแก ดาน

ความกาวหนา ดานสภาพที่ทํางานปลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ ดานภาวะอิสระในการปฏิบัติงาน ดานสังคมสัมพันธ ดานลักษณะการบริหารงานดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอและคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด

คือ ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน2. ผลการเปรียบเทียบความแตกตางของคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาล

ตําบลนาดี โดยการทดสอบสมมติฐาน พบวาสมมติฐานการวิจัย ขอ 1 จากการศึกษา พบวา การเปรียบเทียบเพศกับคุณภาพชีวิตในการ

ทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีเพศแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานในภาพรวมไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ดังน้ัน จึงไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย ขอ 2 จากการศึกษา พบวา การเปรียบเทียบอายุกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีอายุตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานในภาพรวมไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ดังน้ัน จึงไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

Page 56: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

47

สมมติฐานการวิจัย ขอ 3 จากการศึกษา พบวา การเปรียบเทียบสถานภาพสมรสกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีสถานภาพสมรสแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานในภาพรวมไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05ดังน้ัน จึงไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย ขอ 4 จากการศึกษา พบวา การเปรียบเทียบระดับการศึกษากับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีระดับการศึกษาแตกตางกันมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานในภาพรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังน้ัน จึงเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย ขอ 5 จากการศึกษา พบวา การเปรียบเทียบประสบการณทํางานกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีประสบการณทํางานแตกตางกัน มีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังน้ัน จึงเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย ขอ 6 จากการศึกษา พบวา การเปรียบเทียบรายไดเฉลี่ยตอเดือนกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกัน มีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานในภาพรวมไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05ดังน้ัน จึงไมเปนไปตามสมมติฐานการวิจัย

อภิปรายผลจากการศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีพบวา คุณภาพ

ชีวิตในการทํางานอยูในระดับดี ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ปรมาพร สิงหสุวิช (2551, หนา 98)ที่พบวา พนักงานเมืองพัทยา มีคุณภาพชีวิตในการทํางานเฉลี่ยทุกดานอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายดาน เรียงลําดับตามคะแนนคาเฉลี่ยมาก ไดแก

1. ดานความภูมิใจในองคกรที่มีคุณคาทางสังคม ผูศึกษาพิจารณาวา การไดปฏิบัติงานในองคการที่มีชื่อเสียงไดรับการยอมรับจากสังคมวาเปนองคการที่มีความรับผิดชอบตอสังคมปฏิบัติงานรับใชสังคม และทําคุณประโยชนใหกับสังคมน้ัน ทําใหบุคคลน้ันเกิดความภูมิใจในองคการ เปนการตอบสนองความตองการของบุคคลในดานที่รูสึกวาตนเองมีคุณคาซึ่งเปนรางวัลทางจิตใจที่สําคัญ สงผลใหบุคคลมีความผูกพันตอองคการ พรอมที่จะปฏิบัติงานในองคการตอไป

2. ดานความกาวหนา ผูศึกษาพิจารณาวา ในการทํางานของพนักงาน จําเปนตองใชทักษะและความชํานาญในการปฏิบัติงาน เชน พนักงานการเงินและบัญชี พนักงานจัดเก็บรายได พนักงานผลิตนํ้าประปา เปนตน การสงเสริมสนับสนุนในการเตรียมความพรอม เรียนรูและทักษะ เพื่อกาวสู

Page 57: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

48

ตําแหนงที่สูงขึ้น เปนสิ่งสําคัญที่องคการใหความสําคัญ สงผลใหบุคคลพรอมที่จะปฏิบัติงานและทุมเทใหกับองคการ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ เกล็ดแกว บุญเกิด (2552, หนา 42) พบวาคุณภาพชีวิตในการทํางานของบุคลากรองคการบริหารสวนจังหวัดสุพรรณบุรี ดานความมั่นคงและความกาวหนาในการทํางานอยูในระดับมาก

นอกจากน้ี ผูศึกษายังไดพบวา พนักงานสวนใหญมีความเห็นตอคุณภาพชีวิตในการทํางานอยูในระดับนอยเมื่อแยกตามคาเฉลี่ยรายดาน ดังน้ี

1. ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงานเปนดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด โดยพนักงานเทศบาลตําบลนาดีมีความเห็นวา ไดรับการสงเสริมใหมีการอบรม สัมมนา ดูงาน ในเร่ืองที่เกี่ยวกับงานอยูในระดับตํ่า และพนักงานไมไดรับการสนับสนุนใหมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับวุฒิการศึกษาในขณะที่พนักงานมีความรูสึกยินดีที่ไดเรียนรูเทคนิคการทํางานใหม ๆ ซึ่งการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงานตองไดรับการสงเสริมเพื่อใหสอดคลองกับแนวคิดของวอลตัน (Walton, 1973) โอกาสในการพัฒนาความรูความสามารถของบุคคลหมายถึง โอการสในการเสริมสรางความสามารถในการทํางานใหมีคุณภาพ โดยการใหบุคคลมีอิสระในการปฏิบัติหนาที่ สามารถควบคุมงานดวยตนเองได สามารถใชทักษะความรูความสามารถที่มีอยูรูจักหาหรือไดรับสารสนเทศเกี่ยวกับกระบวนการการทํางาน แนวทางปฏิบัติและสามารถคาดคะเนผลของการปฏิบัติไดถูกตองเหมาะสมมีการวางแผนการทํางานและไดมีสวนชวยเหลือในการทํางานทุก ๆ ขั้นตอน

2. คาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ เปนดานที่มีคาเฉลี่ยนอยลําดับรองจากการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงานเมื่อบุคคลไดทุมเทความพยายามใหกับการทํางาน ยอมปรารถนาผลตอบแทนที่คุมคา เน่ืองจากรายไดและผลตอบแทนเปนสิ่งจําเปนตอการดําเนินชีวิตของคนเราหากองคการตระหนักถึงความสําคัญของการใหคาตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม พิจารณาแลวคุมคากับที่ไดทุมเทแรงกายแรงใจไป บุคลากรก็จะเกิดขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานและมีความรูสึกผูกพันตอองคการมากขึ้น ดังน้ัน รายไดและผลตอบแทนที่เพียงพอ ยุติธรรม จึงมีอิทธิพลตอความผูกพันตอองคการ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ฮิวสและคัมมิงส (Huse & Cumming,1985, pp. 198-199) ผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ หรือ “รายไดและประโยชนตอบแทน”หมายถึง การไดรับรายไดและผลตอบแทนที่เพียงพอ และสอดคลองกับมาตรฐาน ผูปฏิบัติงานรูสึกวามีความเหมาะสมและเปนธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดจากงานอ่ืน ๆ

จากผลการทดสอบความแตกตางของปจจัยทางดานเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ประสบการณทํางาน และรายไดเฉลี่ยตอเดือน พบวา

1. เพศ พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีเพศแตกตางกัน จะมีคุณภาพชีวิตในการทํางานไมแตกตางกันซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของปวันรัตน ตนานนท (2550) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการ

Page 58: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

49

ทํางานของเจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษา พบวา เจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม มีความแตกตางกันของระดับคุณภาพชีวิตการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ(Sig. เทากับ .014) ในดานกลุม/ฝายที่ปฏิบัติงาน สวนปจจัยบุคคลดานเพศ สถานภาพสมรส อายุระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับตําแหนง รายไดประจําเดือน และรายไดนอกเหนือจากเงินเดือนไมมีความสัมพันธกับระดับคุณภาพชีวิตการทํางาน

2. อายุ พนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีอายุแตกตางกัน จะมีคุณภาพชีวิตในการทํางานไมแตกตางกันซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของ พีรวุฒิ สนใจ (2547, บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสอบสวนสังกัดกองบังคับการตํารวจนครบาล 2 ผลการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีพบวาปจจัยสวนบุคคลและปจจัยดานการทํางาน ซึ่งประกอบไปดวย อายุ รายได ระดับชั้นยศปริมาณงานที่ทํา ประวัติการไดรับพิจารณาความดีความชอบ ระยะเวลาในการรับราชการตํารวจ ไมมีผลทําใหคุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสอบสวน สังกัด กองบังคับการตํารวจนครบาล 2แตกตางกัน

3. สถานภาพสมรสพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีสถานภาพสมรสแตกตางกัน จะมีคุณภาพชีวิตในการทํางานไมแตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ปวันรัตน ตนานนท (2550) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของเจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษา พบวาเจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม มีความแตกตางกันของระดับคุณภาพชีวิตการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ(Sig. เทากับ .014) ในดานกลุม/ฝายที่ปฏิบัติงาน สวนปจจัยบุคคลดานเพศสถานภาพสมรส อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับตําแหนง รายไดประจําเดือน และรายไดนอกเหนือจากเงินเดือน ไมมีความสัมพันธกับระดับคุณภาพชีวิตการทํางาน

4. ระดับการศึกษาพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน จะมีคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของธีระพงษ สมประเสริฐ (2550)ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตการทํางานของชางโทรศัพทดานสายตอนนอก บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)ผลการวิจัย พบวา อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน และระดับตําแหนงที่แตกตางกันมีผลตอคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกัน

5. ประสบการณทํางานพนักงานเทศบาลตําบลนาดี ที่มีประสบการณทํางานแตกตางกันจะมีคุณภาพชีวิตในการทํางานแตกตางกันซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของพันตํารวจโท สุรชัยแกวพิกุล (2552) ศึกษาเร่ือง คุณภาพชีวิตในการทํางานของบุคลากรมหาวิทยาลัยพยาบาลตํารวจผลการวิจัย พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ รายได ความพอเพียงของรายได ชั้นยศแตกตางกันมีความสัมพันธกับคุณภาพชีวิตในการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 59: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

50

6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน พนักงานเทศบาลตําบลนาดีที่มีรายไดตอเดือนแตกตางกันจะมีคุณภาพชีวิตไมแตกตางกันซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของปวันรัตน ตนานนท (2550) ศึกษาเร่ืองคุณภาพชีวิตการทํางานของเจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษา พบวา เจาหนาที่ศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม มีความแตกตางกันของระดับคุณภาพชีวิตการทํางานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (Sig. เทากับ .014) ในดานกลุม/ฝายที่ปฏิบัติงาน สวนปจจัยบุคคลดานเพศสถานภาพสมรส อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับตําแหนง รายไดประจําเดือน และรายไดนอกเหนือจากเงินเดือน ไมมีความสัมพันธกับระดับคุณภาพชีวิตการทํางาน

ขอเสนอแนะขอเสนอแนะเชิงนโยบาย1. ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน องคการควรเปดโอกาสและสนับสนุน

พนักงานระดับปฏิบัติการใหมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับวุฒิการศึกษาใหมใหกาวไปสูตําแหนงงานที่สูงขึ้นโดยอํานวยความสะดวกในการลาไปเรียนหรือสอบตลอดจนมอบทุนสนับสนุนเพื่อ ศึกษาตอ

2. ดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอองคการควรพิจารณาและแกไขปญหา โดยมีการกําหนดแนวทางในการปรับเงินเดือน ปรับสวัสดิการตาง ๆ ใหมีความเหมาะสมกับคาครองชีพในปจจุบัน

3. ดานลักษณะการบริหาร ลักษณะการบริหารงานที่ดี พนักงานควรมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นและมีการพิจารณาความดีความชอบอยางเปนธรรมและทัดเทียมกับพนักงานคนอ่ืน ๆ

ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ1. ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏิบัติงาน ผูศึกษามีความเห็นวา องคการควรจัดสรร

งบประมาณสวนหน่ึงเพื่อสนับสนุนพนักงานระดับปฏิบัติการใหมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับวุฒิการศึกษาใหมใหกาวไปสูตําแหนงงานที่สูงขึ้น ตลอดจนมอบทุนสนับสนุนเพื่อศึกษาตอ เพื่อใหพนักงานมีขวัญและกําลังใจในการทุมเทการทํางานใหกับองคการ

2. ดานคาตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอเน่ืองจากเทศบาลตําบลนาดีเปนหนวยงานราชการ การปรับเงินเดือนหรือสวัสดิการอาจทําไดยาก ผูศึกษามีความเห็นวา ผูบริหารควรมีการจัดสรรงบประมาณสวนหน่ึงเพื่อนํามาเปนเงินสํารองในการใหเปนเงินพิเศษประจําปหรือเงินสวัสดิการสําหรับพนักงาน

Page 60: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

51

3. ดานลักษณะการบริหาร ลักษณะการบริหารงานที่ดี ผูศึกษามีความเห็นวา ผูบริหารควรใหอํานาจในการตัดสินใจในงานที่อยูในความรับผิดชอบของผูปฏิบัติ ตลอดจนรับฟงความคิดเห็นในเร่ืองตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพและเปนประโยชนอยางสูงสุดกับองคการ

Page 61: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

52

บรรณานุกรม

กอบสุข อินทโชติ. (2554). ความสัมพันธระหวางคุณภาพชีวิตการทํางานกับความผูกพันตอองคการของ พนักงานในบริษัทผลิตชิ้นสวนอุตสาหกรรมยานยนตแหงหน่ึงในนิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธการจัดการมหาบัณฑิต,สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย, คณะการจัดการและการทองเที่ยว,มหาวิทยาลัยบรูพา.

กุณฑลี หัศภาคยและอารยาศิริมัย. (2546). คุณภาพชีวิตการทํางาน กรณีศึกษาบริษัทเอกชนชั้นนํา 5บริษัท ในประเทศไทย. สารนิพนธการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและองคการมหาบัณฑิต,สาขาวิชาพัฒนาทรัพยากรมนุษย, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

เกล็ดแกว บุญเกิด. (2551). คุณภาพชีวิตในการทํางานของบุคลากรองคการบริหารสวนจังหวัดสุพรรณบุรี. การศึกษาคนควาอิสระรัฐประศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2535). พฤติกรรมในองคการ. กรุงเทพฯ: เทพนิมิตการพิมพ.ณัฏฐพันธ เขจรนันทน .(2551). พฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.ดุสิดา เครือคําปว. (2551). ลักษณะคุณภาพชีวิตการทํางาน ลักษณะผูนําที่มีประสิทธิภาพ

วัฒนธรรมองคการกับการลาออกของพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลวิชัยยุทธและสถาบันมะเร็งแหงชาติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ธีระพงษ สมประเสริฐ. (2550). คุณภาพชีวิตในการทํางานของชางโทรศัพทดานสายตอนนอก บริษัททีโอที จํากัด (มหาชน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ปรมาพร สิงหสุวิช. (2551). คุณภาพชีวิตในการทํางานตามความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลเมืองพัทยา. วิทยานิพนธการจัดการมหาบัณฑิต,สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย,คณะการจัดการและการทองเที่ยว, มหาวิทยาลัยบรูพา.

ปวันรัตน ตนานนท. (2550). คุณภาพชีวิตการทํางาน ของเจาหนาที่ศาลยุติธรรม ในจังหวัดเชียงใหม.เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล. (2544). การบริหารและจัดการองคกรอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ:สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน).

พีรวุฒิ สนใจ, พ.ต.ท. (2547). คุณภาพชีวิตการทํางานของพนักงานสอบสวน สังกัดกองบังคับการตํารวจนครบาล 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ไพฑูรย โพธิสวาง. (2554). ระเบียบการวิจัยทางรัฐศาสตร. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Page 62: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

53

มาลินี ธรรมบุตร. (2550). การศึกษาคุณภาพชีวิตการทางานของพนักงานสายสนับสนุน วิชาการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรม ราชูปถัมภ.

สถาบันวิจัยประชากรและสงัคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2552). การสรางเสริมคุณภาพชีวติคนทํางานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลยัมหิดล,

สถาบันเสริมสรางขีดความสามารถมนุษย. (2547). โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานในสถานประกอบการ (Quality of Work Life : QWL). เขาถึงไดจาก http://www.hcbi.org/project/detail.asp?id=6

สุรชัย แกวพิกุล. (2552). คุณภาพชีวิตในการทํางานของบุคลากรวิทยาลัยพยาบาลตํารวจ.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Bruce, W. M., & Blackburn, J. W. (1992). Balancing job satisfaction and performance. Westport,CT: Quorum Books.

Childers, T. L, & Rao, A. R. (1992). The influence of familial and peer-based referencegroups on consumer decisions. Journal of Consumer Research, 19, 198-211

Huse, E. F, & Cummings, T. G. (1985). Organization development and change. Minnesota:West Publishing.

Kossen, M. (1991). The human side of organizations. New York: Harper Collins.Skrovan, D. J. (1983). Quality of work life perspective for business and public sector reading,

Mass: United Addison-wesley.Walton, R. E. (1973). Quality of working life: What is it?. Slone Management Review, 15 (1), 12-

18.Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. New York: Harper & Row.

Page 63: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

54

ภาคผนวก

Page 64: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

55

แบบสอบถามเพื่อการวิจัยเร่ือง คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดี

..................................................คําชี้แจง

1. แบบสอบถามน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อที่จะศึกษาคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีเพื่อนําผลที่ไดไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทํางาน จึงขอความกรุณาจากทานตอบแบบสอบถามน้ีดวยตนเองและดวยความเปนจริง คําตอบของทานจะไมมีผลกระทบตอทาน โดยผูวิจัยจะเก็บแบบสอบถามไวเปนความลับ และเพื่อใชศึกษาวิจัย โดยจะประมวลผลนําเสนอในภาพรวมของการวิจัยเทาน้ัน คําตอบของทานมีผลอยางยิ่งตอการวิจัยคร้ังน้ี จึงขอความกรุณาทานตอบคําถามทุกขอและขอขอบมา ณ โอกาสน้ี

2. แบบสอบถามแบงออกเปน 3ตอน ดังน้ีตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการแสดงความคิดเห็น

รัตนาภรณ บุญมีนิสิตปริญญาโท สาขาวิชาการเมืองการปกครอง

คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

Page 65: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

56

ตอนท่ี 1ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง โปรดพิจารณาขอความตอไปน้ีที่ตรงกับความเปนจริงของทานมากที่สุด โดยทําเคร่ืองหมาย ลงใน ที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุด

1.เพศ ชาย หญิง2.อายุ ตํ่ากวา 20 ป 20 – 30 ป 31 -40 ป 41 - 50 ป 50 ป ขึ้นไป3.สถานภาพการสมรส โสด สมรส หมาย/หยาราง/แยกกันอยู4.ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อนุปริญญาตรี/ปวส. ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

5.ประสบการณทํางาน นอยกวา 1 ป 1 - 2 ป 3 - 4 ป 5 - 6 ป 6 ปขึ้นไป6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน

ตํ่ากวา 6,000 บาท ต้ังแต 6,001–10,000 บาท ต้ังแต10,001- 15,000 บาท ต้ังแต15,001 บาทขึ้นไป

Page 66: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

57

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานเทศบาลตําบลนาดีคําชี้แจง โปรดอานขอความแตละขออยางละเอียด และใสเคร่ืองหมาย ลงในชองที่ตรงกับ

ความเปนจริง

ดานผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ เห็นดวยอยางย่ิง

เห็นดวย

ปานกลาง

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ย่ิง1 องคกรจายคาตอบแทนเหมาะสมกับคาครองชีพใน

ปจจุบนั2 องคกรจดัสวัสดิการตาง ๆ เหมาะสมกับตําแหนงงาน

ภาระหนาที่ และความรับผิดชอบของทาน3 คาตอบแทนทีท่านไดรบัจากการทํางานทําใหทานสามารถ

ดํารงชีวิตไดอยางมีความสุขตามอัตภาพ4 ทานไดรับเงินเดือนและผลตอบแทนทีเ่หมาะสม เม่ือเทียบ

กับคนอืน่ทีป่ฏิบตัิงานในระดบัเดยีวกัน5 ในภาพรวมผลประโยชนตอบแทนที่ไดรบัคุมคากับความ

อุตสาหะของทานดานสภาพที่ทํางานทีป่ลอดภัยไมเปนอันตรายตอสุขภาพ6 องคกรของทานมีสภาพแวดลอมที่ชวยสรางบรรยากาศที่ดี

ในการทํางาน7 สถานที่ปฏบิัติงานของทานสะอาดและเปนระเบียบ

เรียบรอย มีความปลอดโปรงและบรรยากาศถายเทสะดวก8 องคกรใหความสําคัญเรื่องความปลอดภัยในการ

ปฏิบตัิงานของพนักงาน9 องคกรจดัสรรอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหแก

พนักงานอยางเหมาะสมและเพียงพอ10 บริเวณพ้ืนทีท่ํางานของทานมีการพัฒนาและปรับปรุง

เสมอ11 ทานคดิวางานที่ทําอยูเปนงานที่ตรงกับความรู

ความสามารถ และทักษะเฉพาะตวัของทาน12 ทานรูสึกยินดีที่ไดเรียนรูเทคนคิการทํางานใหม ๆ เสมอ13 งานที่ทานทําอยูไดรบัการยอมรับวามีความสําคัญตอ

องคกร

Page 67: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

58

ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏบิัติงานเห็นดวยอยางย่ิง

เห็นดวย

ปานกลาง

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ย่ิง14 ทานไดรับการสงเสริมใหมีการอบรม สัมมนา ดูงาน

ในเรื่องที่เก่ียวกับงาน15 องคกรของทานสนบัสนุนใหมีการศึกษาเพ่ิมเติมเพ่ือ

ปรับวุฒิการศึกษาดานความกาวหนา16 ทานเห็นโอกาสความกาวหนาในการทํางานกับองคกร

อยางชัดเจน17 ทานเห็นโอกาสความกาวหนาในการทํางานกับองคกร

อยางชัดเจน18 องคกรของทานเปดโอกาสใหทานไดพัฒนาความรู

ความสามารถในงาน เชน อบรม ดูงาน19 องคกรของทานใหความสําคัญกับการพัฒนาความรู

ความสามารถของบุคลากร20 ทานรูสึกวาองคกรที่ทานอยูมีความม่ันคงดีอยูแลว

ดานสังคมสัมพันธ21 ผูบังคับบัญชาของทานใหการชวยเหลือลูกนองในทุก

ๆ ดาน22 ทานไดรับความชวยเหลือ ความเห็นอกเห็นใจจาก

เพ่ือนรวมงานและขอความรวมมือจากเพ่ือนรวมงานได23 ผูบังคับบัญชาของทานเปนกันเองและปฏบิัติตอ

ผูใตบงัคบับัญชาทุกคนอยางเทาเทียมกัน24 ทานสามารถปรึกษาปญหาเรื่องงานและเรื่องสวนตัว

กับเพ่ือนรวมงานได25 ทานมักออกไปทานขาวหรือสังสรรคกับเพ่ือนรวมงาน

นอกเวลางานเสมออยางนอยเดือนละครั้งดานลักษณะการบริหาร

26 ผูบังคับบัญชาใหอํานาจแกทานอยางเต็มที่ในการตัดสินใจในงานที่อยูในความรับผิดชอบของทาน

27 ผูบังคับบัญชายอมรับฟงความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของทาน

Page 68: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

59

ดานการพัฒนาศักยภาพของผูปฏบิัติงานเห็นดวยอยางย่ิง

เห็นดวย

ปานกลาง

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ย่ิง28 ทานไดรับการพิจารณาความดคีวามชอบหรือการ

ปฏิบตัิอื่น ๆ อยางยุติธรรมทดัเทียมกับผูอื่น29 ผูบังคับบัญชาของทานแสดงความหวงใยและใสใจใน

สวัสดิภาพของทาน30 ผูบังคับบัญชาของทานเห็นถึงคุณคาการทุมเททํางาน

ของทานดานภาวะอิสระในการปฏบิัติงาน

31 เม่ือเลิกงานองคกรของทานมีกิจกรรมใหคลายเครียดจากที่ทําอยู

32 ทานสามารถจัดเวลาการทํางานและภาระหนาที่ในครอบครัวอยางเหมาะสม

33 ทานมักมีสวนรวมในงานกีฬาสีหรือกิจกรรมตาง ๆของสํานักงานเทศบาลฯ

34 ภายหลังจากการทํางานทานมีชวงเวลาทํากิจกรรมหรือสังสรรคกับเพ่ือน ๆ เปนประจํา

35 ทานมีเวลาสําหรับการพักผอนทีเ่หมาะสมและรวมกิจกรรมสันทนาการ

36 ทานเปนสวนหนึง่ทีท่ําใหงานประสบผลสําเร็จ37 ทานภาคภูมิใจเสมอเม่ือบอกผูอืน่วาเปนพนักงานของ

องคกรนี้38 องคกรของทานรบัผิดชอบตอสังคม39 องคกรของทานเปนองคกรที่มีช่ือเสียง40 ทานมีความภูมิใจที่ทํางานที่องคกรแหงนี้

ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ ในดานคุณภาพชีวิตในการทํางาน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 69: คุณภาพชีวิตในการทํางานของ ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56910368.pdf · 2018-09-18 · ประธานหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต

60

ประวัตยิอของผูวิจัย

ชื่อ – ชื่อสกุล นางสาวรัตนาภรณ บุญมีวัน เดือน ป เกิด 2 มีนาคม 2519สถานที่อยูปจจุบัน 577 หมูที่ 1 ตําบลสําพันตา อําเภอนาดี

จังหวัดปราจีนบุรีตําแหนงและประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2549 – ปจจุบัน สํานักงานเทศบาลตําบลนาดี อําเภอนาดีจังหวัดปราจีนบุรี

ประวัติการศึกษาพ.ศ. 2551 - 2555 รัฐประศาสนตรมหาบัณฑิต (การปกครองทองถิ่น)

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาพ.ศ. 2556 - 2558 รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง)

มหาวิทยาลัยบูรพา